SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
เซตที่เท่ากัน (equal sets or identical sets)
จากบทนิยาม เซต A เท่ากับเซต B หมายความว่า เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกันทุก
ตัว และเซต A ไม่เท่ากับเซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ
เซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช้สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A  B
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {2, 3} , B = {x | x2
– 5x + 6 = 0}
จงแสดงว่าเซต A เท่ากับ เซต B
วิธีทา  A = {2, 3}
B = {x | x2
– 5x + 6 = 0}
 x2
– 5x + 6 = 0
(x – 2)(x – 3) = 0
x = 2 หรือ x = 3
 B = {2, 3}
ดังนั้น A = B
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} ,
C = {1, 2, 4, 5, 5, 6, 7, 6} จงหาว่ามีเซตใดบ้างที่เท่ากัน
วิธีทา A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6}
จะได้ A = B เพราะว่ามีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
บทนิยาม
เซต A และเซต B เป็นเซตที่เท่ากันก็ต่อเมื่อ เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกัน
กล่าวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็น
สมาชิกของเซต A ใช้สัญลักษณ์ A = B แทน เซต A เท่ากับเซต B
เซตเทียบเท่า
ให้นักเรียนพิจารณาเซตต่อไปนี้
A = {1, 2, 3, 4, 5}
B = {a, b, c, d, e}
จะได้ว่า n(A) = 5 และ n(B) = 5 แต่ A  B เราจะเรียกทั้งสองเซตว่า A เทียบเท่า B
ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} ,
C = {1, 2, 4, 5, 5, 8} จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทั้งสามเซต
วิธีทา
1) A = B
2) A เทียบเท่า B
3) C เทียบเท่า B
4) A เทียบเท่า C
ใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า
แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ เซตที่กาหนดให้
คาตอบ
เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า
1
A = {1, 2, 3, 4}
B = {2, 4, 5, 6}
2
C = {2, 4, 6, 8, 10, ...}
D = {x I+
| x เป็นจานวนคู่บวก}
3
J = {x  I | x2
< 1}
M = {x  I | 4 < x  5}
4
D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5}
E = {1, 2, 3, 4}
5
G = {x  I | 0 < x < 7}
F = {0, 1, 2, 3, 4, 5}
6 A = {x  I | 0 < x < 1}
B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}
7 A = {1, 2, 3}
B = {2, 3, 1}
8 G = {x | x2 - 4 = 0}
H = {2, -2}
9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0}
D = {-2, 3}
10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0}
B = {3, 4}
เฉลยใบกิจกรรมที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า
แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข้อที่ เซตที่กาหนดให้
คาตอบ
เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า
1
A = {1, 2, 3, 4}
B = {2, 4, 5, 6}

2
C = {2, 4, 6, 8, 10, ...}
D = {x I+
| x เป็นจานวนคู่บวก}
 
3
J = {x  I | x2
< 1}
M = {x  I | 4 < x 5}

4
D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5}
E = {1, 2, 3, 4}
 
5
G = {x  I | 0 < x < 7}
F = {0, 1, 2, 3, 4, 5}

6 A = {x  I | 0 < x < 1}
B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}
 
7 A = {1, 2, 3}
B = {2, 3, 1}
 
8 G = {x | x2 - 4 = 0}
H = {2, -2}
 
9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0}
D = {-2, 3}

10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0}
B = {3, 4}
 
แบบทดสอบย่อยที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน)
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที
.................................................................................................................................................................
1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 5}, B = {2, 4, 5, 7}, C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} และ
D = {x I+
| x เป็นจานวนคู่บวก} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. A = B
ข. A = C
ค. C = D
ง. C เทียบเท่า A
2. กาหนดให้ A = {x I+
| 4  x  8} ,B = {5, 6, 7, 8} และ C = {xI+
| 4  x  8} แล้ว
1) A = B
2) A = C
3) B เทียบเท่า C
4) A เทียบเท่า B
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง
ก. ข้อ 1) และข้อ 2)
ข. ข้อ 1) และข้อ 3)
ค. ข้อ 2) และข้อ 3)
ง. ข้อ 1) และข้อ 4)
3. กาหนดให้ B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “โครงการ”}
C = {xI+
| 1 x  5}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. B = C
ข. B เทียบเท่า C
ค. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข
ง. ไม่มีข้อใดถูก
4. กาหนดให้ A = {ห, น, อ, ง, ว, ง}
B = {xI+
| 4  x  5}
C = {x I+
| 3  x  4}
D = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ก. B เทียบเท่า C
ข. A = D
ค. A เทียบเท่า D
ง. A เทียบเท่า B
5. กาหนดให้ 1) A = {xI+
| 3  x  8}
2) B = {x I| -3  x  4}
ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง
ก. A = B
ข. A  B
ค. A เทียบเท่า B
ง. ทั้งข้อ ข และข้อ ค
เฉลยแบบทดสอบย่อยที่ 4
เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า
ข้อ 1 ค
ข้อ 2 ง
ข้อ 3 ข
ข้อ 4 ง
ข้อ 5 ง

More Related Content

What's hot

3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
พิทักษ์ ทวี
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
Tutor Ferry
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
Apirak Potpipit
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
supamit jandeewong
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันAon Narinchoti
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
sawed kodnara
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
sawed kodnara
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 

What's hot (20)

3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Similar to การเท่ากัน

ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซตAon Narinchoti
 
Set1
Set1Set1
Set1
Set1Set1
Set1
Set1Set1
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2kroojaja
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
Thanuphong Ngoapm
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
Aon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
Chokchai Taveecharoenpun
 
E-book
E-bookE-book
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
ชื่อ ขวัญ
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
CartesianCartesian
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
Aon Narinchoti
 

Similar to การเท่ากัน (20)

ประเภทของเซต
ประเภทของเซตประเภทของเซต
ประเภทของเซต
 
ผลต่าง
ผลต่างผลต่าง
ผลต่าง
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
แบบฝึกหัดความสัมพันธ์ระหว่างเซตตอน2
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
E-book
E-bookE-book
E-book
 
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซตแบบฝึดหัดเรื่องเซต
แบบฝึดหัดเรื่องเซต
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
Prob
ProbProb
Event
EventEvent
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

การเท่ากัน

  • 1. ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า เซตที่เท่ากัน (equal sets or identical sets) จากบทนิยาม เซต A เท่ากับเซต B หมายความว่า เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกันทุก ตัว และเซต A ไม่เท่ากับเซต B หมายความว่า มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ เซต B หรือมีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวของเซต B ที่ไม่ใช้สมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A  B ตัวอย่างที่ 1 กาหนด A = {2, 3} , B = {x | x2 – 5x + 6 = 0} จงแสดงว่าเซต A เท่ากับ เซต B วิธีทา  A = {2, 3} B = {x | x2 – 5x + 6 = 0}  x2 – 5x + 6 = 0 (x – 2)(x – 3) = 0 x = 2 หรือ x = 3  B = {2, 3} ดังนั้น A = B ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} , C = {1, 2, 4, 5, 5, 6, 7, 6} จงหาว่ามีเซตใดบ้างที่เท่ากัน วิธีทา A = {1, 1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} จะได้ A = B เพราะว่ามีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว บทนิยาม เซต A และเซต B เป็นเซตที่เท่ากันก็ต่อเมื่อ เซต A และเซต B มีสมาชิกเหมือนกัน กล่าวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เป็น สมาชิกของเซต A ใช้สัญลักษณ์ A = B แทน เซต A เท่ากับเซต B
  • 2. เซตเทียบเท่า ให้นักเรียนพิจารณาเซตต่อไปนี้ A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {a, b, c, d, e} จะได้ว่า n(A) = 5 และ n(B) = 5 แต่ A  B เราจะเรียกทั้งสองเซตว่า A เทียบเท่า B ตัวอย่างที่ 3 กาหนด A = {1, 2, 4, 5, 6} , B = {2, 1, 2, 4, 5, 6} , C = {1, 2, 4, 5, 5, 8} จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทั้งสามเซต วิธีทา 1) A = B 2) A เทียบเท่า B 3) C เทียบเท่า B 4) A เทียบเท่า C
  • 3. ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ เซตที่กาหนดให้ คาตอบ เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า 1 A = {1, 2, 3, 4} B = {2, 4, 5, 6} 2 C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} D = {x I+ | x เป็นจานวนคู่บวก} 3 J = {x  I | x2 < 1} M = {x  I | 4 < x  5} 4 D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5} E = {1, 2, 3, 4} 5 G = {x  I | 0 < x < 7} F = {0, 1, 2, 3, 4, 5} 6 A = {x  I | 0 < x < 1} B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6} 7 A = {1, 2, 3} B = {2, 3, 1} 8 G = {x | x2 - 4 = 0} H = {2, -2} 9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0} D = {-2, 3} 10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0} B = {3, 4}
  • 4. เฉลยใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาเซตในแต่ละข้อต่อไปนี้ข้อใดเป็นเซตที่เท่ากัน หรือเซตเทียบเท่า แล้วกาเครื่องหมาย ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ข้อที่ เซตที่กาหนดให้ คาตอบ เซตที่เท่ากัน เซตเทียบเท่า 1 A = {1, 2, 3, 4} B = {2, 4, 5, 6}  2 C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} D = {x I+ | x เป็นจานวนคู่บวก}   3 J = {x  I | x2 < 1} M = {x  I | 4 < x 5}  4 D = {x | x เป็นจานวนนับที่น้อยกว่า 5} E = {1, 2, 3, 4}   5 G = {x  I | 0 < x < 7} F = {0, 1, 2, 3, 4, 5}  6 A = {x  I | 0 < x < 1} B = {x  I | x เป็นจานวนคู่ และ 4 < x < 6}   7 A = {1, 2, 3} B = {2, 3, 1}   8 G = {x | x2 - 4 = 0} H = {2, -2}   9 C = {x | (x - 2)(x + 3) = 0} D = {-2, 3}  10 A = {x | x2 - 7x + 12 = 0} B = {3, 4}  
  • 5. แบบทดสอบย่อยที่ 4 เรื่อง การเท่ากันของเซตและเซตเทียบเท่า คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 5 ข้อ (5 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คาตอบ แล้วทาเครื่องหมาย x ลงใน กระดาษคาตอบ 3. เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ 5 นาที ................................................................................................................................................................. 1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, 5}, B = {2, 4, 5, 7}, C = {2, 4, 6, 8, 10, ...} และ D = {x I+ | x เป็นจานวนคู่บวก} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. A = B ข. A = C ค. C = D ง. C เทียบเท่า A 2. กาหนดให้ A = {x I+ | 4  x  8} ,B = {5, 6, 7, 8} และ C = {xI+ | 4  x  8} แล้ว 1) A = B 2) A = C 3) B เทียบเท่า C 4) A เทียบเท่า B ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้อง ก. ข้อ 1) และข้อ 2) ข. ข้อ 1) และข้อ 3) ค. ข้อ 2) และข้อ 3) ง. ข้อ 1) และข้อ 4) 3. กาหนดให้ B = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “โครงการ”} C = {xI+ | 1 x  5} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. B = C ข. B เทียบเท่า C ค. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข ง. ไม่มีข้อใดถูก
  • 6. 4. กาหนดให้ A = {ห, น, อ, ง, ว, ง} B = {xI+ | 4  x  5} C = {x I+ | 3  x  4} D = {x|x เป็นตัวอักษรในคาว่า “หนองแวง”} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง ก. B เทียบเท่า C ข. A = D ค. A เทียบเท่า D ง. A เทียบเท่า B 5. กาหนดให้ 1) A = {xI+ | 3  x  8} 2) B = {x I| -3  x  4} ข้อใดต่อไปนี้กล่าวได้ถูกต้อง ก. A = B ข. A  B ค. A เทียบเท่า B ง. ทั้งข้อ ข และข้อ ค