SlideShare a Scribd company logo
เซต (Sets)
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 หรือในราว 100 กว่าปีล่วงมาแล้ว นักคณิตศาสตร์
ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์ก แฟร์ดินันด์ ลุดวิก ฟิลิพพ์คันทอร์ เป็นผู้ริเริ่มใช้คาว่า "เซต"
ต่อจากนั้นนักคณิตศาสตร์จึงใช้คานี้กันอย่างแพร่หลาย ความรู้ในเรื่องเซตสามารถนามา
เชื่อมโยงเนื้อหาในคณิตศาสตร์หลายๆ เรื่อง เช่น ฟังก์ชัน ความน่าจะเป็น
ที่มาของเซต
ในชีวิตประจาวัน เราได้พบเห็นและคุ้นเคยกับการจัดสรรสิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะ
เหมือนกัน เป็นกลุ่มเป็นพวกเดียวกัน หรืออาจต่างกันแต่มีลักษณะบางอย่างร่วมกันมา
บ้างแล้ว ซึ่งเรานิยมใช้คาต่างๆ กันในการกล่าวถึงพวกหรือกลุ่มของสิ่งของเหล่านั้น
เช่น คณะ(ครู รัฐมนตรี,ลิเก) ฝูง(ลิง นก ปลา) เป็นต้น
ในวิชาคณิตศาสตร์เราใช้คาว่า "เซต(Set)" เพียงคาเดียวเท่านั้นในการกล่าวถึงกลุ่ม
ของสิ่งต่าง ๆ และจะใช้ในกรณีที่ทราบแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่มและสิ่งใดไม่อยู่
ในกลุ่มที่กล่าวถึง เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก (member หรือ element)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นเซตหรือไม่
กลุ่มของพยัญชนะ
ไทย
กลุ่มของจานวนเต็ม
บวกที่อยู่ระหว่าง -5
และ 5
กลุ่มของคนสวยของ
ห้องนี้
เป็นเซต เพราะ มี ก, ข, ฃ, ... , ฮ
เป็นสมาชิก
เขียนละไว้ว่ามีตัวอื่นอีก
เป็นเซต เพราะ มี 1, 2, 3, 4
เป็นสมาชิก
ไม่เป็นเซต เพราะ คนสวยไม่สามารถ
บอกได้แน่นอน
1. วงเล็บปีกกา “{ }” ใช้เป็นตัวบ่งบอกถึงเซต โดยเขียนสมาชิกอยู่ในนั้น
2. จุลภาค “ , ” ใช้เขียนคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว
3. นิยมใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เขียนแทน เซต
4. นิยมใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เขียนแทน สมาชิกของเซต
5. เครื่องหมาย เขียนแทน เป็นสมาชิกของ หรือ อยู่ใน
6. เครื่องหมาย เขียนแทน ไม่เป็นสมาชิกของ หรือ ไม่อยู่ใน
7. เครื่องหมาย | เขียนแทน โดยที่
8. เครื่องหมาย { } หรือ Ø เขียนแทน เซตว่าง ( empty set )


รูปแบบการเขียนเซต
1.แบบแจกแจงสมาชิก
เขียนสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมาย
วงเล็บปีกกา และใช้เครื่องหมาย
จุลภาค (,) คั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว
เช่น A = { -1, -2, -3, … , -99 }
2. แบบบอกเงื่อนไข
ใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกทั้ง
หมดแล้วบรรยายสมบัติของสมาชิกที่
อยู่ในรูปตัวแปรให้ครอบคลุม
เช่น A = { x | x เป็นจานวนเต็มลบ และ
มากกว่า -100 }
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเซตต่อไปนี้เป็นแบบแจกสมาชิก
1. เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ “ ป “
{ ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี, ปทุมธานี, ปัตตานี }
2. เซตของอักษรภาษาอังกฤษที่อยู่ในคาว่า “mathematics”
{ m, a, t, h, e, i, c, s }
ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนเซตต่อไปนี้เป็นแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก
1. A = { 2, 3, 5, … , 97 }
A = { y | y เป็นจานวนเฉพาะที่น้อยกว่า 100 }
2. B = { } หรือ B = Ø
B = { x | x R และ 2-x = x }
ชนิดของเซต
เซตจากัด
(finite set)
เซตที่มีสมาชิกเท่ากับจานวน
เต็มบวกใด ๆ หรือศูนย์
เซตอนันต์
(infinite set)
เซตที่ไม่ใช่เซตจากัด
1) เซตว่างเป็นเซตจากัด
2) เซตของจานวนที่มักจะกล่าวถึงเสมอ และใช้กันทั่วไป มีดังนี้
I เป็นเซตของจานวนเต็มบวก หรือ I = { 1, 2, 3, … }
I เป็นเซตของจานวนเต็มลบ หรือ I = { -1, -2, -3, … }
I เป็นเซตของจานวนเต็ม หรือ I = { … , -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, … }
N เป็นเซตของจานวนนับ หรือ N = { 1, 2, 3, … }
P เป็นเซตของจานวนเฉพาะ หรือ P = { 2, 3, 5, … }
R เป็นเซตของจานวนจริง และ Q เป็นเซตของจานวนตรรกยะ
+ +
- -
เซตที่เท่ากัน
เซต A เท่ากับ เซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของ
เซต B และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A
เช่น (1) กาหนดให้ A = { 2, 4, 6, 8 } และ B = { 4, 8, 6, 2 }
ดังนั้น เซต A เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A = B
(2) กาหนดให้ A = { 1, 3, 7 } และ B = { 1, 3, 5 }
จะเห็นว่า ทั้งสองเซตมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
ดังนั้น เซต A ไม่เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A ≠ B
จะเห็นว่า 7 A แต่ 7 B 
1. จงเขียนเซตต่อไปนี้เป็นแบบแจกแจงสมาชิก
1) A = { x | x เป็นจานวนเต็มที่มากกว่า 3 และน้อยกว่า 10 }
2) B = { x | x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0 และ 1 }
3) C = { x | x = x + 1 }
4) D = { x | x เป็นจานวนนับที่มากกว่า 12 และหารด้วย 10 ลงตัว }
2. จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไข
1) E = { 1, 3 } 3) G = Ø
2) F = { a, e, i, o, u } 4) H =
1 1 1
{1, , , ,...}
2 3 4
3. เซตต่อไปนี้ เซตใดเป็นเซตจากัด เซตใดเป็นเซตอนันต์
1) เซตของชื่อเดือนที่มีจานวนวันน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 วัน
2) เซตของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน
3) { x | x + 5 = x }
4) { x = x }
4. เซตต่อไปนี้ เซตใดเป็นเซตว่าง
1) เซตของจานวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 24 และ 29
2) เซตของจานวนเต็มลบที่น้อยกว่า -1
สับเซต(Subset)
บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ
เซต A เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A⊂ B
และ เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อย
หนึ่งตัวของเซต A ไม่เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ A B
ตัวอย่างที่ 1 A = {1, 2, 3} และ B = { 1, 2, 3, 4, 5}
เนื่องจาก สมาชิกของเซต A คือ 1, 2, 3 เป็นสมาชิกของเซต B
∴ A ⊂ B
ตัวอย่างที่ 2 C = { x | x เป็นจานวนเต็มบวก }
D = { x | x เป็นจานวนคี่ }
เนื่องจาก มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวคือ 2 เป็นสมาชิกของ
เซต C แต่ 2 ไม่เป็นสมาชิกของเซต D
∴ C D
ตัวอย่างที่ 3 E = {0, 1, 2} และ F = { 2, 1, 0 }
เนื่องจาก สมาชิกของเซต E คือ 0, 1, 2 เป็นสมาชิกของเซต F
และ สมาชิกของเซต F คือ 2, 1, 0 เป็นสมาชิกของเซต E
∴ E ⊂ F และ F ⊂ E
นั่นคือ E = F
ข้อควรจดจา กาหนดให้ A, B, C เป็นเซตใด ๆ
1. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต
2. ตัวมันเองเป็นสับเซตของตัวมันเอง
3. ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C
4. ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ A แล้ว A = B
ตัวอย่างที่ 4 กาหนด A = {Ø, 0, 2, 4, {Ø}, {0}, {0, 2}}
จงพิจารณาข้อต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
1. {0, 2} ⊂ A
2. {{0, 2}} ⊂ A
3. {2, 4, 6} ⊂ A
4. {Ø, {Ø}} ⊂ A
5. {2, {2}} ⊂ A
ถูก เพราะ 0 และ 2 A
ถูก เพราะ Ø และ {Ø} A
ผิด เพราะ 6 A
ถูก เพราะ {0, 2} A
ผิด เพราะ {2} A
ตัวอย่างที่ 5 จงเขียนสับเซตทั้งหมดของเซตต่อไปนี้
1. A = Ø สับเซตทั้งหมดของเซต A มี 1 เซต คือ Ø
2. B = {1} สับเซตทั้งหมดของเซต B มี 2 เซต คือ Ø, {1}
3. C = {-1, 1}
สับเซตทั้งหมดของเซต C มี 4 เซต คือ Ø, {-1, 1}, {-1}, {1}
4. D = {2, {0, 2}, Ø}
สับเซตทั้งหมดของเซต D มี 8 เซต คือ Ø, {2, {0, 2}, Ø},
{2}, {{0, 2}}, {Ø}, {2, {0, 2}}, {2, Ø}, {{0, 2}, Ø}
เซตว่าง กับ เซตตัวมันเอง
เซตที่มีสมาชิก 1 ตัว เซตที่มีสมาชิก 2 ตัว
เพาเวอร์เซต(Power Set)
บทนิยาม เพาเวอร์เซตของเซต A คือ เซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่
เป็นสับเซตทั้งหมดของเซต A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(A)
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเพาเวอร์เซตของเซตที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. A = Ø
จะได้ P(A) = {Ø}
2. B = {1, 2}
จะได้ P(A) = {Ø,{1}, {2}, {1, 2}}
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {Ø, 0, 2, 4, {Ø}, {0}, {0, 2}}
จงพิจารณาข้อต่อไปนี้ ว่าถูกหรือผิด
1. Ø P(A)
ถูก เพราะ เซตว่างเป็นสมาชิกของเพาเวอร์เซตใด ๆ เสมอ
2. {Ø} ⊂ P(A)
ถูก เพราะ Ø ⊂ A
3. {Ø} P(A)
ถูก เพราะ {Ø} ⊂ A


4. {{Ø}} P(A)
ถูก เพราะ {{Ø}} ⊂ A
5. {0, 2} P(A)
ถูก เพราะ {0, 2} ⊂ A
6. {0, 2} ⊂ P(A)
ผิด เพราะ 0, 2 A
7. {{0, 2}} P(A)
ถูก เพราะ {{0, 2}} ⊂ A




8. {{0, 2}} ⊂ P(A)
ถูก เพราะ {0, 2} ⊂ A
9. {{Ø}, 2} P(A)
ถูก เพราะ {0, 2} ⊂ A
10. {{Ø}, 2} ⊂ P(A)
ถูก เพราะ {Ø} ⊂ A แต่ 2 A


เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)
เป็นเซตที่กาหนดขึ้นมาใช้ในการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข
เขียนแทนด้วย U โดยมีข้อตกลงว่า เมื่อกล่าวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ
จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์
เช่น กาหนดให้ U คือ เซตของจานวนเต็มบวก
และ A = { x | x = 9 }
B = { y | y ≤ 5 }
2
จะได้ A = { 3 }
และ B = { 1, 2, 3, 4, 5 }
แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์
(Venn – Euler Diagram)
เป็นการเขียนแผนภาพแทนเซต โดยเขียนรูปปิดสี่เหลี่ยมมุมฉาก
แทนเอกภพสัมพัทธ์ (U) และรูปปิดวงกลม หรือวงรีแทนสับเซต
ของเอกภพสัมพัทธ์ (U) ดังรูป
A B
U
A B
U
เซตไม่มีส่วนร่วม (disjoint sets)
A B
U
A B
U
A
B
U
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด U = { 2, 4, 6, 8, 10, 12 }
A = { 2, 8, 12 }
B = { 6, 8, 10 }
จงเขียนเซตดังกล่าวด้วยแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
วิธีทา พิจารณาเซต A และ B มีสมาชิกร่วมกันคือ 8
ดังนั้น แผนภาพสามารถเขียนและใส่สมาชิกลงไปได้ดังรูป
A B
U
6
108
2
12
4
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
A = {1, 3, 4, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8} C = {3, 5}
จงเขียนเซตดังกล่าวด้วยแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
วิธีทา พิจารณาเซต A, B และ C ใน U พบว่า C ⊂ A , A กับ B มีสมาชิก
ร่วมกัน และ B กับ C มีสมาชิกร่วมกัน
ดังนั้น แผนภาพสามารถเขียนและใส่สมาชิกลงไปได้ดังรูป
A B
C
5 7
U
3
1
4
6
8
2
9
10

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดTANIKAN KUNTAWONG
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นMc'Napat KhunKhoei
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
Aon Narinchoti
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
TinnakritWarisson
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
วรรณิภา ไกรสุข
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 

What's hot (20)

ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 

Similar to เซต (Sets)

คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
Tutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
Chokchai Taveecharoenpun
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
Krupom Ppk
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
jirat thipprasert
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
Focusjung Suchat
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
Fern Monwalee
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
Set1
Set1Set1
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 
Set1
Set1Set1
Set1
Set1Set1
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
Thanuphong Ngoapm
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
Decha Sirigulwiriya
 

Similar to เซต (Sets) (20)

คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
Set
SetSet
Set
 
Set
SetSet
Set
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSEO-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Set(เซต)
Set(เซต)Set(เซต)
Set(เซต)
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 

เซต (Sets)

  • 1. เซต (Sets) ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 หรือในราว 100 กว่าปีล่วงมาแล้ว นักคณิตศาสตร์ ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์ก แฟร์ดินันด์ ลุดวิก ฟิลิพพ์คันทอร์ เป็นผู้ริเริ่มใช้คาว่า "เซต" ต่อจากนั้นนักคณิตศาสตร์จึงใช้คานี้กันอย่างแพร่หลาย ความรู้ในเรื่องเซตสามารถนามา เชื่อมโยงเนื้อหาในคณิตศาสตร์หลายๆ เรื่อง เช่น ฟังก์ชัน ความน่าจะเป็น ที่มาของเซต
  • 2. ในชีวิตประจาวัน เราได้พบเห็นและคุ้นเคยกับการจัดสรรสิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะ เหมือนกัน เป็นกลุ่มเป็นพวกเดียวกัน หรืออาจต่างกันแต่มีลักษณะบางอย่างร่วมกันมา บ้างแล้ว ซึ่งเรานิยมใช้คาต่างๆ กันในการกล่าวถึงพวกหรือกลุ่มของสิ่งของเหล่านั้น เช่น คณะ(ครู รัฐมนตรี,ลิเก) ฝูง(ลิง นก ปลา) เป็นต้น ในวิชาคณิตศาสตร์เราใช้คาว่า "เซต(Set)" เพียงคาเดียวเท่านั้นในการกล่าวถึงกลุ่ม ของสิ่งต่าง ๆ และจะใช้ในกรณีที่ทราบแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่มและสิ่งใดไม่อยู่ ในกลุ่มที่กล่าวถึง เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก (member หรือ element)
  • 3. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นเซตหรือไม่ กลุ่มของพยัญชนะ ไทย กลุ่มของจานวนเต็ม บวกที่อยู่ระหว่าง -5 และ 5 กลุ่มของคนสวยของ ห้องนี้ เป็นเซต เพราะ มี ก, ข, ฃ, ... , ฮ เป็นสมาชิก เขียนละไว้ว่ามีตัวอื่นอีก เป็นเซต เพราะ มี 1, 2, 3, 4 เป็นสมาชิก ไม่เป็นเซต เพราะ คนสวยไม่สามารถ บอกได้แน่นอน
  • 4. 1. วงเล็บปีกกา “{ }” ใช้เป็นตัวบ่งบอกถึงเซต โดยเขียนสมาชิกอยู่ในนั้น 2. จุลภาค “ , ” ใช้เขียนคั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว 3. นิยมใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ เขียนแทน เซต 4. นิยมใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็ก เขียนแทน สมาชิกของเซต 5. เครื่องหมาย เขียนแทน เป็นสมาชิกของ หรือ อยู่ใน 6. เครื่องหมาย เขียนแทน ไม่เป็นสมาชิกของ หรือ ไม่อยู่ใน 7. เครื่องหมาย | เขียนแทน โดยที่ 8. เครื่องหมาย { } หรือ Ø เขียนแทน เซตว่าง ( empty set )  
  • 5. รูปแบบการเขียนเซต 1.แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมาย วงเล็บปีกกา และใช้เครื่องหมาย จุลภาค (,) คั่นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว เช่น A = { -1, -2, -3, … , -99 } 2. แบบบอกเงื่อนไข ใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกทั้ง หมดแล้วบรรยายสมบัติของสมาชิกที่ อยู่ในรูปตัวแปรให้ครอบคลุม เช่น A = { x | x เป็นจานวนเต็มลบ และ มากกว่า -100 }
  • 6. ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเซตต่อไปนี้เป็นแบบแจกสมาชิก 1. เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ “ ป “ { ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี, ปทุมธานี, ปัตตานี } 2. เซตของอักษรภาษาอังกฤษที่อยู่ในคาว่า “mathematics” { m, a, t, h, e, i, c, s }
  • 7. ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนเซตต่อไปนี้เป็นแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิก 1. A = { 2, 3, 5, … , 97 } A = { y | y เป็นจานวนเฉพาะที่น้อยกว่า 100 } 2. B = { } หรือ B = Ø B = { x | x R และ 2-x = x }
  • 8. ชนิดของเซต เซตจากัด (finite set) เซตที่มีสมาชิกเท่ากับจานวน เต็มบวกใด ๆ หรือศูนย์ เซตอนันต์ (infinite set) เซตที่ไม่ใช่เซตจากัด
  • 9. 1) เซตว่างเป็นเซตจากัด 2) เซตของจานวนที่มักจะกล่าวถึงเสมอ และใช้กันทั่วไป มีดังนี้ I เป็นเซตของจานวนเต็มบวก หรือ I = { 1, 2, 3, … } I เป็นเซตของจานวนเต็มลบ หรือ I = { -1, -2, -3, … } I เป็นเซตของจานวนเต็ม หรือ I = { … , -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, … } N เป็นเซตของจานวนนับ หรือ N = { 1, 2, 3, … } P เป็นเซตของจานวนเฉพาะ หรือ P = { 2, 3, 5, … } R เป็นเซตของจานวนจริง และ Q เป็นเซตของจานวนตรรกยะ + + - -
  • 10. เซตที่เท่ากัน เซต A เท่ากับ เซต B หมายถึง สมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของ เซต B และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เป็นสมาชิกของเซต A เช่น (1) กาหนดให้ A = { 2, 4, 6, 8 } และ B = { 4, 8, 6, 2 } ดังนั้น เซต A เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A = B (2) กาหนดให้ A = { 1, 3, 7 } และ B = { 1, 3, 5 } จะเห็นว่า ทั้งสองเซตมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว ดังนั้น เซต A ไม่เท่ากับ เซต B เขียนแทนด้วย A ≠ B จะเห็นว่า 7 A แต่ 7 B 
  • 11. 1. จงเขียนเซตต่อไปนี้เป็นแบบแจกแจงสมาชิก 1) A = { x | x เป็นจานวนเต็มที่มากกว่า 3 และน้อยกว่า 10 } 2) B = { x | x เป็นจานวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0 และ 1 } 3) C = { x | x = x + 1 } 4) D = { x | x เป็นจานวนนับที่มากกว่า 12 และหารด้วย 10 ลงตัว } 2. จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไข 1) E = { 1, 3 } 3) G = Ø 2) F = { a, e, i, o, u } 4) H = 1 1 1 {1, , , ,...} 2 3 4
  • 12. 3. เซตต่อไปนี้ เซตใดเป็นเซตจากัด เซตใดเป็นเซตอนันต์ 1) เซตของชื่อเดือนที่มีจานวนวันน้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 วัน 2) เซตของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน 3) { x | x + 5 = x } 4) { x = x } 4. เซตต่อไปนี้ เซตใดเป็นเซตว่าง 1) เซตของจานวนเฉพาะที่อยู่ระหว่าง 24 และ 29 2) เซตของจานวนเต็มลบที่น้อยกว่า -1
  • 13. สับเซต(Subset) บทนิยาม เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ เซต A เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A⊂ B และ เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ มีสมาชิกอย่างน้อย หนึ่งตัวของเซต A ไม่เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย สัญลักษณ์ A B
  • 14. ตัวอย่างที่ 1 A = {1, 2, 3} และ B = { 1, 2, 3, 4, 5} เนื่องจาก สมาชิกของเซต A คือ 1, 2, 3 เป็นสมาชิกของเซต B ∴ A ⊂ B ตัวอย่างที่ 2 C = { x | x เป็นจานวนเต็มบวก } D = { x | x เป็นจานวนคี่ } เนื่องจาก มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งตัวคือ 2 เป็นสมาชิกของ เซต C แต่ 2 ไม่เป็นสมาชิกของเซต D ∴ C D
  • 15. ตัวอย่างที่ 3 E = {0, 1, 2} และ F = { 2, 1, 0 } เนื่องจาก สมาชิกของเซต E คือ 0, 1, 2 เป็นสมาชิกของเซต F และ สมาชิกของเซต F คือ 2, 1, 0 เป็นสมาชิกของเซต E ∴ E ⊂ F และ F ⊂ E นั่นคือ E = F ข้อควรจดจา กาหนดให้ A, B, C เป็นเซตใด ๆ 1. เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต 2. ตัวมันเองเป็นสับเซตของตัวมันเอง 3. ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ C แล้ว A ⊂ C 4. ถ้า A ⊂ B และ B ⊂ A แล้ว A = B
  • 16. ตัวอย่างที่ 4 กาหนด A = {Ø, 0, 2, 4, {Ø}, {0}, {0, 2}} จงพิจารณาข้อต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด 1. {0, 2} ⊂ A 2. {{0, 2}} ⊂ A 3. {2, 4, 6} ⊂ A 4. {Ø, {Ø}} ⊂ A 5. {2, {2}} ⊂ A ถูก เพราะ 0 และ 2 A ถูก เพราะ Ø และ {Ø} A ผิด เพราะ 6 A ถูก เพราะ {0, 2} A ผิด เพราะ {2} A
  • 17. ตัวอย่างที่ 5 จงเขียนสับเซตทั้งหมดของเซตต่อไปนี้ 1. A = Ø สับเซตทั้งหมดของเซต A มี 1 เซต คือ Ø 2. B = {1} สับเซตทั้งหมดของเซต B มี 2 เซต คือ Ø, {1} 3. C = {-1, 1} สับเซตทั้งหมดของเซต C มี 4 เซต คือ Ø, {-1, 1}, {-1}, {1} 4. D = {2, {0, 2}, Ø} สับเซตทั้งหมดของเซต D มี 8 เซต คือ Ø, {2, {0, 2}, Ø}, {2}, {{0, 2}}, {Ø}, {2, {0, 2}}, {2, Ø}, {{0, 2}, Ø} เซตว่าง กับ เซตตัวมันเอง เซตที่มีสมาชิก 1 ตัว เซตที่มีสมาชิก 2 ตัว
  • 18. เพาเวอร์เซต(Power Set) บทนิยาม เพาเวอร์เซตของเซต A คือ เซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่ เป็นสับเซตทั้งหมดของเซต A เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(A) ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนเพาเวอร์เซตของเซตที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1. A = Ø จะได้ P(A) = {Ø} 2. B = {1, 2} จะได้ P(A) = {Ø,{1}, {2}, {1, 2}}
  • 19. ตัวอย่างที่ 2 กาหนด A = {Ø, 0, 2, 4, {Ø}, {0}, {0, 2}} จงพิจารณาข้อต่อไปนี้ ว่าถูกหรือผิด 1. Ø P(A) ถูก เพราะ เซตว่างเป็นสมาชิกของเพาเวอร์เซตใด ๆ เสมอ 2. {Ø} ⊂ P(A) ถูก เพราะ Ø ⊂ A 3. {Ø} P(A) ถูก เพราะ {Ø} ⊂ A  
  • 20. 4. {{Ø}} P(A) ถูก เพราะ {{Ø}} ⊂ A 5. {0, 2} P(A) ถูก เพราะ {0, 2} ⊂ A 6. {0, 2} ⊂ P(A) ผิด เพราะ 0, 2 A 7. {{0, 2}} P(A) ถูก เพราะ {{0, 2}} ⊂ A    
  • 21. 8. {{0, 2}} ⊂ P(A) ถูก เพราะ {0, 2} ⊂ A 9. {{Ø}, 2} P(A) ถูก เพราะ {0, 2} ⊂ A 10. {{Ø}, 2} ⊂ P(A) ถูก เพราะ {Ø} ⊂ A แต่ 2 A  
  • 22. เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) เป็นเซตที่กาหนดขึ้นมาใช้ในการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข เขียนแทนด้วย U โดยมีข้อตกลงว่า เมื่อกล่าวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ เช่น กาหนดให้ U คือ เซตของจานวนเต็มบวก และ A = { x | x = 9 } B = { y | y ≤ 5 } 2 จะได้ A = { 3 } และ B = { 1, 2, 3, 4, 5 }
  • 23. แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ (Venn – Euler Diagram) เป็นการเขียนแผนภาพแทนเซต โดยเขียนรูปปิดสี่เหลี่ยมมุมฉาก แทนเอกภพสัมพัทธ์ (U) และรูปปิดวงกลม หรือวงรีแทนสับเซต ของเอกภพสัมพัทธ์ (U) ดังรูป A B U A B U เซตไม่มีส่วนร่วม (disjoint sets)
  • 25. ตัวอย่างที่ 1 กาหนด U = { 2, 4, 6, 8, 10, 12 } A = { 2, 8, 12 } B = { 6, 8, 10 } จงเขียนเซตดังกล่าวด้วยแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ วิธีทา พิจารณาเซต A และ B มีสมาชิกร่วมกันคือ 8 ดังนั้น แผนภาพสามารถเขียนและใส่สมาชิกลงไปได้ดังรูป A B U 6 108 2 12 4
  • 26. ตัวอย่างที่ 2 กาหนด U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} A = {1, 3, 4, 5, 7} B = {5, 6, 7, 8} C = {3, 5} จงเขียนเซตดังกล่าวด้วยแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ วิธีทา พิจารณาเซต A, B และ C ใน U พบว่า C ⊂ A , A กับ B มีสมาชิก ร่วมกัน และ B กับ C มีสมาชิกร่วมกัน ดังนั้น แผนภาพสามารถเขียนและใส่สมาชิกลงไปได้ดังรูป A B C 5 7 U 3 1 4 6 8 2 9 10