SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง สับเซต
สับเซต (Subsets)
พิจารณาเซต A = {1, 2, 5}
B = {1, 2, 4, 5, 6}
จะเห็นได้ว่าสมาชิกทุกตัวของเซตAเป็นสมาชิกของเซต BเรียกเซตAว่าสับเซตของเซต B
บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิก
ของเซต B ใช้สัญลักษณ์ A  B แทนเซต A เป็นสับเซตของเซต B
ในกรณีที่เซต A ไม่เป็นเซตย่อยของเซต B จะใช้สัญลักษณ์ A  B อ่านว่า เซต A
ไม่เป็นสับเซตของเซต B
ให้นักเรียนพิจารณาจากบทนิยามแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ แล้วตรวจดูว่าคาตอบของนักเรียน
ตรงกับคาอธิบายต่อไปหรือไม่
1) A เป็นเซตย่อยของ A หรือไม่
เป็น
2) สาหรับเซต  ใด ๆ เป็นเซตย่อยของ A หรือไม่
เป็น
ตอบคาถามข้อ 1)
เนื่องจากสมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต A
ดังนั้น A เป็นเซตย่อยของ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A  A
ตอบคาถามข้อ 2)
เนื่องจากทุก ๆ สมาชิกของ  เป็นสมาชิกของทุก ๆ เซต เพราะว่า  ไม่มีสมาชิก
ดังนั้น   A เมื่อ A เป็นเซตใด ๆ
พิจารณาเซต
A = {1, 2, 3}
B = {1, 2, 3, 4, 5}
จะเห็นได้ว่าสมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B
นั่นคือ A  B
แต่สมาชิกบางตัวของเซต B ไม่เป็นสมาชิกของเซต A
นั่นคือ B  A
เราเรียกเซต A ว่า สับเซตแท้ของเซต B
ตัวอย่างที่ 1 จงหาสับเซตและสับเซตแท้ของ A = {1, 2, 3}
วิธีทา 1. สับเซต A ได้แก่
1) 
2) {1}
3) {2}
4) {3}
5) {1, 2}
6) {1, 3}
7) {2, 3}
8) {1, 2, 3}
ดังนั้นสับเซตของ A คือ , {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}
2. สับเซตแท้ได้แก่ , {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 9}
B = {1, 2, 3, 4, 5}
จงแสดงว่า A เป็นสับเซตของ B
วิธีทา จาก A = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 9}
จะได้ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8}
B = {1, 2, 3, 4, 5}
สมาชิกของเซต B ทุกตัวเป็นสมาชิกของเซต A
ดังนั้น B  A
สมบัติของสับเซต
กาหนดให้ A, B, และ C เป็นเซตใด ๆ
1. A  A
2.   A
3. ถ้า A  B และ B  C แล้ว A  C
4. ถ้า A  B และ B  A ก็ต่อเมื่อ A = B
ข้อสังเกต
ถ้าเซต A เป็นเซตจากัด และมีสมาชิก n ตัว แล้วเซต A มีสับเซตทั้งหมด 2
n
สับเซต
ใบกิจกรรมที่ 5
เรื่อง สับเซต
คาชี้แจง
1. จงหาสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อกาหนดให้
1) A = { }
2) A = {1}
3) A = {1, 2}
4) A = {1, 2, 3}
5) A = {1, {2, 3}}
2. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อ ถ้าถูกให้เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและ
เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด
กาหนดให้ A = {0, }
........... 1) 0  A
........... 2) 0  A
........... 3)   A
............ 4)   A
........... 5) {0}  A
........... 6) {0}  A
........... 7) {}  A
........... 8) {}  A
........... 9) {0, }  A
........... 10) {0, }  A
เฉลยใบกิจกรรมที่ 5
เรื่อง สับเซต
คาชี้แจง
1. จงหาสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อกาหนดให้
1) A = { }
สับเซตทั้งหมดของ A มีเพียงเซตเดียว คือ 
2) A = {1}
สับเซตทั้งหมดของ A มี 2 เซต คือ , {1}
3) A = {1, 2}
สับเซตทั้งหมดของ A มี 4 เซต คือ , {1}, {2}, {1, 2}
4) A = {1, 2, 3}
สับเซตทั้งหมดของ A มี 8 เซต คือ , {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}
5) A = {1, {2, 3}}
สับเซตทั้งหมดของ A มี 4 เซต คือ , {1}, {2, 3}, {1, {2,3}}
2. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อ ถ้าถูกให้เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและ
เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด
กาหนดให้ A = {0, }
..... ...... 1) 0  A
..... ...... 2) 0  A
..... ...... 3)   A
..... ....... 4)   A
..... ...... 5) {0}  A
..... ....... 6) {0}  A
..... ....... 7) {}  A
...... ..... 8) {}  A
..... ....... 9) {0, }  A
.... ....... 10) {0, }  A
แบบทดสอบย่อยที่ 5
เรื่อง สับเซต
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน)
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
.................................................................................................................................................................
1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 5}
1) 1  A
2) {2,3} A
3)   A
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1) ถูก
ข. ข้อ 2) ถูก
ค. ข้อ 3) ถูก
ง. ถูกทุกข้อ
2. กาหนดให้ A = {1, 2, {3}}
1) {3} A
2) 3  A
3) จานวนสับเซตเท่ากับ 8
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1) และข้อ 2) ถูก
ข. ข้อ 2) และข้อ 3) ถูก
ค. ข้อ 1) และข้อ 3) ถูก
ง. ถูกทุกข้อ
3. กาหนดให้ A = {xI+
| 1 x  5}
B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}
C = {2, 4, 6, 8}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. B  C
ข. A  B
ค. C  B
ง. A  A
4. กาหนดให้ A = {x I+
| 3  x  4}
B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”}
C = {ห, น, อ}
D = {xI+
| 4  x  5}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. A  B
ข. C  B
ค. A  D
ง. C  D
5. กาหนดให้ 1) A = {xI+
| 1  x  7}
2) B = {x I| -2  x  5}
3) C = { x I-
| 0  x  4}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. B  C
ข. A  B
ค. C  A
ง. A  C
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 5
เรื่อง สับเซต
ข้อ 1 ง
ข้อ 2 ค
ข้อ 3 ก
ข้อ 4 ข
ข้อ 5 ค

More Related Content

What's hot

สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
jirat thipprasert
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
K'Keng Hale's
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
sawed kodnara
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
sawed kodnara
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
สมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดสมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดAon Narinchoti
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากันAon Narinchoti
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

เซต
เซตเซต
เซต
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
แผนภาพ
แผนภาพแผนภาพ
แผนภาพ
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
สมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัดสมาชิกเซตจำกัด
สมาชิกเซตจำกัด
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
การเท่ากัน
การเท่ากันการเท่ากัน
การเท่ากัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
Tessellations
TessellationsTessellations
Tessellations
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
10ยูเนียน
10ยูเนียน10ยูเนียน
10ยูเนียน
 

Viewers also liked

วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรดวิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
wimonwan suda
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลkrupatcharin
 
แบบฝึกหัดเซตตอน1
แบบฝึกหัดเซตตอน1แบบฝึกหัดเซตตอน1
แบบฝึกหัดเซตตอน1kroojaja
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 

Viewers also liked (20)

13ผลต่าง
13ผลต่าง13ผลต่าง
13ผลต่าง
 
วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรดวิมลวรรณอินเตอร์เทรด
วิมลวรรณอินเตอร์เทรด
 
8แผนภาพ
8แผนภาพ8แผนภาพ
8แผนภาพ
 
12ต่ออินเตอร์เซก
12ต่ออินเตอร์เซก12ต่ออินเตอร์เซก
12ต่ออินเตอร์เซก
 
Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2
Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2
Bสอบจุด3 4 ครั้งที่ 2
 
14ฝึกแผนภาพ
14ฝึกแผนภาพ14ฝึกแผนภาพ
14ฝึกแผนภาพ
 
สมุดงาน1
สมุดงาน1สมุดงาน1
สมุดงาน1
 
13คอมพลีเมนต์
13คอมพลีเมนต์13คอมพลีเมนต์
13คอมพลีเมนต์
 
Set
SetSet
Set
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก11อินเตอร์เซก
11อินเตอร์เซก
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
Set
SetSet
Set
 
15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต15จำนวนสมาชิกเซต
15จำนวนสมาชิกเซต
 
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
 
แบบฝึกหัดเซตตอน1
แบบฝึกหัดเซตตอน1แบบฝึกหัดเซตตอน1
แบบฝึกหัดเซตตอน1
 
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้นทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 

Similar to สับเซต

Set1
Set1Set1
Set1
Set1Set1
Set1
Set1Set1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
Decha Sirigulwiriya
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
Fern Monwalee
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
Tum Anucha
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Focusjung Suchat
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
Focusjung Suchat
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซตAon Narinchoti
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตteachersaman
 

Similar to สับเซต (20)

Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
Set sheet
Set sheetSet sheet
Set sheet
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
Set
SetSet
Set
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
Prob
ProbProb
Event
EventEvent
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

สับเซต

  • 1. ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง สับเซต สับเซต (Subsets) พิจารณาเซต A = {1, 2, 5} B = {1, 2, 4, 5, 6} จะเห็นได้ว่าสมาชิกทุกตัวของเซตAเป็นสมาชิกของเซต BเรียกเซตAว่าสับเซตของเซต B บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิก ของเซต B ใช้สัญลักษณ์ A  B แทนเซต A เป็นสับเซตของเซต B ในกรณีที่เซต A ไม่เป็นเซตย่อยของเซต B จะใช้สัญลักษณ์ A  B อ่านว่า เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B ให้นักเรียนพิจารณาจากบทนิยามแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ แล้วตรวจดูว่าคาตอบของนักเรียน ตรงกับคาอธิบายต่อไปหรือไม่ 1) A เป็นเซตย่อยของ A หรือไม่ เป็น 2) สาหรับเซต  ใด ๆ เป็นเซตย่อยของ A หรือไม่ เป็น ตอบคาถามข้อ 1) เนื่องจากสมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต A ดังนั้น A เป็นเซตย่อยของ A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A  A ตอบคาถามข้อ 2) เนื่องจากทุก ๆ สมาชิกของ  เป็นสมาชิกของทุก ๆ เซต เพราะว่า  ไม่มีสมาชิก ดังนั้น   A เมื่อ A เป็นเซตใด ๆ
  • 2. พิจารณาเซต A = {1, 2, 3} B = {1, 2, 3, 4, 5} จะเห็นได้ว่าสมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B นั่นคือ A  B แต่สมาชิกบางตัวของเซต B ไม่เป็นสมาชิกของเซต A นั่นคือ B  A เราเรียกเซต A ว่า สับเซตแท้ของเซต B ตัวอย่างที่ 1 จงหาสับเซตและสับเซตแท้ของ A = {1, 2, 3} วิธีทา 1. สับเซต A ได้แก่ 1)  2) {1} 3) {2} 4) {3} 5) {1, 2} 6) {1, 3} 7) {2, 3} 8) {1, 2, 3} ดังนั้นสับเซตของ A คือ , {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3} 2. สับเซตแท้ได้แก่ , {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3} ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 9} B = {1, 2, 3, 4, 5} จงแสดงว่า A เป็นสับเซตของ B วิธีทา จาก A = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 9} จะได้ A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} B = {1, 2, 3, 4, 5} สมาชิกของเซต B ทุกตัวเป็นสมาชิกของเซต A ดังนั้น B  A
  • 3. สมบัติของสับเซต กาหนดให้ A, B, และ C เป็นเซตใด ๆ 1. A  A 2.   A 3. ถ้า A  B และ B  C แล้ว A  C 4. ถ้า A  B และ B  A ก็ต่อเมื่อ A = B ข้อสังเกต ถ้าเซต A เป็นเซตจากัด และมีสมาชิก n ตัว แล้วเซต A มีสับเซตทั้งหมด 2 n สับเซต
  • 4. ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง สับเซต คาชี้แจง 1. จงหาสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อกาหนดให้ 1) A = { } 2) A = {1} 3) A = {1, 2} 4) A = {1, 2, 3} 5) A = {1, {2, 3}} 2. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อ ถ้าถูกให้เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและ เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด กาหนดให้ A = {0, } ........... 1) 0  A ........... 2) 0  A ........... 3)   A ............ 4)   A ........... 5) {0}  A ........... 6) {0}  A ........... 7) {}  A ........... 8) {}  A ........... 9) {0, }  A ........... 10) {0, }  A
  • 5. เฉลยใบกิจกรรมที่ 5 เรื่อง สับเซต คาชี้แจง 1. จงหาสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อกาหนดให้ 1) A = { } สับเซตทั้งหมดของ A มีเพียงเซตเดียว คือ  2) A = {1} สับเซตทั้งหมดของ A มี 2 เซต คือ , {1} 3) A = {1, 2} สับเซตทั้งหมดของ A มี 4 เซต คือ , {1}, {2}, {1, 2} 4) A = {1, 2, 3} สับเซตทั้งหมดของ A มี 8 เซต คือ , {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3} 5) A = {1, {2, 3}} สับเซตทั้งหมดของ A มี 4 เซต คือ , {1}, {2, 3}, {1, {2,3}} 2. จงพิจารณาข้อความในแต่ละข้อ ถ้าถูกให้เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูกและ เติมเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด กาหนดให้ A = {0, } ..... ...... 1) 0  A ..... ...... 2) 0  A ..... ...... 3)   A ..... ....... 4)   A ..... ...... 5) {0}  A ..... ....... 6) {0}  A ..... ....... 7) {}  A ...... ..... 8) {}  A ..... ....... 9) {0, }  A .... ....... 10) {0, }  A
  • 6. แบบทดสอบย่อยที่ 5 เรื่อง สับเซต คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน กระดาษคาตอบ 3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที ................................................................................................................................................................. 1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 5} 1) 1  A 2) {2,3} A 3)   A ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1) ถูก ข. ข้อ 2) ถูก ค. ข้อ 3) ถูก ง. ถูกทุกข้อ 2. กาหนดให้ A = {1, 2, {3}} 1) {3} A 2) 3  A 3) จานวนสับเซตเท่ากับ 8 ข้อใดกล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1) และข้อ 2) ถูก ข. ข้อ 2) และข้อ 3) ถูก ค. ข้อ 1) และข้อ 3) ถูก ง. ถูกทุกข้อ
  • 7. 3. กาหนดให้ A = {xI+ | 1 x  5} B = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9} C = {2, 4, 6, 8} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง ก. B  C ข. A  B ค. C  B ง. A  A 4. กาหนดให้ A = {x I+ | 3  x  4} B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”} C = {ห, น, อ} D = {xI+ | 4  x  5} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. A  B ข. C  B ค. A  D ง. C  D 5. กาหนดให้ 1) A = {xI+ | 1  x  7} 2) B = {x I| -2  x  5} 3) C = { x I- | 0  x  4} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. B  C ข. A  B ค. C  A ง. A  C
  • 8. เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 5 เรื่อง สับเซต ข้อ 1 ง ข้อ 2 ค ข้อ 3 ก ข้อ 4 ข ข้อ 5 ค