SlideShare a Scribd company logo
MODERN MATHEMATICS
Complied by … ::[MoDErN_SnC®]::
คํานํา
เปนที่ทราบกันดีวา หัวใจของการเรียนคณิตศาสตร คือกระบวนการเรียนรูที่เนนกระบวนการ และการทํา
แบบฝกหัด แตนักเรียนสวนมากมักมองขามในจุดนี้ไป เห็นการใชสูตรเปนเรื่องสําคัญโดยไมรูที่มาของสูตร ทําใหการ
เรียนในขั้นสูงเปนไปดวยความลําบาก กลาวคือ พื้นฐานไมแนน และการที่ไมทําแบบฝกหัดนั้น ทําใหไมเห็นแนวโนม
ของโจทยที่มี ทําใหเมื่อพบเจอกับโจทยที่มีความซับซอน ผูเรียนจะเกิดความเบื่อหนายในการทําโจทย สงผลทําใหการ
เรียนคณิตศาสตรเปนไปอยางไมไดผล และประสบความลมเหลว ดังปญหาที่พบมากในประเทศไทย
เอกสารชุด Modern Mathematics เรื่อง The Basic Concept of SET THEORY เปนเอกสารที่ชวยเสริม
การเรียนการสอนในหองเรียน โดยภายในเอกสารประกอบไปดวยเนื้อหาที่ครบถวน ตรงตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ. 2544 และยังมีเนื้อหาที่เพิ่มเติมเพื่อใหสามารถตอยอดความรูเพื่อศึกษาในระดับสูงตอไป อีกทั้งยัง
ประกอบดวยแบบฝกหัดตามหัวขอตาง ๆ ที่ประกอบกับเนื้อหา แบบฝกหัดระคน และแนวขอสอบในระดับโควตา-
เอนทรานซ และระดับโอลิมปกวิชาการ โดยไดรวบรวมเนื้อหาจากแหลงการเรียนรูหลายแหลง อาทิ เอกสาร
ประกอบการเรียนที่ไดเรียนมา หนังสือตาง ๆ และจากอินเตอรเนท หรือจากประสบการณที่ไดเรียนมา เพื่อใหเอกสาร
ฉบับนี้สมบูรณมากที่สุด
ผูรวบรวมและเรียบเรียงหวังวา เอกสารนี้จะใหความรูแกผูศึกษาตามแตศักยภาพของตนเอง หากเอกสาร
ฉบับนี้มีขอบกพรองประการใด ก็ขออภัยมา ณ.ที่นี้ดวย ซึ่งสามารถติชม และใหคําแนะนําไดที่อีเมลลของขาพเจา
schaidee@hotmail.com จักเปนพระคุณยิ่ง
::[MoDErN_SnC®]::
ศุภณัฐ ชัยดี
ผูรวบรวม – เรียบเรียง
21 กันยายน 2548
Special Thanks
กวาจะมาเปนเอกสารมาได ก็ตองขอขอบคุณบุคคลตอไปนี้
คุณพอ คุณแม ที่เปนกําลังใจใหและสนับสนุนในการซื้อกระดาษ หมึกพิมพ หรือหนังสือตาง ๆ
พี่สาวที่แสนดีที่บางครั้งขอใหชวยพิมพใหบาง
อ.เสรี กิจสวัสดิ์ไพบูลย ที่เปนตนแบบที่หลอหลอมใหไดใชภาษาคณิตศาสตรอยางถูกตอง และเปน
แรงบันดาลใจใหพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร
อ.อภิชาติ ลอยเวหา ที่ใหคําปรึกษาในการจัดทําดวยดีเสมอมา
อ.ธีรภัทร วิโรจนสกุล ที่อนุญาตใหใชเอกสารที่สอนป 2547 เพื่อนํามาปรับปรุง ,แนะนําการทํา
เอกสาร และใหขอเสนอแนะ
พี่โนต ที่ตรวจสอบความถูกตองทางคณิตศาสตรและนําไปลงในเว็บไซตเพื่อเผยแผเอกสารนี้
นองเนยสด นองนารุโตะ หรือคนที่รูจักใน MSN ที่เปนหนูทดลองใชเอกสารนี้
เพื่อน ๆ ที่คอยใหกําลังใจตลอด
เจาของเอกสารที่ขาพเจาไดนํามาใชเพื่อการศึกษา
และคนอื่น ๆ ที่ไมไดกลาวถึง ณ.ที่นี้
ขอขอบคุณครับ
สารบัญ
เรื่อง หนา
1. มโนคติเบื้องตนเกี่ยวกับเซต 1
1.1 รูปแบบการเขียนเซต 1
1.2 การเปนสมาชิกของเซต 4
1.3 จํานวนสมาชิกของเซต 4
1.4 ความสัมพันธระหวางเซต 7
2. เอกภพสัมพัทธและแผนภาพเวนน - ออยเลอร 9
2.1 เอกภพสัมพัทธ 9
2.2 แผนภาพเวนน - ออยเลอร 9
3. สับเซตและเพาเวอรเซต 15
3.1 สับเซต 15
3.2 เพาเวอรเซต 18
4. การดําเนินการระหวางเซต 19
4.1 ยูเนียน 19
4.2 อินเตอรเซคชัน 21
4.3 คอมพลีเมนต 27
4.4 ผลตางระหวางเซต 27
5. สมบัติของเซต 33
5.1 Union of Sets 33
5.2 Intersection of Sets 34
5.3 De – Morgan Law 34
5.4 Distributive Laws 35
5.5 Difference of two sets 37
5.6 Union and intersection of two sets 38
5.7 Difference, Union and intersection of two sets 39
5.8 การพิจารณาสมาชิก – สับเซต 41
6. การแรเงาเขตพื้นที่ 43
7. เซตกับจํานวนสมาชิก 47
แบบฝกหัดระคนชุดที่ 1 56
แบบฝกหัดระคนชุดที่ 1 63
ขอสอบโอลิมปกคณิตศาสตร เรื่องเซต 70
ขอสอบโควตาและเอนทรานซเรื่องเซต 73
บรรณานุกรม 78
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
1
เซ ต ( S e t s )
มโนคติเบื้องตนเกี่ยวกับเซต
เซตเริ่มมีที่มามาจากนักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน ชื่อ เกออรก คันทอร (Georg Cantor)
เปนผูริเริ่มใชคําวาเซต ตอจากนั้นนักคณิตศาสตรจึงใชคํานี้อยางแพรหลาย ความรูในเรื่องเซต ถือ
วาเปนความรูพื้นฐานที่สามารถเชื่อมโยงกับเนื้อหาสาระทางคณิตศาสตรไดหลายเรื่องทีเดียว
ในภาษาไทย มีคําที่ใชเรียกกลุมของสิ่งตาง ๆ หลายคํา เราเรียกวา “สมุหนาม” (คํานาม
รวมหมู) เชน กลุม ชุด ฝูง พวก แตในทางคณิตศาสตร เราจะใชคําวา เซต เพียงคําเดียวเทานั้น
ดังนั้น คําวาเซตในทางคณิตศาสตร จึงหมายถึง กลุมของสิ่งของตาง ๆ และเมื่อกลาวถึง
กลุมใดแลวจะสามารถทราบไดแนนอนวาสิ่งใดอยูในกลุม และสิ่งใดอยูนอกกลุม เชน
• เซตของวันในหนึ่งสัปดาห หมายถึง กลุมของวันจันทร วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วัน
ศุกร วันเสาร และวันอาทิตย
• เซตของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก หมายถึง กลุมของรูปสี่เหลี่ยมซึ่งประกอบดวย สี่เหลี่ยม
จัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา
หมายเหตุ
ในทางภาษาอังกฤษ คําวา Set และ Collection มีความหมายที่แตกตางกัน
เราเรียกสิ่งที่อยูในเซตวา สมาชิก (Elements / Members)
สิ่งตาง ๆ ที่อยูในเซต ตองเปนสิ่งที่สามารถระบุไดอยางแจมชัด (Well-Defined) เพื่อที่เราสามารถระบุ
ไดวา สิ่งนั้นเปนสมาชิกในเซตหรือไม
QUIZ 1 เปนเซตหรือไม
1. นักเรียนหอง ม.4/2
2. นักเรียนหอง ม.4/2 ที่มีหนาตาดี
3. นักฟุตบอลทีมแมนยูที่เลนฟุตบอลเกง
4. เม็ดทรายในทะเลทรายซาฮารา
สรุป การพิจารณาเงื่อนไขวาเปนเซตหรือไม.......................................................
…...................................................................................................................
1.1 รูปแบบการเขียนเซต
ในการเขียนเซต เราสามารถเขียนเซตไดถึง 3 รูปแบบ คือ
• การเขียนเปนขอความ (Statement Form)
เปนการเขียนขอความเพื่อแสดงความชัดเจน
ตัวอยาง เซตของนักเรียนหอง ม.4/1
เซตของจํานวนเฉพาะที่ไมเกิน 50
เซตของจํานวนเต็มบวกที่คูณกับ 5 แลัวไดไมเกิน 8
Georg Cantor
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
2
• การเขียนแจกแจงสมาชิก (Tabular Form / Roaster Method)
เปนการเขียนแจกแจงสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายวงเล็บปกกาที่มีลักษณะ { } และใช
เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นสมาชิกแตละตัว เชน
ตัวอยาง เซตของจํานวนนับที่นอยกวา 5 เขียนแทนดวย {1, 2, 3, 4}
โดยทั่วไปจะแทนเซตดวยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ เชน A, B, C และแทนสมาชิกดวย
ตัวพิมพเล็ก เชน a, b, c
ตัวอยาง กําหนดให A แทนเซตของพยัญชนะ 3 ตัวแรกในภาษาอังกฤษ
A = {a, b, c} อานวา A เปนเซตที่มี a, b และ c เปนสมาชิก
กําหนดให B แทนเซตของจํานวนเต็มบวกทีเปนคู
B = {2, 4, 6, 8, …}
ขอสังเกต เราจะใชจุดสามจุด (…) เพื่อแสดงวามีสมาชิกอื่น ๆ ซึ่งเปนที่เขาใจกันอยูแลววามีอะไรในเซตบาง
เชน {1, 2, …, 10} หมายถึง เขาใจวามี 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 เปนสมาชิกของเซตดวย หรือใชแทนเซต
อนันต (Infinite Set) ที่บอกวามีจํานวนอีกมากมายไมสิ้นสุด ซึ่งจะกลาวถึงในหัวขอถัดไป
• การแจกแจงเงื่อนไข (Set Builder Form/ Rule Method)
เปนการใชตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแลวทําการบรรยายสมบัติของสมาชิกที่อยูในรูปตัวแปร
เชน A = { x | x เปนพยัญชนะสามตัวแรกในภาษาอังกฤษ}
อานวา A เปนเซตซึ่งประกอบไปดวยสมาชิก x โดยที่ x เปนพยัญชนะสามตัวแรกใน
ภาษาอังกฤษ เครื่องหมาย “|” แทนคําวา โดยที่
เราสามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงเงื่อนไขใหอยูในรูปแจกแจงสมาชิกไดทุกเซต แตในบาง
เซตเราไมสามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงสมาชิกใหอยูในรูปเงื่อนไข
EXERCISE I รูปแบบการเขียนเซต
ตอนที่ 1จงเขียนเซตในรูปแจกแจงสมาชิก
ขอ โจทย แจกแจงสมาชิก
1. เซตของวันใน 1 สัปดาห
2. เซตของเดือนที่ลงทายดวย “ยน”
3. เซตของสระในภาษาอังกฤษ
4. เซตของจํานวนเต็มลบที่มากกวา –20
5. เซตของจํานวนเต็มบวกที่มีคามากกวา 100
6. เซตของจํานวนเต็มบวก
7. เซตของจํานวนเต็มลบ
8. เซตของจํานวนเต็ม
9. เซตของจํานวนนับ
10. เซตของจํานวนจริงที่สอดคลองกับสมการ x2
– 5x = 0
11. เซตของจํานวนเต็มบวกที่สอดคลองกับสมการ x2
– 3x – 10 = 0
12. เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ 2x2
– 5x + 2 = 0
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
3
13. A = {x | x ∈ I และ 3 ≤ x ≤ 8
14. B = {x | x ∈ +
I และ x ≤ 100
15.
C = {x | x เปนจํานวนเฉพาะบวก และ
x2
-15x + 44 = 0}
16. D = {x | x ∈ และ 3 หารลงตัว}
17. E = {x | x ∈ ซึ่ง x ≤ 100 และ Ν∈x }
18. F = {x | x ∈ R และ 0
1
2
=
−
−
x
x
}
ตอนที่ 2จงเขียนเซตในรูปแบบบอกเงื่อนไข
ขอ โจทย แจกแจงสมาชิก
1.
A = { ดาวอังคาร, ดาวพุธ, ดาวพฤหัสบดี,
ดาวศุกร, ดาวเสาร, ดาวยูเรนัส, ดาวเนปจูน,
ดาวพลูโต,}
2. B = {1, 2, 3, 4, ..., 10}
3. C = {-10, -9, -8, -7, ..., -1}
4. D = {b, c, d, f, ..., z}
5. E = {1, 3, 5, 7, ..., 99}
6. F = {5, 10, 15}
7. G = {4, 9, 25, 49, 121, 169}
8. H = {-2, -5}
9. I = {...,-2, -1, 0, 1, 2 , ... }
10. J = {1, 4, 9, 16, ..., 100}
เซตในระบบจํานวนตาง ๆ
เซตของจํานวนธรรมชาติ / จํานวนเต็มบวก (Natural Number / Integer) N = I+
= {1, 2, 3, 4, …}
เซตของจํานวนเต็มศูนยและเต็มบวก (Whole Number) W = {0, 1, 2, 3, 4, …}
เซตของจํานวนเต็มคู (Even Number) E = {2, 4, 6, 8, …}
เซตของจํานวนเต็มคี่ (Odd Number) O = {1, 3, 5, 7, …}
เซตของจํานวนเต็มทั้งหมด (Integers) Z = I = {…, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, …}
เซตของจํานวนตรรกยะ (Rational Numbers) Q = {
b
a
| a and b are integers and b≠0}
เซตของจํานวนอตรรกยะ (Irrational Numbers) Q’ = { x| x is a real number that is not rational}
เซตของจํานวนจริง R = { x| x can be expressed as a decimal}
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
4
1.2 การเปนสมาชิกของเซต
กําหนดให A = {1, 2, 3}
1 เปนสมาชิกของ A เขียนแทนไดวา 1 ∈ A (อานวา 1 เปนสมาชิกของ A)
4 ไมเปนสมาชิกของ A เขียนแทนไดวา 4 ∉ A (อานวา 4 ไมเปนสมาชิกของ A)
QUIZ 2 มีจํานวนสมาชิกกี่ตัว
1. A = {123}
2. B = {1, 2, 3, 2, 2, 1}
3. C = {1, {1}, {{1,2}}}
4. D = {x | x เปนเซตของพยัญชนะในคําวา MONTFORT}
สรุป การพิจารณาจํานวนสมาชิกในเซต มีหลักการดังตอไปนี้
1. ………………………………………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………………………………………
3. ………………………………………………………………………………………………………
1.3 จํานวนสมาชิกของเซต
จํานวนสมาชิกของเซต (Cardinal Number) เขียนแทนดวย n(A) (เมื่อ A แทนดวยเซตใดๆ)
เราสามารถจําแนกประเภทของเซตโดยใชจํานวนสมาชิกได 2 รูปแบบดังนี้
ประเภทที่ 1 เซตที่มีสมาชิกและไมมีสมาชิก
- เซตที่มีสมาชิกเพียงตัวเดียว เรียกวา Singleton Set
- เซตที่ไมมีสมาชิกอยูเลย เรียกวา เซตวาง (Null Set / Empty Set) เขียนแทนดวยสัญลักษณ ∅
หรือเขียนแทนดวยลักษณะ { } (วงเล็บปกกาที่ไมมีสมาชิกอยู) โดยสัญลักษณดังกลาวนํามาจาก
อักษรตัวสุดทายของอักษรเดนมารค นอรเวย ซึ่งอานออกเสียงไดคอนขางยาก ฉะนั้นเมื่อพบ
สัญลักษณดังกลาวจะอานวา เซตวาง แทน สังเกตวาจะคลายกับสัญลักษณ φ (ฟาย) ของภาษา
กรีก
EXERCISE II การเปนสมาชิกและจํานวนสมาชิกของเซต (I)
จงบอกสมาชิกของเซต และจํานวนสมาชิกของเซต ( )(An ) ในแตละขอตอไปนี้
No. Set Elements
Cardinal
number
1. {a, b, c, d, e}
2. {0, 1, 2, 3, 1, 0}
3. {12345}
4. {1, {2, 3, 4, 5, 6}}
5. {{a, b, c}, a, {b, c}}
6. {x│x เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5}
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
5
7. { x│ Ix ∈ และ 0376 2
=−+ xx }
8. { x│ ax = เมื่อ Ia ∈ และ 33 ≤≤− a }
9. { x│x เปนรากที่สองของ yเมื่อy=1,2,3,4}
10. { Nx ∈ │ +
∈−= In
n
x ,
1
1 และ 5<n }
11. เซตของจํานวนเต็มลบ ที่นอยกวา - 100
12. เซตของจํานวนเต็มบวกที่เปนเลข 2 หลัก
13. เซตของจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 8
14. เซตของจํานวนเต็มระหวาง 4 กับ 8
15. เซตของจํานวนนับ
16. เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 3 ถึง 6
17. เซตของจํานวนเต็ม ที่นอยกวา 5
18. เซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 5 ลงตัว
19.
เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ
0232
=+− xx
20. เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ 013
=−x
21.
เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ
023 2
=−− xx
22. เซตของจํานวนเต็มบวกที่สอดคลองกับสมการ xx 22
=
23. เซตของจํานวนคูบวกที่สอดคลองกับอสมการ 353 <x
24. เซตของจํานวนเฉพาะที่นอยกวา 15
25. เซตของจํานวนนับที่สอดคลองกับสมการ 042
=+ xx
26. เซตของพยัญชนะในคําวา “กรรมกร”
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
6
ประเภทที่ 2 เซตจํากัดและเซตอนันต
- เซตจํากัด (Finite Set) คือ เซตที่มีจํานวนสมาขิกเปนจํานวนเต็มบวกหรือเต็มศูนย
- เซตอนันต (Infinite Set) คือ เซตที่ไมใชเซตจํากัด ใชจุดสามจุดเพื่อแทนสมาชิกอื่นที่ยังเขาใจวายัง
มีสมาชิกอื่นอยูในเซต
ตอบคําถามตอไปนี้พรอมบอกเหตุผล
1. เม็ดขาวในขาวผัดเปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต
2. A = {{}} มีจํานวนสมาชิกหรือไม
3. B = {} มีจํานวนสมาชิกหรือไม
4. เม็ดทรายในทะเลทรายซาฮารา
สรุป 1. การพิจารณาเซตจํากัด/เซตอนันต.......................................................
.................................................................................................................
2. การพิจารณาจํานวนสมาชิกของเซตวาง.............................................
.................................................................................................................
EXERCISE III จํานวนสมาชิกของเซต (II)
ตอนที่ 1จงพิจารณาเซตในแตละขอตอไปนี้วาเปนเซตอนันต หรือเซตจํากัด
1. {1, 2, 3, …, 100} .............................................................
2. {a, {a}, {{a}}, {{{a}}}, …} .............................................................
3. {x|x เปนจํานวนเต็มลบ} .............................................................
4. เซตของจํานวนคูที่มี 7 เปนหลักสิบ .............................................................
5. เซตของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางรวมกัน .............................................................
6. เซตของจํานวนที่อยูระหวาง 1 กับ 3 .............................................................
7. }4,{ <∈ xIxx .............................................................
8. เซตของจํานวนเต็มที่นําไปหาร 0 ไดลงตัว .............................................................
9. {x|x เปนตัวประกอบของ 0} .............................................................
10. {x|x มี 0 เปนตัวประกอบ} .............................................................
ตอนที 2 จงพิจารณาวาเซตในแตละขอตอไปนี้ เปนเซตวาง หรือไมเปนเซตวาง
1. {φ } .............................................................
2. ]{ xxx ≠ .............................................................
3. }54,{ <<∈ xNxx .............................................................
4. }{ 2
xxx = .............................................................
5. },{ 2
xxxNxx =+∈ .............................................................
6. }1,{ <∈ +
xIxx .............................................................
7. }01{ 3
=+xx .............................................................
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
7
8. ( ) }02,{
2
=+∈ xNxx .............................................................
9. {{},{},{}} .............................................................
10. }5,{ 2
=∈ +
xIxx .............................................................
1.4 ความสัมพันธระหวางเซต
- เซตที่เทากัน (Equal Set) คือเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากันและมีสมาชิกเหมือนกัน
นิยาม เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ เซตทั้งสองนี้มีสมาชิกเหมือนกัน กลาวคือ เซต A เปนสมาชิกของเซต B
และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A
เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B
- เซตที่เทียบเทากัน (Equivalent Set) คือเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน อาจเขียนแทนดวย
เครื่องหมาย ↔
นิยาม 1. ถา A และ B เปนเซตจํากัด เรียกวา A เทียบเทากับ B เมื่อ n(A) = n(B)
2. ถา A และ B เปนเซตอนันต เรียกวา A เทียบเทากับ B เมื่อสามารถนําสมาชิกทุกตัวของ A
และ B มาจับคูกันแบบหนึ่งตอหนึ่งได
เซตที่เทากันยอมเปนเซตเทียบเทากัน แตเซตเทียบเทากันอาจไมเปนเซตที่เทากันก็ได
ตัวอยาง A = {1, 2, 3}, B = {3, 2, 2, 1}
เนื่องจาก A และ B มีจํานวนสมาชิกเทากัน แสดงวาเปนเซตเทียบเทา (A
↔ B) และมีสมาชิกเหมือนกัน (ตรวจสอบลักษณะการเขียนเซต ตามหลักการ
เขียนเซตที่วา ไมคํานึงถึงลําดับ และไมคํานึงถึงการเขียนซ้ํา) ดังนั้น A=B
C = {1, 2, {3}}, D = {3, 2, 2, 1}
เนื่องจาก C และ D มีจํานวนสมาชิกเทากัน แสดงวาเปนเซตเทียบเทา (C
↔ D) แตสมาชิกไมเหมือนกัน ดังนั้น A ≠ B
EXERCISE IV ความสัมพันธระหวางเซต
ตอนที่ 1 ใหเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ผิด
………1. a = {a}
………2. a }{a↔
………3. {1, 2} = {12}
………4. ถา A = B แลว BA ↔
………5. ถา BA ↔ แลว A = B
………6. If A =B and B = C, then A =C.
……….7. If BA ≠ and CB ≠ , then CA ≠
……….8. }85{}85{ <<∈=<<∈ xIxxNx
……….9. }33{}33{ <<−∈=<<−∈ xIxxNx
……….10. }33{}33{ <<−∈↔<<−∈ xIxxNx
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
8
ตอนที่ 2 จงพิจารณาความสัมพันธของเซตในขอตอไปนี้ วาคูใดเปนเซตที่เทากัน หรือเปนเซตที่เทียบเทา หรือ
ไมเทากันและเทียบเทาเลย
1. A = {0, 1, 2, 3, …, 9}; B = { 10<∈ xIx } ……………………………
2. C = {10, 20, 30, 40}; D = {30, 40, 10, 20, 30, 10} ……………………
3. E = {1}; F = {{1}} ………………………………………
4. G = {5}; H = { 25, 2
=∈ xIxx }……………………………………….
5. I = }0{ 2
=− xxx ; J = }01{ =−xx ………………………………………..
6. K = }5,,
1
1{ <∈+= +
yIy
y
xx ; L = }5,,
1
1{ <∈+= yNy
y
xx
………………………………………………………………………….
7. M = }10,{ ≤∈ xIxx ; N = {…, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, …}
…………………………………………………………………………
8. O = }50,
1
{ ≤≤= n
n
xx ; P = }51,
1
{ ≤≤= n
n
xx
………………………………………………………………………
9. Q = {0}; R = φ ……………………………………………….
10. S = {{{φ }}}; T = {φ } …………………………………………….
11. U = {12345}; V = {1, 2, 3, 4, 5} ………………………………….
12. W = {33, 44, 55}; X = {3, 4, 5} ………………………………….
ตอนที่ 3 จงจับคูระหวางเซตในกลุมที่ 1 และกลุมที่ 2 ที่เทากัน
1. }4,{ 2
=∈ xIxx A {1}
2. }4,{ =∈ xIxx B {2}
3. }4,{ −=∈ xIxx C {-2}
4. }05,{ 2
=+∈ xRxx D {-2, 2}
5. }0233,{ 2
=+−∈ xxIxx E {1, 2, 3}
6. {x|x N∈ , 403 2
<x } F {}
ตอนที่ 4 ใหเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ผิด
……….1. 1 }1{≠
……….2. {1} = }1{ 2
=xx
……….3. {1} = {1, 1, 1, 11}
……….4. 2 }}2{{∈
……….5. φ=−>∈ }1{ 2
xIx
……….6. }1{ 2
−>∈ xIx is finite set.
กลุมที่ 1 กลุมที่ 2
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
9
……….7. }98{ <<∈ xIx is a null set.
……….8. }50{ −>∈ −
xIx is an infinite set.
……….9. }1
2
1
{ << xx is an infinite set.
……….10. }1
2
1
{ <<∈ xQx is an infinite set.
……….11. }98{ <<∈ xIx is a finite set.
………..12. A = {}, then n(A) = 0.
เอกภพสัมพัทธและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
2.1 เอกภพสัมพัทธ
เอกภพสัมพัทธ (Relatively Universe) คือเซตที่กําหนดขึ้น โดยมีขอตกลงวา ตอไปจะกลาวถึงสมาชิก
ของเซตนี้เทานั้น จะไมมีการกลาวถึงสิ่งใดที่ไมเปนสมาชิกของเซตนี้ นิยมใชสัญลักษณ U แทนสัญลักษณเอกภพ
สัมพัทธ
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสวนมากจะกําหนดเอกภพสัมพัทธไวที่ระบบจํานวนจริงเสมอ
2.2 แผนภาพเวนน- ออยเลอร
เพื่อใหการศึกษาเกี่ยวกับเซตงายและเขาใจขึ้น จึงมีการใชแผนภาพแทนเซตที่เรียกวา แผนภาพของ
เวนน-ออยเลอร (Venn-Euler) ซึ่ง John Venn นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษเปนผูเสนอไว โดยสืบทอดแนวคิดมา
จาก Leonhatd Euler นักคณิตศาสตรชาวสวิส มักเรียกสั้น ๆ แผนภาพเวนน
เราจะแทนเอกภพสัมพัทธดวยสี่เหลี่ยมมุมฉาก และแทนเซตอื่น ๆ ดวยวงกลมหรือรูปเรขาคณิตอื่นๆ
สมาชิกของเอกภพสัมพันธอยูภายในรูปสี่เหลี่ยม และสมาชิกของ A อยูภายในวงกลม กรณีที่กลาวถึง
เซตที่มากกวา 1 เซต มักจะเขียนในลักษณะดังรูป
U
A B
U
A
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
10
รูปแบบความสัมพันธระหวางเซตเมื่อเขียนลงบนแผนภาพเวนน-ออยเลอร
เซตที่ไมมีสมาชิกรวมกันเลย (disjoint sets)
เซตที่มีสมาชิกรวมกัน ( intersecting sets)
ความสัมพันธที่ A ทั้งหมดเปนสมาชิกใน B และ B ทั้งหมดเปนสมาชิกใน A
เมื่อกําหนดเอกภพสัมพัทธ
EXERCISE V เอกภพสัมพัทธ
ตอนที่ 1 จงเขียนแจกแจงสมาชิก
1. A = }43{ << xx , U = N . ………………………………………..
2. A = {x|x<3}, U = N ………………………………………..
3. A = {x|-3<x<2}, U = N ………………………………………..
4. A = {x|-3<x<2}, U = I ……………………………………….
5. A = {x|x 5−≥ }, U = N ……………………………………….
6. A = {x| 33 ≤≤− x }, U = I ……………………………………….
7. A = {x| 33 ≤≤− x }, U = +
I ………………………………………..
8. A = {x| 33 ≤≤− x }, U = −
I ……………………………………….
A B
A B
สมาชิกใน A
ที่ไมมีใน B
สมาชิกใน B
ที่ไมมีใน A
สมาชิกรวมกัน 2 เซต
B
A
A
B
A B
U
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
11
ตอนที่ 2 จงเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร
กําหนดให U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}
1. A = {1, 3, 5, 7, 9}
B = {2, 4, 6, 8, 10}
2. A = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
B = {4, 5, 6, 7, 8}
3. A = {4, 6, 9}
B = {3, 4, 6, 7, 8, 9}
4. A = {1, 2, 3, 4, 5}
B = {1, 2, 3}
5. A = {7, 8, 9}
B = {7, 8, 9, 10}
6. A = {1, 2, 3, 4}
B = {4, 5, 6, 7}
C = {10}
7. A = {3, 5, 7, 9}
B = {2, 4, 6, 8}
C = {6, 8, 10}
U
U
U
U
U
U
U
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
12
8. A = {2, 4, 5, 6, 7}
B = {3, 7, 9, 10}
C = {7, 8}
9. A = {1, 2, 3}
B = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
C = {5, 6, 7, 8}
10. A = {3, 5, 7}
B = {1, 3, 5, 6, 7}
C = {7, 8, 9}
ตอนที่ 3 จงแรเงาลงในพื้นที่ใหถูกตอง
1. Where does a poodle go? 2. Where does 8 go?
3. Where does program go? 4. Where does 32 += xy go?
U
U
U
Dogs Cats
U
Integer Perfect
Cube
U
Natural number
Hardware Software
U
People ware
Line
Equation
U
Circle
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
13
5. Where does 13 go? 6. Where does g go?
7. Where does 121 go? 8. Where does
7
1
go?
9. Where does 1 day go? 10. Where does π (Pi) go?
11. Where does one quarter go? 12. Where does Mr. Taksin go?
Prime
number
Even
number
U
Whole number
Letter Musical
note
U
Computer language
Perfect
Square
Even
number
U
Palindrome
Fraction Repeat
Decimal
U
Integer
3600
seconds.
9600
minutes.
U
24 hours
Variable Constant
U
Algebra
25%.
12
3
U
15 minutes
Father
Prime
Minister.
U
Aunt
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
14
ตอนที่ 4 จงเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร
1. AB ⊂ 2. CBA ⊂⊂
3. A, B และ C มีสมาชิกรวมกันบางตัว 4. BAABBA =⊂⊂ ,,
5. สมาชิกบางตัวของเซต B เปนสมาชกของเซต A และC
6. CABA ⊄⊂ ,
7. TSTR ⊂⊂ , แต Rและ S ไมมีสมาชิกรวมกันเลย
และมีสมาชิกบางตัวของT ไมอยูใน R และ S
8. BCBA ⊂⊂ ,
9. A = Natural numbers
B = Even numbers
C = Odd numbers
U U
U U
U
U
U
U
U
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
15
10. A = Integer
B = Whole numbers
C = Counting numbers
D = Zero
E = Positive integers
สับเซตและเพาเวอรเซต
3.1 สับเซต (Subset)
นิยาม เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B
A เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊂ B
A ไมเปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊄ B
ตัวอยาง 1
ถา A = { 1 } , B = { 0 , 1 , 2 } , C = { 3 , 4 , 5 , 6 } และ D = {0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }
จะได A ⊂ B , B ⊂ D และ A ⊂ D
แต A ⊄ C , B ⊄ C และ C ⊄ D
ตัวอยาง 2 กําหนดให A = { 1 , 2 , 3 } จงหาสับเซตทั้งหมด
จะไดสับเซตทั้งหมดของ A คือ { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ
ถา A ⊂ B และ A ≠ B เชน A = { 1 } , B = { 1 , 2 } จะเรียก A วาเปนสับเซตแทของ เซต B
ถา A ⊂ B และ A = B เชน A = { a , b } , B = { a , b } จะเรียก A วาเปนสับเซตไมแทของ เซต B
ตัวอยาง 3 กําหนดให A = {1, 2} B = {2, 3} C = {1, 2, 3} D = {1, 2, 3, 4}
สรุปไดวา A ⊄ B, A ⊂ C, A ⊂ D
B ⊄ A, B ⊂ C, B ⊂ D
C ⊄ A, C ⊄ B, C ⊂ D
D ⊄ A, D ⊄ B, D ⊄ C
จากตัวอยาง 2 พบวามี n(A) = 3, จากการสังเกตพบวา มีจํานวนสับเซต 8 เซต ดังนั้นอาจสรุปไดดังตาราง
เซต จํานวนสมาชิก จํานวนสับเซต
{} 0 1 = ( 0
2 )
{1} 1 2 = ( 1
2 )
{1, 2} 2 4 = ( 2
2 )
{1, 2, 3} 3 8 = (23
)
{1, 2, 3, 4} 4 16 = ( 4
2 )
{1, 2, 3, 4, 5} 5 32 = ( 5
2 )
{1, 2, 3, …, n} n 2n
U
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
16
ขอตกลงเกี่ยวกับสับเซต
• เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว A ⊂ A
• เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว φ ⊂ A
เราทราบจํานวนสับเซตทั้งหมด วา เซตใดๆ มีจํานวนสับเซตเปน 2n
จากความรูเรื่องสับเซตแท เรา
พบวา เซตตัวมันเอง จะไมเปนสับเซตแท ดังนั้น เราสามารถหาจํานวนสับเซตแทไดโดยอาศัยสูตร 2n
- 1
เรื่องการหาจํานวนสมาชิกของซับเซต จะไดเรียนอีกครั้งหนึ่งในเรื่องคอมบินาทอริกในระดับสูงตอไป
สรุปสมบัติของสับเซต เมื่อให A, B และ C เปนเซตใดๆ ที่ไมใชเซตวาง จะไดวา
1. เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง เชน .,, CCBBAA ⊂⊂⊂
2. เซตวางเปนสับเซตของทุก ๆ เซต เชน ., BA ⊂⊂ φφ
3. ถา φ⊂A แลว φ=A
4. ถา BA ⊂ และ CB ⊂ แลว CA ⊂ .
5. ถา BA = แลว BA ⊂ และ AB ⊂ .
6. ถา BA ⊂ และ AB ⊂ แลว BA = .
7. ถา A มีจํานวนสมาชิกเทากับ n แลว จะมีสับเซตจํานวน n
2
EXERCISE VI สับเซต
1. จงหาสับเซตทั้งหมด ของเซตที่กําหนดให
1. A = φ ……………………………………………………………….
2. B = {a} ……………………………………………………………….
3. C = {a, b} ……………………………………………………………….
4. D = {x, y, z} ………………………………………………………………
……………………………………………………………….
5. E = {{1, 2}} ……………………………………………………………….
6. F = { }{, φφ } ………………………………………………………………
7. G = { }}{,{, φφφ } ……………………………………………………………….
8. H = {{a}, {b}, {a, b}} …………………………………………………………
…………………………………………………………
…………………………………………………………
9. I = {0, {0},{φ }} …………………………………………………………
…………………………………………………………
…………………………………………………………
10. J = {0, {0}, }{, φφ } ………………………………………………………….
………………………………………………………….
………………………………………………………….
………………………………………………………….
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
17
2. จงพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด
กําหนดให A = {0,φ } (ตอบขอ 1 – 10 )
………1. A∈0 ……….6. A∈}0{
………2. A⊂0 ……….7. A∈}{φ
………3. A∈φ ……….8. A⊂}0{
………4. A⊂φ ……….9. A∈},0{ φ
………5. A⊂}{φ ……….10. A⊂}0,{φ
กําหนดให B = {m, b, p} (ตอบขอ 11 – 20 )
………11. Bm ∈ ……….20. B∈φ
………12. Bnm ⊂},{ ………21. }{φφ ⊂
………13. Bpnm ⊂},,{ ………22. }{φφ ∈
………14. }{m⊂φ ………23. 0=φ
………15. }{}{ Bp ⊂ ………24. }0{=φ
……….16. Bn ⊂}{ ………25. }{φφ =
……….17. Bm ⊂ ………26. }}{,{}{ φφφ =
……….18. Bpm ∈},{ ………27. }}{,{ φφφ ∈
……….19. Bpnm ⊂}},,{{ ………28. }}{,{ φφφ ⊂
………29. ถา A เปนสับเซตของ B แลว A เปนสับเซตแทของ B
………30. A เปนเซตใด ๆ A จะมีสับเซตแทเสมอ
………31. If BA∈ and CB ∉ , then CA∉ .
………32. If BA∈ , then BA ⊂ .
………33. If BA ⊄ and CB ⊄ ,then CA ⊄
3. กําหนด A ={a, b, c}; B = {b, c, d} จงหา
1. เซตที่เปนสับเซตของ A และเปนสับเซตของ B
.............................................................................................................................................
2. เซตที่เปนสับเซต ของ A และไมเปนสับเซตของ B
.............................................................................................................................................
3. เซตที่เปนสับเซตของ B และไมเปนสับเซตของ A
.............................................................................................................................................
4. กําหนด A = {a, b} และ B = {a, b, c, d, e} ถา BxA ⊂⊂ จงเขียนเซตของ X มาทั้งหมด
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
18
3.2 เพาเวอรเซต ( power set )
คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อ A เปนเซตจํากัด
เพาเวอรเซตของเซต A เขียนแทนดวย P(A)
ตัวอยาง ถา A = { a , b , c } เซตของสับเซตทั้งหมดของ A หรือ
เพาเวอรเซตของ A คือ P(A) = { { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ }
ตัวอยาง ถา A = { 6 , 9 , {1} , {{2}} } จงหา P(A)
P(A) = { {6} , {9} , {{1}} , {{{2}}} , {6,9} , {6,{1}} , {6,{{2}}} , {9,{1}} , {9,{{2}}} , {{1},{{2}}} , {6,9,{1}}
, {6,9,{{2}}} , {6,{1},{{2}}} , {9,{1},{{2}}} , {6,9,{1},{{2}}} , φ }
ถา A เปนเซตจํากัดที่มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n
ตัว
หนังสือบางเลมใช 2A
แทน P(A)
สมบัติของเพาเวอรเซตที่ควรทราบ
กําหนดให A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
1. φ ∈ P(A)
2. A ∈ P(A)
3. ถา A เปนเซตจํากัด และมีสมาชิก n ตัว แลว P(A) จะเปน เซตจํากัดที่มีสมาชิก 2n ตัว
4. ถา A เปนเซตอนันต แลว P(A) จะเปนเซตอนันต
5. ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B)
6. ถา P(A) ⊂ P(B) แลว A ⊂ B
7. P(A ∩ B) = P(A) ∩ P(B)
8. P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B)
EXERCISE VI เพาเวอรเซต
1. จงทําเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกและเครื่องหมาย หนาขอความที่ผิด
………1. )(AP∈φ
………2. )(AP⊂φ
………3. )(APA∈
………4. )(APA ⊂
………5. มีเซต A ที่ทําให φ=)(AP
………6. มีเซต A ที่ทําใหจํานวนสมาชิกของเซต P(A) = 26
………7. มีเซต A ที่ทําให P(A)มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนคี่ตัว
………8.มีเซต Aและ เซตB ที่ทําให BA∈ และ BA ⊂
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
19
2. จงหาเพาเวอรเซตของเซตตอไปนี้
1. A = {9} …………………………………………………………...
2. B = {{a, b}, c} …………………………………………………………..
3. C = φ …………………………………………………………..
4. P(φ ) …………………………………………………………..
5. P(P(φ )) …………………………………………………………..
6. P({1, 2, {φ }}) …………………………………………………………..
…………………………………………………………...
3. ถาเซต A มีจํานวนสมาชิก 10 ตัว แลว P(A) มีจํานวนสมาชิกกี่ตัว
…………………………………………………………………………………...
4. ถาสับเซตแทของ P(A) มี 255 สับเซต แลวจงหาจํานวนสมาชิกของ A
…………………………………………………………………………………
การดําเนินการระหวางเซต
4.1 ยูเนียน ( Union )
นิยาม ยูเนียนของเซต A และ เซต B คือ เซตใหมที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของเซต A หรือ เซต B
หรือของทั้งสองเซต
ยูเนียนของ เซต A และเซต B เขียนแทนดวย A ∪ B
เขียนในรูปแจกแจงสมาชิกไดดังนี้
A ∪ B = { x | x ∈ A หรือ x ∈ B หรือเปนสมาชิกของทั้งสองเซต }
ตัวอยาง ถา A = { 1 , 2 , 3 , 4 } และ B = { 5 , 6 , 7 , 8 } จะได
A ∪ B = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 }
ตัวอยาง ถา C = { 1 , 2 , 3 } และ D = { }
C ∪ D = { 1 , 2 , 3 }
Example Let A = {x|x N∈ , x is divisible by 2} and B = {x|x N∈ , x is divisible by 3},
Find BA∪ ;
Solution: Given A = {2, 4, 6, 8, 10, 12, …} and; B = {3, 6, 9, 12, 15, 18, …}
∴ BA ∪ = {2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 12, …}.
= {x|x N∈ , x is divisible by 2 or 3}
Example Let A ={0, 2, 4, 6}, B = {1, 2, 3, 4, 5} and C = {2, 4, 6, 8}.
Verify that )()( CBACBA ∪∪=∪∪ ;
Solution: We have BA∪ = {0, 2, 4, 6 }∪ {1, 2, 3, 4, 5}
= {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6}
∴ CBA ∪∪ )( = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6}∪ {2, 4, 6, 8}
= {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
20
Again, CB ∪ = {1, 2, 3, 4, 5}∪ {2, 4, 6, 8}
= {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
∴ )( CBA ∪∪ = {0, 2, 4, 6}∪ {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
= {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
Hence, )()( CBACBA ∪∪=∪∪
จากตัวอยางขางตน จึงสรุปออกมาเปนทฤษฎีบทเกี่ยวกับการยูเนียนไดดังนี้
ทฤษฎีบทเกี่ยวกับยูเนียนของเซต
กําหนด A , B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
1. A ∪ A = A
2. A ∪ B = B ∪ A
3. (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C)
4. A ∪ φ = A = φ ∪ A
5. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ A ∪ B = B
6. A ⊂ (A ∪ B) และ B ⊂ (A ∪ B)
7. ถา A ⊂ B แลว A ⊂ (B ∪ C)
8. ถา A ⊂ C และ B ⊂ C แลว (A ∪ B) ⊂ C
การเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรกับการยูเนียนของเซต แบงได 5 กรณี ดังนี้
Case 1: Disjoint Sets.
ABBA ∪=∪
Case 2: Equal Sets;
BA =
Then, ABA =∪
BBA =∪
Case 3: Subsets;
BA ⊂
Then, BBA =∪
U
A B
U
A
B
U
A B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
21
Case 4: Subsets;
AB ⊂
Then, ABA =∪
Case 5: OverlappingSets
ABBA ∪=∪
4.2 อินเตอรเซ็กชัน ( Intersection )
นิยาม อินเตอรเซ็กชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบดวยสมาชิก ซึ่งเปนสมาชิกของทั้งเซต A และ
เซต B
อินเตอรเซ็กชันของ เซต A และเซต B เขียนแทนดวย A ∩ B เขียนในรูปแจกแจงสมาชิกไดดังนี้
A ∩ B = { x | x ∈ A และ x ∈ B }
ตัวอยาง ถา A = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 } และ B = { 5 , 6 , 7 , 8 , 9 ,10 } จะได
A ∩ B = { 5 , 6 , 7 }
ตัวอยาง ถา C = { 1 , 2 , 3 } และ D = { }
C ∩ D = { } = φ
Example Let A ={2, 3, 5, 7, 9, 11, 13} and B = {5, 9, 13, 17, 21}. Find BA∩ ;
Solution: BA∩ = {2, 3, 5, 7, 9, 11, 13}∩ {5, 9, 13, 17, 21}.
Set of elements which are common to both of the given sets
∴ BA∩ = {5, 9, 13}.
Example Let A = {x|x is a prime number less than 5}
B = {x|x is a countingnumbergreaterthan5}
Then =∩ BA {} or =∩ BA φ
Note: Two sets A and B for which BA∩ is a null set are called disjoint sets.
If =∩ BA φ , then two sets A and B are disjoint.
Example Let C = {5, 7, 9, 11} and; D = {9, 11, 13} C and D are intersecting sets,
Since φ≠∩ DC = {9, 11}
Note: Two sets A and B for which BA ∩ is not a null set are called joint sets or intersecting sets
or overlapping sets..
If ≠∩ BA φ , then two sets A and B are joint sets.
U
B
A
U
A B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
22
ทฤษฎีบทเกี่ยวกับอินเตอรเซ็กชัน
กําหนด A , B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
1. A ∩ A = A
2. A ∩ B = B ∩ A
3. (A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C)
4. A ∩ φ = φ = φ ∩ A
5. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ A ∩ B = A
6. (A ∩ B) ⊂ A และ (A ∩ B) ⊂ B
7. ถา A ⊂ B และ A ⊂ C แลว A ⊂ (B ∩ C)
8. ถา A ⊂ C และ B ⊂ C แลว (A ∩ B) ⊂ C
การเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรกับการอินเตอรเซกชันของเซต แบงได 5 กรณี ดังนี้
Case 1: Disjoint Sets.
φ=∩ BA
φ=∩ AB
Case 2: Equal Sets;
BA =
Then, BABA ==∩
Case 3: Subsets;
BA ⊂
Then, BBA =∪
Case 4: Subsets;
AB ⊂
Then, ABA =∪
U
A B
U
A
B
U
B
A
U
A B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
23
Case 5: OverlappingSets
ABBA ∪=∪
EXERCISE VII ยูเนียนและอินเตอรเซกชัน
ของเซต
1. กําหนด A ={1, 3, 5, 7}; B = {2, 7, 3, 8}; และ C = {0, 1, 2, 4, 8}. จงหา;
1. BA ∪ ………………………… 4. BA ∩ …………………………
2. CB ∪ ………………………… 5. CB ∩ …………………………
3. CA ∪ ………………………… 6. CA ∩ …………………………
7. ( ) CBA ∩∪ …………………………………………………………………
8. ( ) CBA ∪∩ …………………………………………………………………
9. ( ) CBA ∩∩ ………………………………………….………………………
10. ( ) CBA ∪∪ …………………………………………….……………………
2. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}. จงหา;
1. φ∪A …………………………… 2. φ∩A …….…………………………
3. กําหนดให A = {x|x เปนจํานวนนับ} A = {……………………………}
B = {x|x เปนจํานวนเต็มคู} B = {……………………………}
C = {x|x เปนจํานวนเต็มคี่} C = {……………………………}
D = {x|x เปนจํานวนเฉพาะ}, D = {……………………………}
จงหา...
1. BA ∪ ………………………… 4. CB ∩ …………………………
2. DC ∪ ………………………… 5. CA ∩ …………………………
3. DB ∩ ………………………… 6. DC ∩ …………………………
7. ( ) CBA ∪∪ …………………………………………………………..
4. ถา A = {1, 4, 5, 8}; B = {2, 5, 7}และ C = {7, 2, 1, 9}, จงแสดงวา )()( CBACBA ∪∪=∪∪ ;
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
U
A B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
24
5. ถา A = {1, 2, 3, 4}; B = {2, 4, 5, 6} และ C = {1, 3, 4, 6, 8} จงแสดงวา )()( CBACBA ∩∩=∩∩ ;
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
6. ถา A = {a, b, c, d, e}; B = {a, c, e, g} และC = {b, e, f, g},
6.1 จงแสดงวา; )()( CBACBA ∩∩=∩∩
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
6.2 จงแสดงวา; )()( CBACBA ∪∪=∪∪
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
7. กําหนดให A ={2, 5, 7}; B = {0, 1, 2, 3, 7}; และ C = {0, 3, 4, 6}. จงหา )( CBA ∪∩ ;
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
8. กําหนดให A ={1, 9, 11, 15, 17}; B = {11, 17, 19, 21}; และ C = {3, 5, 7}. จงหา ( ) CBA ∪∩ ;
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
9. เมื่อกําหนดเซตสองเซต จงหาเซตตอไปนี้
No. Two of sets BA ∩ BA ∪
1. A = {7, 8, 10}; B = {2, 8, 16}
2. A = {e, h, i, l}; B = {a, b, c, e, i}
3. A = {2, 3, 5}; B = {5, 3, 2, 2}
4. A = {4, 5, 6, 9}; B = {10, 11, 12, 13}
5. A ={1, 3, 5, 7}; B = {1, 3, 5, …}
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
25
10. ถา A = {x|x เปนพหุคูณของ 5, 200 ≤< x }
B = {1, 3, 7, 10, 12, 15, 18, 25};จงหา;
1. BA ∪ ............................................................................................
…………………………………………………………………..
2. BA ∩ …………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
11. If A = {x|x เปนพหุคูณของ 3, 121 ≤≤ x }
B = {x|x เปนจํานวนเต็มคู, 121 ≤≤ x }
C = {x|x เปนจํานวนเต็มคี่, 121 ≤≤ x }; จงหา;
1. BA ∩ ............................................................................................
2. CA ∩ …………………………………………………………………..
3. ( ) CBA ∩∪ ………………………………………………………………….
…………………………………………………………………..
12. ถา A = {x|x 4,,3
≤∈= yNyy }
B = {x|x 8,,8 ≤∈= yNyy }; จงหา;
1. BA ∪ ............................................................................................
…………………………………………………………………..
2. BA ∩ …………………………………………………………………..
…………………………………………………………………..
13. ถา A = {a, b, c, e}; B = {c, d, e, f} และ C = {d, e, g}; จงหา;
1. n( BA ∪ ) …………………………………………………………………..
2. n( BA ∩ ) …………………………………………………………………..
3. n( BA ∪ C∪ ) ………………………………………………………………….
4. )( CBn ∩ …………………………………………………………..
14. Write two sets X and Y such that: 3)(,4)( == YnXn and 7)( =∪YXn
…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………….
15. Write two sets M and N such that: 2)(,3)( == NnMn and 1)( =∩YXn
…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………….
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
26
16. If A ={2, 4, 6, 8} and B = {1, 3, 5, 7}; Verify that )()()( BnAnBAn +=∪
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
17. Verify: )()()()( BAnBnAnBAn ∩−+=∪ for each pair of sets:
1. A ={1, 2, 3, 4, 5}; B ={2, 4, 6}
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
2. A ={1, 4, 9, 16, 25}; B = {1, 8, 27, 64}
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
3. A = {1, 2, 4, 8, 16, 32}; B = {4, 8, 16, 32, 64}
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
18. If A = {x|x 10, ≤∈ xN } and B = {x|x ,15, ≤∈ xN x is multiple of 5},
Verify that )()()()( BAnBnAnBAn ∩−+=∪ .
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
27
4.3 คอมพลีเมนต ( Complement )
นิยาม คอมพลีเมนตของเซต A ซึ่งเปนสับเซตของ เอกภพสัมพัทธ U คือ เซตใหมที่ประกอบดวยสมาชิก ซึ่ง
เปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของ A
คอมพลีเมนตของเซต A เมื่อเทียบกับ U เขียนแทนดวย A′ ( อานวา เอไพรม )
เขียนในรูปแจกแจงสมาชิกไดดังนี้
A′ = { x | x ∈ U และ x ∉ A }
ตัวอยาง ถา U = { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } และ A = { 0 , 2 , 3 } จะได
A′ = { 1 , 4 , 5 , 6 }
ตัวอยาง ถา U = { 0 , 1 , 2 , 3 , … } และ C = { x | x เปนจํานวนคี่ } จะได
C′ = { x | x เปนจํานวนคู }
ทฤษฎีบทเกี่ยวกับคอมพลีเมนตของเซต
กําหนด A , B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
1. (A′)′ = A
2. U′ = φ
3. φ′= U
4. A ∩ A′ = φ
5. A ∪ A′ = U
6. A ∩ B′ = φ ก็ตอเมื่อ A ⊂ B′
7. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ B′ ⊂ A′
8. (A ∩ B)′ = A′ ∪ B′
9. (A ∪ B)′ = A′ ∩B′
4.4 ผลตางระหวางเซต ( Difference )
นิยาม ผลตางระหวางเซต A และเซต B คือ เซตใหมที่ประกอบดวยสมาชิกของเซต A ซึ่งไมเปนสมาชิกของ
เซต B
ผลตางระหวางเซต A และเซต B เขียนแทนดวย A − B
เขียน A − B แบบบอกเงื่อนไขไดดังนี้
A − B = { x | x ∈ A และ x ∉ B }
ตัวอยาง ถา A = { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 } และ B = {4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 }
จะได A − B = { 0 , 1 , 2 , 3 }
B − A = { 8 , 9 }
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
28
ทฤษฎีบทเกี่ยวกับผลตาง
กําหนด A , B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
U = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 }
A = { 2 , 5 }
B = { 2 , 3 , 5 , 6 }
1. A − B = ……………………………………………………….
2. B′ = ……………………………………………………….
3. A ∩ B′ = ……………………………………………………….
4. A − B …………. A ∩ B′ ( = , ≠ )
5. A ∩ B = ……………………………………………………….
6. A − (A ∩ B) = ……………………………………………………….
7. A − B ………… A ∩ B ( = , ≠ )
การเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรกับผลตางของเซต แบงได 5 กรณี ดังนี้
Case 1: Disjoint Sets.
Case 2: Equal Sets;
Case 3: Subsets;
BA ⊂
Case 4: Subsets;
AB ⊂
สรุป A − B = A ∩ B′
A − B = A − (A ∩ B)
U
A B
U
A
B
A – B = A B – A = B
U
A B
A = B
A – B = φ B – A =φ U
A
B
A – B = φ B – A = {x| Bx ∈ and Ax ∉ }
U
B
A
U
B
A
A – B = {x| Ax ∈ and Bx ∉ } B – A = φ
U
A B
U
A B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
29
U
A B
Case 5:
Overlapping Sets
EXERCISE VIII ผลตางและสวนนอกของเซต
1. Let U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7};
A = {1, 2, 3}; B = {2, 3, 4, 5}; C = {2, 3, 4, 5, 6}; D = φ
Write down each of the following sets by roster method:
1. A’ …………………… 3. C’ ……………...………
2. B’ …………………… 4. D’ ………………………
5. )'( BA∩ …………………………...................
6. )'( DC ∪ ………………………………………
7. '' BA∩ ……………………………………….
2. If U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10};
A = {1, 3, 5, 7}; B = {2, 4, 6, 8, 10}; C = {9}, then
Write the following sets by roster method:
1. CA ∪ ………………….……………………………
2. BA∩ …………………………………….…………
3. CU ∪ ……………………………………………….
4. A’ ………………………………………………..
5. B’ ………………………………………………..
6. CB ∪ ……………………………………………….
7. CBA ∪∩ )( …………………………………………….
3. Write true or false:
………..1. U='φ …………3. '')'( BABA ∪=∩
………..2. φ=∩ 'AA …………4. UAA =∪'
4. Are the two sets A and B overlapping?
A = {x|x is a natural number, less than 5};
B = {x|x is an odd number, less than 5};
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………..
U
A B
A – B = {x| Ax ∈ and Bx ∉ } B – A = {x| Bx ∈ and Ax ∉ }
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
30
5. Can two infinite sets be disjoint? If yes, write such two sets.
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
6. Given U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10};
A = {3, 6, 9}; B = {2, 4, 6, 8, 10}. Find;
No. Statement Result No. Statement Result
BA ∪ BA −1.
BA∩
5.
'BA∩
'A '' BA −2.
'B
6.
BA∩'
'AA∪ 'BB ∪3.
'AA ∩
7.
'BB ∩
)'( BA∪ )'( BA∩4.
'' BA∩
8.
'' BA∪
7. Let A ={11, 13, 17, 19, 23}, B = {13, 15, 17, 19, 21} be two subsets of the universal set
U={ 2410, <<∈ xNxx }; Find;
No. Statement Result No. Statement Result
BA∪ AU −1.
BA ∩
4.
'A
BA − 'AA ∪2.
AB −
5.
'BB ∪
( )BABA ∩−∪ )( '' BA −3.
( )BABA ∪−∩ )(
6.
BA−'
8. If U = {1, 2, 3, 6, 7, 12, 17, 21, 35, 52, 56}; QandRbethesubsetsofUgivenby
Q = {numbers divisible by 7} and R = {prime numbers};
List the elements of set S = {x|x RQ ∩∈ }:
…………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………..
9. Fill in the blanks:
1. =∪ AA ………….. 2. =∩ AA …………..
3. =∪φA ………….. 7. 'AA∪ =……………
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
31
4. =∩φA ………….. 8. =∪UA ……………
5. =∩ 'AA ………….. 9. =∪ )'( BA …………..
6. =∩UA ………….. 10. =∩ )'( BA ………….
10. If A = {1, 2, 3}, B = {3, 4, 5} and C = {1, 3, 5}, verify that; )()()( CABACBA −∩−=∪− .
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
11. If U = { 10, ≤∈ xNxx };
A = {1, 3, 5, 7, 9};B = {2, 4, 6, 8} and C = {2, 3, 4, 5, 6},
Verify that )'()''( CBACBA ∩∩=∪∩ .
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
12. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ทําเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูก และทําเครื่องหมาย ขอความที่ผิด
………...1. ถา A – B = φ แลว A = B
…………2. ถา φ=∪ BA แลว φ=A และ φ=B
…………3. ถา φ=∩ BA แลว φ=A และ φ=B
…………4. ถา CBCA ∪=∪ แลว BA =
…………5. ถา BA ⊂ แลว '' AB ⊂
…………6. ถา 'BA ⊂ แลว UBA =∪
…………7. ถา BA ⊂ แลว )()( CBCA ∩⊂∩
…………8. ถา BA ⊂ แลว BBA =∩
…………9. ถา BA ⊂ แลว φ=− BA
…………10. ถา BA ∩ เปนเซตอนันต แลว A และ B เซตอนันต
…………11. ถา A และ B เปนเซตอนันต แลว BA ∩ เปนเซตอนันต
…………12. ถา BA∪ เปนเซตอนันต แลว A หรือ B เซตอนันต
…………13. ถา A – B เปนเซตอนันต แลว A เปนเซตอนันตและ B เซตจํากัด
…………14. ถา A – B เปนเซตจํากัด แลว A และ B เซตจํากัด
…………15. ถา CA ≠ แลว BCBA ∩≠∩
13. กําหนด U = { +
∈ Ixx };
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
32
A = { 105 <≤ xx }
B = { 62 ≤< xx }
C = { 73 << xx }
(แนะนํา : ใหใชเสนจํานวนชวยในการคิด)
1. BA ∪ =………………….. 21. )''( BA ∩ =………………….
2. CB ∪ =………………….. 22. )'( CBA ∪∪ =………………….
3. CB ∪ =………………….. 23. )(' BAC ∩− =………………….
4. CBA ∪∪ =………………….. 24. BA − =………………….
5. BA ∩ =………………….. 25. CB − =………………….
6. CA ∩ =………………….. 26. )()( CBBA −−− =………………….
7. CB ∩ =………………….. 27. ')'( CBA ∩∪ =………………….
8. CBA ∩∩ =………………….. 28. BA∩' =………………….
9. 'A =………………….. 29. 'CB ∩ =………………….
10. 'B =………………….. 30. )'()'( CBBA ∩∪∩ =……………...
11. 'C =………………….. 31. '' BAC ∩∩ =………………….
12. '' BA∩ =………………….. 32. )'''( BAC ∩∩ =………………….
13. '' CA∩ =………………….. 33. CBA −− )( =………………….
14. '' CB ∩ =………………….. 34. )')(( CBA −− =………………….
15. '' BA∪ =………………….. 35. AB − =………………….
16. '' CB ∪ =………………….. 36. )(' ABC −∩ =………………….
17. '' CA∪ =………………….. 37. AC − =………………….
18. )'( BA∪ =………………….. 38. BAC ∩− )( =………………….
19. )'( CA ∪ =………………….. 39. )()( ABBA −∪− =………………
20. 'BA ∩ =………………….. 40. )()( ABBA −∩− =………………
14. จากแผนภาพขางลาง จงแรเงาสวนที่แทนเซตในแตละขอ
A-B 'BA ∩ '' BA∩
)()( CABA ∩∪∩ )()( CBBA ∩∪− )()( CBBA −−∩
UA BUA BUA B
A BUA BUA B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
33
)()( CABA −∩− ''' CBA ∩∩ )'()'( ACBA ∩−∩
)()()( CACBBA ∩∪∩∪∪ )'( CBA ∪∪ ∪ )( CBA ∩∩
สมบัติของเซต
1. Union of Sets
Idempotent 1. AAA =∪
Commutative 2. ABBA ∪=∪
Associative 3. ( ) ( )CBACBA ∪∪=∪∪
= CBA ∪∪
4. AA =∪φ
5. UAA =∪ '
6. UUA =∪
Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ ')( ABA ∪∪
วิธีทํา: ')( ABA ∪∪ = 'ABA ∪∪
= BAA ∪∪ )'(
= BU ∪
= U
ดังนั้น, ')( ABA ∪∪ = U
Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ
)'()()( EBADCBA ∪∪∪∪∪∪
วิธีทํา: )'()()( EBADCBA ∪∪∪∪∪∪
= EBADCBA ∪∪∪∪∪∪ '
= ∪∪ )'( BB ……..
= ∪U ………
= U
ดังนั้น, )'()()( EBADCBA ∪∪∪∪∪∪ = U
UA BUA B
UA BUA BUA B
U
A B
U
A B
U
A
B
U
B
A
U
A B
A B∪
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
34
2. Intersection of Sets
BA ∩ Idempotent 1. AAA =∩
Commutative 2. ABBA ∩=∩
Associative 3. ( ) ( )CBACBA ∩∩=∩∩
= CBA ∩∩
4. φφ =∩A
5. φ=∩ 'AA
6. AUA =∩
Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ ')( BBA ∩∩
วิธีทํา: ')( BBA ∩∩ = 'BBA ∩∩
= )'( BBA ∩∩
= φ∩A
= φ
ดังนั้น, ')( BBA ∩∩ = φ
Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ
))'()(( DDECBA ∪∪∪∪∩
วิธีทํา: ))'()(( DDECBA ∪∪∪∪∩
= )'( DDECBA ∪∪∪∪∩
= ........)'( ∪∪∩ DDA
= )..........( ∪∩ UA
= UA ∩
= A
ดังนั้น, ))'()(( DDECBA ∪∪∪∪∩ = A
3. De – Morgan’s Laws
U
A B
U
A B
U
A
B
U
B
A
U
A B
'')'( BABA ∩=∪
'')'( BABA ∪=∩
=
U
A B
U
A B
)'( BA∪ '' BA∩
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
35
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( ABA ∪∩
วิธีทํา: )'( ABA ∪∩ = '' ABA ∩∩
= ')'( BAA ∩∩
= 'B∩φ
= φ
ดังนั้น, )'( ABA ∪∩ = φ
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩
วิธีทํา: )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = '')()( EBDCBA ∩∩∩∩∩
= '' EBDCBA ∩∩∩∩∩
= ')'( EADCBB ∩∩∩∩∩
= 'EADC ∩∩∩∩φ
= φ
ดังนั้น, )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = φ
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩
วิธีทํา: ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = ))((' DCBBAA −∪∩∩∩
= ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩
= ))(( DCBB −∪∩∩φ
= φ
ดังนั้น, ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = φ
4. Distributive Laws
For any three sets, A, B, C, we have
( ) ( ) ( )CABACBA ∪∩∪=∩∪
( ) ( ) )( CBACABA ∩∪=∪∩∪
=
=
)'( BA∩ = '' BA∪
U
A B
U
A B
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
36
Or
( ) ( ) ( )CABACBA ∩∪∩=∪∩
( ) ( ) )( CBACABA ∪∩=∩∪∩
Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()( BABA ∪∩∪
วิธีทํา: )'()( BABA ∪∩∪ = )'( BBA ∩∪
= φ∪A
= φ
ดังนั้น, )'()( BABA ∪∩∪ = φ
Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()( BABA ∩∪∩
วิธีทํา: )'()( BABA ∩∪∩ = )'( BBA ∪∩
= UA ∩
= A
ดังนั้น, )'()( BABA ∩∪∩ = A
Example 9: จงทําใหเปนผลสําเร็จ
)'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩
วิธีทํา: )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩
= )]'()''[()]'()''[( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩
= )]'('[)]'''([ CBCBACBCBA ∩∩∩∪∪∩∩∩∪
= )'()( φφ ∪∪∪ AA
= 'AA∪
= U
ดังนั้น, )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = U
บันทึกขอความ....
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
37
5.Difference of two sets
Example 10: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( BBA ∪−
วิธีทํา: )'( BBA ∪− = UA −
= 'UA ∩
= φ∩A
= φ
ดังนั้น, )'( BBA ∪− = φ
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( DBCA ∪−∩
วิธีทํา: )()( DBCA ∪−∩ = )'()( DBCA ∪∩∩
= )''()( DBCA ∩∩∩
= '' DBCA ∩∩∩
= )'()'( DCBA ∩∩∩
= )()( DCBA −∩−
ดังนั้น, )()( DBCA ∪−∩ = )()( DCBA −∩−
A – B B – A
1. A – B ≠ B – A
2. A – A = φ
3. A – A’ = A
4. A’ – A = A’
5. A – U = φ
6. A – φ = A
7. φ – A = φ
8. BA ∩ = 'BA −
9. A – B = B’ – A’
10. A – B = 'BA ∩
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
38
6. Union and intersection of two sets
Example: )( BAA ∩∪ = )()( BAAA ∪∩∪
= )( BAA ∪∩
= A
)( BAA ∩∪ = )( BAA ∪∩
)( BAA ∩∪ = A
)( BAA ∪∩ = A
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ ])[( ABCA ∪∩∩
วิธีทํา: ])[( ABCA ∪∩∩ = )]([ BCAA ∩∪∩
= A
ดังนั้น, ])[( ABCA ∪∩∩ = A
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( CADBBA ∪∪∪∩∪
วิธีทํา: )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = )()( CDBABA ∪∪∪∩∪
= BA ∪
ดังนั้น, )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = BA ∪
Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ CCBA ∪∩∪ ])[(
วิธีทํา: CCBA ∪∩∪ ])[( = )]([ BACC ∪∩∪
= C
ดังนั้น, CCBA ∪∩∪ ])[( = C
ABAABAA =∪∩=∩∪ )()(
1
2
3
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
39
7.Difference, Union and intersection of two sets
Example: จงแสดงวา )()()( CABACBA −∪−=∩−
วิธีทํา: )( CBA ∩− = )'( CBA ∩∩
= )''( CBA ∪∩
= )'()'( CABA ∩∪∩
= )()( CABA −∪−
ดังนั้น, )()()( CABACBA −∪−=∩−
Example: จงแสดงวา )()()( CBCACBA −∪−=−∪
วิธีทํา: CBA −∪ )( = ')( CBA ∩∪
= )'()'( CBCA ∩∪∩
= )()( CBCA −∪−
ดังนั้น, )()()( CBCACBA −∪−=−∪
EXERCISE IX สมบัติของเซต
1. จงทําใหเปนผลสําเร็จ )( ABA −∩
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
2. จงพิสูจนวา )()()()( DCBADBCA −∩−=∪−∩
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
)()()( CABACBA −∪−=∩−
)()()( CABACBA −∩−=∪−
1
)()()( CBCACBA −∪−=−∪
)()()( CBCACBA −∩−=−∩ 2
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
40
3. จงพิสูจนวา )'''()()()( BABAABBA ∩=∩∪−∪−
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
4. จงพิสูจนวา φ=∩∪ BBA )''(
………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
5. จงพิสูจนวา UABA =∪∩ )''(
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
6. จงพิสูจนวา )''( BABA −=∪
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
7. จงพิสูจนวา φ=∪∩∩∩∩ )'()()( EBDCBA
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
8. จงพิสูจนวา UCBCBACBA =∪∪∩∩∪∩∩ )''()()'(
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
The basic concept of SETS THEORY
MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]::
41
9. จงพิสูจนวา )]'([)]'([ BBAABCCA ∪∩∩−∪=∩
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
10. จงพิสูจนวา CCDCBCACDBA =∩∪∩∪∩∪∩∩∩ )()'()'()'(
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
การพิจารณาการเปนสมาชิก สับเซต และเพาเวอรเซตการพิจารณาการเปนสมาชิก สับเซต และเพาเวอรเซต
เราทราบวา;
1. ⊂φ ของทุกเซต
2. เปลี่ยนการเปนสมาชิกเปนสับเซต (∈→⊂)
Aa ∈ → Aa ⊂}{ ; เติม {} และเปลี่ยน∈→⊂
3. เปลี่ยนสับเซตเปนสมาชิก (⊂→∈)
Aa ⊂}{ → Aa ∈ ; Cutting {} and changing ⊂→∈
เทคนิควิธีการ
1. เติม {} และ P; Aa∈ → )(}{ APa ∈
2. ตัด {} และ P; )(}{ APa ∈ → Aa∈
3. เติม P ทั้งสองขาง; BA ⊂ → )()( BPAP ⊂
4. ตัด P ทั้งสองขาง; )()( BPAP ⊂ → BA ⊂
Example: True or False:
1. }7,6,3{}3{ ⊂ → }7,6,3{3∈ True
2. }5,2{}}5,2{{ ⊂ → }5,2{}5,2{ ∈ False
3. }})3,2{,5({}}3,2{{ P∈ → }}3,2{,5{}3,2{ ∈ True
4. }})5,3({{}5,3{ P∈ → }}5,3{{5,3 ∈ False
Example: Let BbAa ∈∈ , ; these following statements; True or False:
1. )(}},{},{{ BAPbaa ∪⊂ → )(},{},{ BAPbaa ∪∈
→ BAbaa ∪∈,,
So, )(}},{},{{ BAPbaa ∪⊂ True
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น
ทฤษฎีเซตเบื่องต้น

More Related Content

What's hot

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนkanjana2536
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Kuntoonbut Wissanu
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
krurutsamee
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกMuntana Pannil
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ทับทิม เจริญตา
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 

What's hot (20)

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนเรื่อง  ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
เรื่อง ทบทวนการบวก ลบ คูณ และหารเศษส่วน
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลกประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
ประวัตินักคณิตศาสตร์ที่สำคัญของโลก
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตkroojaja
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Janova Kknd
 
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลkrupatcharin
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
K'Keng Hale's
 
โครงการจิตอาสา
โครงการจิตอาสาโครงการจิตอาสา
โครงการจิตอาสาKan 'Zied
 
Set
SetSet
Set
krootum
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
Krupom Ppk
 
9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909
CUPress
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )Rose Banioki
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
Release2.2
Release2.2Release2.2

Viewers also liked (20)

หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Set
SetSet
Set
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผลแบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
แบบฝึกหัดสำหรับทบทวนเนื้อหาเซตและการให้เหตุผล
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
โครงการจิตอาสา
โครงการจิตอาสาโครงการจิตอาสา
โครงการจิตอาสา
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
Set
SetSet
Set
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
9789740329909
97897403299099789740329909
9789740329909
 
Venn eu
Venn euVenn eu
Venn eu
 
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
Release2.2
Release2.2Release2.2
Release2.2
 

Similar to ทฤษฎีเซตเบื่องต้น

การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
Aon Narinchoti
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
jirat thipprasert
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
Decha Sirigulwiriya
 
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Atit Patumvan
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
Set
SetSet
Set
krootum
 
Set1
Set1Set1
Set1
Set1Set1
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
Chon Chom
 
Set1
Set1Set1
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)masakonatty
 

Similar to ทฤษฎีเซตเบื่องต้น (20)

ppset
ppsetppset
ppset
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
สไลด์ประกอบการเรียนการสอน เรื่องเซต (Sets) ม.4
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)Chapter 01 mathmatics tools (slide)
Chapter 01 mathmatics tools (slide)
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
Set
SetSet
Set
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Headpon1
Headpon1Headpon1
Headpon1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 

ทฤษฎีเซตเบื่องต้น

  • 1. MODERN MATHEMATICS Complied by … ::[MoDErN_SnC®]::
  • 2. คํานํา เปนที่ทราบกันดีวา หัวใจของการเรียนคณิตศาสตร คือกระบวนการเรียนรูที่เนนกระบวนการ และการทํา แบบฝกหัด แตนักเรียนสวนมากมักมองขามในจุดนี้ไป เห็นการใชสูตรเปนเรื่องสําคัญโดยไมรูที่มาของสูตร ทําใหการ เรียนในขั้นสูงเปนไปดวยความลําบาก กลาวคือ พื้นฐานไมแนน และการที่ไมทําแบบฝกหัดนั้น ทําใหไมเห็นแนวโนม ของโจทยที่มี ทําใหเมื่อพบเจอกับโจทยที่มีความซับซอน ผูเรียนจะเกิดความเบื่อหนายในการทําโจทย สงผลทําใหการ เรียนคณิตศาสตรเปนไปอยางไมไดผล และประสบความลมเหลว ดังปญหาที่พบมากในประเทศไทย เอกสารชุด Modern Mathematics เรื่อง The Basic Concept of SET THEORY เปนเอกสารที่ชวยเสริม การเรียนการสอนในหองเรียน โดยภายในเอกสารประกอบไปดวยเนื้อหาที่ครบถวน ตรงตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พ.ศ. 2544 และยังมีเนื้อหาที่เพิ่มเติมเพื่อใหสามารถตอยอดความรูเพื่อศึกษาในระดับสูงตอไป อีกทั้งยัง ประกอบดวยแบบฝกหัดตามหัวขอตาง ๆ ที่ประกอบกับเนื้อหา แบบฝกหัดระคน และแนวขอสอบในระดับโควตา- เอนทรานซ และระดับโอลิมปกวิชาการ โดยไดรวบรวมเนื้อหาจากแหลงการเรียนรูหลายแหลง อาทิ เอกสาร ประกอบการเรียนที่ไดเรียนมา หนังสือตาง ๆ และจากอินเตอรเนท หรือจากประสบการณที่ไดเรียนมา เพื่อใหเอกสาร ฉบับนี้สมบูรณมากที่สุด ผูรวบรวมและเรียบเรียงหวังวา เอกสารนี้จะใหความรูแกผูศึกษาตามแตศักยภาพของตนเอง หากเอกสาร ฉบับนี้มีขอบกพรองประการใด ก็ขออภัยมา ณ.ที่นี้ดวย ซึ่งสามารถติชม และใหคําแนะนําไดที่อีเมลลของขาพเจา schaidee@hotmail.com จักเปนพระคุณยิ่ง ::[MoDErN_SnC®]:: ศุภณัฐ ชัยดี ผูรวบรวม – เรียบเรียง 21 กันยายน 2548
  • 3. Special Thanks กวาจะมาเปนเอกสารมาได ก็ตองขอขอบคุณบุคคลตอไปนี้ คุณพอ คุณแม ที่เปนกําลังใจใหและสนับสนุนในการซื้อกระดาษ หมึกพิมพ หรือหนังสือตาง ๆ พี่สาวที่แสนดีที่บางครั้งขอใหชวยพิมพใหบาง อ.เสรี กิจสวัสดิ์ไพบูลย ที่เปนตนแบบที่หลอหลอมใหไดใชภาษาคณิตศาสตรอยางถูกตอง และเปน แรงบันดาลใจใหพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร อ.อภิชาติ ลอยเวหา ที่ใหคําปรึกษาในการจัดทําดวยดีเสมอมา อ.ธีรภัทร วิโรจนสกุล ที่อนุญาตใหใชเอกสารที่สอนป 2547 เพื่อนํามาปรับปรุง ,แนะนําการทํา เอกสาร และใหขอเสนอแนะ พี่โนต ที่ตรวจสอบความถูกตองทางคณิตศาสตรและนําไปลงในเว็บไซตเพื่อเผยแผเอกสารนี้ นองเนยสด นองนารุโตะ หรือคนที่รูจักใน MSN ที่เปนหนูทดลองใชเอกสารนี้ เพื่อน ๆ ที่คอยใหกําลังใจตลอด เจาของเอกสารที่ขาพเจาไดนํามาใชเพื่อการศึกษา และคนอื่น ๆ ที่ไมไดกลาวถึง ณ.ที่นี้ ขอขอบคุณครับ
  • 4. สารบัญ เรื่อง หนา 1. มโนคติเบื้องตนเกี่ยวกับเซต 1 1.1 รูปแบบการเขียนเซต 1 1.2 การเปนสมาชิกของเซต 4 1.3 จํานวนสมาชิกของเซต 4 1.4 ความสัมพันธระหวางเซต 7 2. เอกภพสัมพัทธและแผนภาพเวนน - ออยเลอร 9 2.1 เอกภพสัมพัทธ 9 2.2 แผนภาพเวนน - ออยเลอร 9 3. สับเซตและเพาเวอรเซต 15 3.1 สับเซต 15 3.2 เพาเวอรเซต 18 4. การดําเนินการระหวางเซต 19 4.1 ยูเนียน 19 4.2 อินเตอรเซคชัน 21 4.3 คอมพลีเมนต 27 4.4 ผลตางระหวางเซต 27 5. สมบัติของเซต 33 5.1 Union of Sets 33 5.2 Intersection of Sets 34 5.3 De – Morgan Law 34 5.4 Distributive Laws 35 5.5 Difference of two sets 37 5.6 Union and intersection of two sets 38 5.7 Difference, Union and intersection of two sets 39 5.8 การพิจารณาสมาชิก – สับเซต 41 6. การแรเงาเขตพื้นที่ 43 7. เซตกับจํานวนสมาชิก 47 แบบฝกหัดระคนชุดที่ 1 56 แบบฝกหัดระคนชุดที่ 1 63 ขอสอบโอลิมปกคณิตศาสตร เรื่องเซต 70 ขอสอบโควตาและเอนทรานซเรื่องเซต 73 บรรณานุกรม 78
  • 5.
  • 6. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 1 เซ ต ( S e t s ) มโนคติเบื้องตนเกี่ยวกับเซต เซตเริ่มมีที่มามาจากนักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน ชื่อ เกออรก คันทอร (Georg Cantor) เปนผูริเริ่มใชคําวาเซต ตอจากนั้นนักคณิตศาสตรจึงใชคํานี้อยางแพรหลาย ความรูในเรื่องเซต ถือ วาเปนความรูพื้นฐานที่สามารถเชื่อมโยงกับเนื้อหาสาระทางคณิตศาสตรไดหลายเรื่องทีเดียว ในภาษาไทย มีคําที่ใชเรียกกลุมของสิ่งตาง ๆ หลายคํา เราเรียกวา “สมุหนาม” (คํานาม รวมหมู) เชน กลุม ชุด ฝูง พวก แตในทางคณิตศาสตร เราจะใชคําวา เซต เพียงคําเดียวเทานั้น ดังนั้น คําวาเซตในทางคณิตศาสตร จึงหมายถึง กลุมของสิ่งของตาง ๆ และเมื่อกลาวถึง กลุมใดแลวจะสามารถทราบไดแนนอนวาสิ่งใดอยูในกลุม และสิ่งใดอยูนอกกลุม เชน • เซตของวันในหนึ่งสัปดาห หมายถึง กลุมของวันจันทร วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วัน ศุกร วันเสาร และวันอาทิตย • เซตของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก หมายถึง กลุมของรูปสี่เหลี่ยมซึ่งประกอบดวย สี่เหลี่ยม จัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา หมายเหตุ ในทางภาษาอังกฤษ คําวา Set และ Collection มีความหมายที่แตกตางกัน เราเรียกสิ่งที่อยูในเซตวา สมาชิก (Elements / Members) สิ่งตาง ๆ ที่อยูในเซต ตองเปนสิ่งที่สามารถระบุไดอยางแจมชัด (Well-Defined) เพื่อที่เราสามารถระบุ ไดวา สิ่งนั้นเปนสมาชิกในเซตหรือไม QUIZ 1 เปนเซตหรือไม 1. นักเรียนหอง ม.4/2 2. นักเรียนหอง ม.4/2 ที่มีหนาตาดี 3. นักฟุตบอลทีมแมนยูที่เลนฟุตบอลเกง 4. เม็ดทรายในทะเลทรายซาฮารา สรุป การพิจารณาเงื่อนไขวาเปนเซตหรือไม....................................................... …................................................................................................................... 1.1 รูปแบบการเขียนเซต ในการเขียนเซต เราสามารถเขียนเซตไดถึง 3 รูปแบบ คือ • การเขียนเปนขอความ (Statement Form) เปนการเขียนขอความเพื่อแสดงความชัดเจน ตัวอยาง เซตของนักเรียนหอง ม.4/1 เซตของจํานวนเฉพาะที่ไมเกิน 50 เซตของจํานวนเต็มบวกที่คูณกับ 5 แลัวไดไมเกิน 8 Georg Cantor
  • 7. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 2 • การเขียนแจกแจงสมาชิก (Tabular Form / Roaster Method) เปนการเขียนแจกแจงสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายวงเล็บปกกาที่มีลักษณะ { } และใช เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นสมาชิกแตละตัว เชน ตัวอยาง เซตของจํานวนนับที่นอยกวา 5 เขียนแทนดวย {1, 2, 3, 4} โดยทั่วไปจะแทนเซตดวยอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ เชน A, B, C และแทนสมาชิกดวย ตัวพิมพเล็ก เชน a, b, c ตัวอยาง กําหนดให A แทนเซตของพยัญชนะ 3 ตัวแรกในภาษาอังกฤษ A = {a, b, c} อานวา A เปนเซตที่มี a, b และ c เปนสมาชิก กําหนดให B แทนเซตของจํานวนเต็มบวกทีเปนคู B = {2, 4, 6, 8, …} ขอสังเกต เราจะใชจุดสามจุด (…) เพื่อแสดงวามีสมาชิกอื่น ๆ ซึ่งเปนที่เขาใจกันอยูแลววามีอะไรในเซตบาง เชน {1, 2, …, 10} หมายถึง เขาใจวามี 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 เปนสมาชิกของเซตดวย หรือใชแทนเซต อนันต (Infinite Set) ที่บอกวามีจํานวนอีกมากมายไมสิ้นสุด ซึ่งจะกลาวถึงในหัวขอถัดไป • การแจกแจงเงื่อนไข (Set Builder Form/ Rule Method) เปนการใชตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแลวทําการบรรยายสมบัติของสมาชิกที่อยูในรูปตัวแปร เชน A = { x | x เปนพยัญชนะสามตัวแรกในภาษาอังกฤษ} อานวา A เปนเซตซึ่งประกอบไปดวยสมาชิก x โดยที่ x เปนพยัญชนะสามตัวแรกใน ภาษาอังกฤษ เครื่องหมาย “|” แทนคําวา โดยที่ เราสามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงเงื่อนไขใหอยูในรูปแจกแจงสมาชิกไดทุกเซต แตในบาง เซตเราไมสามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงสมาชิกใหอยูในรูปเงื่อนไข EXERCISE I รูปแบบการเขียนเซต ตอนที่ 1จงเขียนเซตในรูปแจกแจงสมาชิก ขอ โจทย แจกแจงสมาชิก 1. เซตของวันใน 1 สัปดาห 2. เซตของเดือนที่ลงทายดวย “ยน” 3. เซตของสระในภาษาอังกฤษ 4. เซตของจํานวนเต็มลบที่มากกวา –20 5. เซตของจํานวนเต็มบวกที่มีคามากกวา 100 6. เซตของจํานวนเต็มบวก 7. เซตของจํานวนเต็มลบ 8. เซตของจํานวนเต็ม 9. เซตของจํานวนนับ 10. เซตของจํานวนจริงที่สอดคลองกับสมการ x2 – 5x = 0 11. เซตของจํานวนเต็มบวกที่สอดคลองกับสมการ x2 – 3x – 10 = 0 12. เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ 2x2 – 5x + 2 = 0
  • 8. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 3 13. A = {x | x ∈ I และ 3 ≤ x ≤ 8 14. B = {x | x ∈ + I และ x ≤ 100 15. C = {x | x เปนจํานวนเฉพาะบวก และ x2 -15x + 44 = 0} 16. D = {x | x ∈ และ 3 หารลงตัว} 17. E = {x | x ∈ ซึ่ง x ≤ 100 และ Ν∈x } 18. F = {x | x ∈ R และ 0 1 2 = − − x x } ตอนที่ 2จงเขียนเซตในรูปแบบบอกเงื่อนไข ขอ โจทย แจกแจงสมาชิก 1. A = { ดาวอังคาร, ดาวพุธ, ดาวพฤหัสบดี, ดาวศุกร, ดาวเสาร, ดาวยูเรนัส, ดาวเนปจูน, ดาวพลูโต,} 2. B = {1, 2, 3, 4, ..., 10} 3. C = {-10, -9, -8, -7, ..., -1} 4. D = {b, c, d, f, ..., z} 5. E = {1, 3, 5, 7, ..., 99} 6. F = {5, 10, 15} 7. G = {4, 9, 25, 49, 121, 169} 8. H = {-2, -5} 9. I = {...,-2, -1, 0, 1, 2 , ... } 10. J = {1, 4, 9, 16, ..., 100} เซตในระบบจํานวนตาง ๆ เซตของจํานวนธรรมชาติ / จํานวนเต็มบวก (Natural Number / Integer) N = I+ = {1, 2, 3, 4, …} เซตของจํานวนเต็มศูนยและเต็มบวก (Whole Number) W = {0, 1, 2, 3, 4, …} เซตของจํานวนเต็มคู (Even Number) E = {2, 4, 6, 8, …} เซตของจํานวนเต็มคี่ (Odd Number) O = {1, 3, 5, 7, …} เซตของจํานวนเต็มทั้งหมด (Integers) Z = I = {…, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, …} เซตของจํานวนตรรกยะ (Rational Numbers) Q = { b a | a and b are integers and b≠0} เซตของจํานวนอตรรกยะ (Irrational Numbers) Q’ = { x| x is a real number that is not rational} เซตของจํานวนจริง R = { x| x can be expressed as a decimal}
  • 9. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 4 1.2 การเปนสมาชิกของเซต กําหนดให A = {1, 2, 3} 1 เปนสมาชิกของ A เขียนแทนไดวา 1 ∈ A (อานวา 1 เปนสมาชิกของ A) 4 ไมเปนสมาชิกของ A เขียนแทนไดวา 4 ∉ A (อานวา 4 ไมเปนสมาชิกของ A) QUIZ 2 มีจํานวนสมาชิกกี่ตัว 1. A = {123} 2. B = {1, 2, 3, 2, 2, 1} 3. C = {1, {1}, {{1,2}}} 4. D = {x | x เปนเซตของพยัญชนะในคําวา MONTFORT} สรุป การพิจารณาจํานวนสมาชิกในเซต มีหลักการดังตอไปนี้ 1. ……………………………………………………………………………………………………… 2. ……………………………………………………………………………………………………… 3. ……………………………………………………………………………………………………… 1.3 จํานวนสมาชิกของเซต จํานวนสมาชิกของเซต (Cardinal Number) เขียนแทนดวย n(A) (เมื่อ A แทนดวยเซตใดๆ) เราสามารถจําแนกประเภทของเซตโดยใชจํานวนสมาชิกได 2 รูปแบบดังนี้ ประเภทที่ 1 เซตที่มีสมาชิกและไมมีสมาชิก - เซตที่มีสมาชิกเพียงตัวเดียว เรียกวา Singleton Set - เซตที่ไมมีสมาชิกอยูเลย เรียกวา เซตวาง (Null Set / Empty Set) เขียนแทนดวยสัญลักษณ ∅ หรือเขียนแทนดวยลักษณะ { } (วงเล็บปกกาที่ไมมีสมาชิกอยู) โดยสัญลักษณดังกลาวนํามาจาก อักษรตัวสุดทายของอักษรเดนมารค นอรเวย ซึ่งอานออกเสียงไดคอนขางยาก ฉะนั้นเมื่อพบ สัญลักษณดังกลาวจะอานวา เซตวาง แทน สังเกตวาจะคลายกับสัญลักษณ φ (ฟาย) ของภาษา กรีก EXERCISE II การเปนสมาชิกและจํานวนสมาชิกของเซต (I) จงบอกสมาชิกของเซต และจํานวนสมาชิกของเซต ( )(An ) ในแตละขอตอไปนี้ No. Set Elements Cardinal number 1. {a, b, c, d, e} 2. {0, 1, 2, 3, 1, 0} 3. {12345} 4. {1, {2, 3, 4, 5, 6}} 5. {{a, b, c}, a, {b, c}} 6. {x│x เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5}
  • 10. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 5 7. { x│ Ix ∈ และ 0376 2 =−+ xx } 8. { x│ ax = เมื่อ Ia ∈ และ 33 ≤≤− a } 9. { x│x เปนรากที่สองของ yเมื่อy=1,2,3,4} 10. { Nx ∈ │ + ∈−= In n x , 1 1 และ 5<n } 11. เซตของจํานวนเต็มลบ ที่นอยกวา - 100 12. เซตของจํานวนเต็มบวกที่เปนเลข 2 หลัก 13. เซตของจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 8 14. เซตของจํานวนเต็มระหวาง 4 กับ 8 15. เซตของจํานวนนับ 16. เซตของจํานวนเต็มตั้งแต 3 ถึง 6 17. เซตของจํานวนเต็ม ที่นอยกวา 5 18. เซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 5 ลงตัว 19. เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ 0232 =+− xx 20. เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ 013 =−x 21. เซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ 023 2 =−− xx 22. เซตของจํานวนเต็มบวกที่สอดคลองกับสมการ xx 22 = 23. เซตของจํานวนคูบวกที่สอดคลองกับอสมการ 353 <x 24. เซตของจํานวนเฉพาะที่นอยกวา 15 25. เซตของจํานวนนับที่สอดคลองกับสมการ 042 =+ xx 26. เซตของพยัญชนะในคําวา “กรรมกร”
  • 11. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 6 ประเภทที่ 2 เซตจํากัดและเซตอนันต - เซตจํากัด (Finite Set) คือ เซตที่มีจํานวนสมาขิกเปนจํานวนเต็มบวกหรือเต็มศูนย - เซตอนันต (Infinite Set) คือ เซตที่ไมใชเซตจํากัด ใชจุดสามจุดเพื่อแทนสมาชิกอื่นที่ยังเขาใจวายัง มีสมาชิกอื่นอยูในเซต ตอบคําถามตอไปนี้พรอมบอกเหตุผล 1. เม็ดขาวในขาวผัดเปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต 2. A = {{}} มีจํานวนสมาชิกหรือไม 3. B = {} มีจํานวนสมาชิกหรือไม 4. เม็ดทรายในทะเลทรายซาฮารา สรุป 1. การพิจารณาเซตจํากัด/เซตอนันต....................................................... ................................................................................................................. 2. การพิจารณาจํานวนสมาชิกของเซตวาง............................................. ................................................................................................................. EXERCISE III จํานวนสมาชิกของเซต (II) ตอนที่ 1จงพิจารณาเซตในแตละขอตอไปนี้วาเปนเซตอนันต หรือเซตจํากัด 1. {1, 2, 3, …, 100} ............................................................. 2. {a, {a}, {{a}}, {{{a}}}, …} ............................................................. 3. {x|x เปนจํานวนเต็มลบ} ............................................................. 4. เซตของจํานวนคูที่มี 7 เปนหลักสิบ ............................................................. 5. เซตของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางรวมกัน ............................................................. 6. เซตของจํานวนที่อยูระหวาง 1 กับ 3 ............................................................. 7. }4,{ <∈ xIxx ............................................................. 8. เซตของจํานวนเต็มที่นําไปหาร 0 ไดลงตัว ............................................................. 9. {x|x เปนตัวประกอบของ 0} ............................................................. 10. {x|x มี 0 เปนตัวประกอบ} ............................................................. ตอนที 2 จงพิจารณาวาเซตในแตละขอตอไปนี้ เปนเซตวาง หรือไมเปนเซตวาง 1. {φ } ............................................................. 2. ]{ xxx ≠ ............................................................. 3. }54,{ <<∈ xNxx ............................................................. 4. }{ 2 xxx = ............................................................. 5. },{ 2 xxxNxx =+∈ ............................................................. 6. }1,{ <∈ + xIxx ............................................................. 7. }01{ 3 =+xx .............................................................
  • 12. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 7 8. ( ) }02,{ 2 =+∈ xNxx ............................................................. 9. {{},{},{}} ............................................................. 10. }5,{ 2 =∈ + xIxx ............................................................. 1.4 ความสัมพันธระหวางเซต - เซตที่เทากัน (Equal Set) คือเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากันและมีสมาชิกเหมือนกัน นิยาม เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ เซตทั้งสองนี้มีสมาชิกเหมือนกัน กลาวคือ เซต A เปนสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B - เซตที่เทียบเทากัน (Equivalent Set) คือเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน อาจเขียนแทนดวย เครื่องหมาย ↔ นิยาม 1. ถา A และ B เปนเซตจํากัด เรียกวา A เทียบเทากับ B เมื่อ n(A) = n(B) 2. ถา A และ B เปนเซตอนันต เรียกวา A เทียบเทากับ B เมื่อสามารถนําสมาชิกทุกตัวของ A และ B มาจับคูกันแบบหนึ่งตอหนึ่งได เซตที่เทากันยอมเปนเซตเทียบเทากัน แตเซตเทียบเทากันอาจไมเปนเซตที่เทากันก็ได ตัวอยาง A = {1, 2, 3}, B = {3, 2, 2, 1} เนื่องจาก A และ B มีจํานวนสมาชิกเทากัน แสดงวาเปนเซตเทียบเทา (A ↔ B) และมีสมาชิกเหมือนกัน (ตรวจสอบลักษณะการเขียนเซต ตามหลักการ เขียนเซตที่วา ไมคํานึงถึงลําดับ และไมคํานึงถึงการเขียนซ้ํา) ดังนั้น A=B C = {1, 2, {3}}, D = {3, 2, 2, 1} เนื่องจาก C และ D มีจํานวนสมาชิกเทากัน แสดงวาเปนเซตเทียบเทา (C ↔ D) แตสมาชิกไมเหมือนกัน ดังนั้น A ≠ B EXERCISE IV ความสัมพันธระหวางเซต ตอนที่ 1 ใหเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ผิด ………1. a = {a} ………2. a }{a↔ ………3. {1, 2} = {12} ………4. ถา A = B แลว BA ↔ ………5. ถา BA ↔ แลว A = B ………6. If A =B and B = C, then A =C. ……….7. If BA ≠ and CB ≠ , then CA ≠ ……….8. }85{}85{ <<∈=<<∈ xIxxNx ……….9. }33{}33{ <<−∈=<<−∈ xIxxNx ……….10. }33{}33{ <<−∈↔<<−∈ xIxxNx
  • 13. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 8 ตอนที่ 2 จงพิจารณาความสัมพันธของเซตในขอตอไปนี้ วาคูใดเปนเซตที่เทากัน หรือเปนเซตที่เทียบเทา หรือ ไมเทากันและเทียบเทาเลย 1. A = {0, 1, 2, 3, …, 9}; B = { 10<∈ xIx } …………………………… 2. C = {10, 20, 30, 40}; D = {30, 40, 10, 20, 30, 10} …………………… 3. E = {1}; F = {{1}} ……………………………………… 4. G = {5}; H = { 25, 2 =∈ xIxx }………………………………………. 5. I = }0{ 2 =− xxx ; J = }01{ =−xx ……………………………………….. 6. K = }5,, 1 1{ <∈+= + yIy y xx ; L = }5,, 1 1{ <∈+= yNy y xx …………………………………………………………………………. 7. M = }10,{ ≤∈ xIxx ; N = {…, -3, -2, -1, 0, 1, 2, 3, …} ………………………………………………………………………… 8. O = }50, 1 { ≤≤= n n xx ; P = }51, 1 { ≤≤= n n xx ……………………………………………………………………… 9. Q = {0}; R = φ ………………………………………………. 10. S = {{{φ }}}; T = {φ } ……………………………………………. 11. U = {12345}; V = {1, 2, 3, 4, 5} …………………………………. 12. W = {33, 44, 55}; X = {3, 4, 5} …………………………………. ตอนที่ 3 จงจับคูระหวางเซตในกลุมที่ 1 และกลุมที่ 2 ที่เทากัน 1. }4,{ 2 =∈ xIxx A {1} 2. }4,{ =∈ xIxx B {2} 3. }4,{ −=∈ xIxx C {-2} 4. }05,{ 2 =+∈ xRxx D {-2, 2} 5. }0233,{ 2 =+−∈ xxIxx E {1, 2, 3} 6. {x|x N∈ , 403 2 <x } F {} ตอนที่ 4 ใหเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย หนาขอที่ผิด ……….1. 1 }1{≠ ……….2. {1} = }1{ 2 =xx ……….3. {1} = {1, 1, 1, 11} ……….4. 2 }}2{{∈ ……….5. φ=−>∈ }1{ 2 xIx ……….6. }1{ 2 −>∈ xIx is finite set. กลุมที่ 1 กลุมที่ 2
  • 14. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 9 ……….7. }98{ <<∈ xIx is a null set. ……….8. }50{ −>∈ − xIx is an infinite set. ……….9. }1 2 1 { << xx is an infinite set. ……….10. }1 2 1 { <<∈ xQx is an infinite set. ……….11. }98{ <<∈ xIx is a finite set. ………..12. A = {}, then n(A) = 0. เอกภพสัมพัทธและแผนภาพเวนน-ออยเลอร 2.1 เอกภพสัมพัทธ เอกภพสัมพัทธ (Relatively Universe) คือเซตที่กําหนดขึ้น โดยมีขอตกลงวา ตอไปจะกลาวถึงสมาชิก ของเซตนี้เทานั้น จะไมมีการกลาวถึงสิ่งใดที่ไมเปนสมาชิกของเซตนี้ นิยมใชสัญลักษณ U แทนสัญลักษณเอกภพ สัมพัทธ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยสวนมากจะกําหนดเอกภพสัมพัทธไวที่ระบบจํานวนจริงเสมอ 2.2 แผนภาพเวนน- ออยเลอร เพื่อใหการศึกษาเกี่ยวกับเซตงายและเขาใจขึ้น จึงมีการใชแผนภาพแทนเซตที่เรียกวา แผนภาพของ เวนน-ออยเลอร (Venn-Euler) ซึ่ง John Venn นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษเปนผูเสนอไว โดยสืบทอดแนวคิดมา จาก Leonhatd Euler นักคณิตศาสตรชาวสวิส มักเรียกสั้น ๆ แผนภาพเวนน เราจะแทนเอกภพสัมพัทธดวยสี่เหลี่ยมมุมฉาก และแทนเซตอื่น ๆ ดวยวงกลมหรือรูปเรขาคณิตอื่นๆ สมาชิกของเอกภพสัมพันธอยูภายในรูปสี่เหลี่ยม และสมาชิกของ A อยูภายในวงกลม กรณีที่กลาวถึง เซตที่มากกวา 1 เซต มักจะเขียนในลักษณะดังรูป U A B U A
  • 15. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 10 รูปแบบความสัมพันธระหวางเซตเมื่อเขียนลงบนแผนภาพเวนน-ออยเลอร เซตที่ไมมีสมาชิกรวมกันเลย (disjoint sets) เซตที่มีสมาชิกรวมกัน ( intersecting sets) ความสัมพันธที่ A ทั้งหมดเปนสมาชิกใน B และ B ทั้งหมดเปนสมาชิกใน A เมื่อกําหนดเอกภพสัมพัทธ EXERCISE V เอกภพสัมพัทธ ตอนที่ 1 จงเขียนแจกแจงสมาชิก 1. A = }43{ << xx , U = N . ……………………………………….. 2. A = {x|x<3}, U = N ……………………………………….. 3. A = {x|-3<x<2}, U = N ……………………………………….. 4. A = {x|-3<x<2}, U = I ………………………………………. 5. A = {x|x 5−≥ }, U = N ………………………………………. 6. A = {x| 33 ≤≤− x }, U = I ………………………………………. 7. A = {x| 33 ≤≤− x }, U = + I ……………………………………….. 8. A = {x| 33 ≤≤− x }, U = − I ………………………………………. A B A B สมาชิกใน A ที่ไมมีใน B สมาชิกใน B ที่ไมมีใน A สมาชิกรวมกัน 2 เซต B A A B A B U
  • 16. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 11 ตอนที่ 2 จงเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร กําหนดให U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10} 1. A = {1, 3, 5, 7, 9} B = {2, 4, 6, 8, 10} 2. A = {1, 2, 3, 4, 5, 6} B = {4, 5, 6, 7, 8} 3. A = {4, 6, 9} B = {3, 4, 6, 7, 8, 9} 4. A = {1, 2, 3, 4, 5} B = {1, 2, 3} 5. A = {7, 8, 9} B = {7, 8, 9, 10} 6. A = {1, 2, 3, 4} B = {4, 5, 6, 7} C = {10} 7. A = {3, 5, 7, 9} B = {2, 4, 6, 8} C = {6, 8, 10} U U U U U U U
  • 17. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 12 8. A = {2, 4, 5, 6, 7} B = {3, 7, 9, 10} C = {7, 8} 9. A = {1, 2, 3} B = {1, 2, 3, 4, 5, 6} C = {5, 6, 7, 8} 10. A = {3, 5, 7} B = {1, 3, 5, 6, 7} C = {7, 8, 9} ตอนที่ 3 จงแรเงาลงในพื้นที่ใหถูกตอง 1. Where does a poodle go? 2. Where does 8 go? 3. Where does program go? 4. Where does 32 += xy go? U U U Dogs Cats U Integer Perfect Cube U Natural number Hardware Software U People ware Line Equation U Circle
  • 18. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 13 5. Where does 13 go? 6. Where does g go? 7. Where does 121 go? 8. Where does 7 1 go? 9. Where does 1 day go? 10. Where does π (Pi) go? 11. Where does one quarter go? 12. Where does Mr. Taksin go? Prime number Even number U Whole number Letter Musical note U Computer language Perfect Square Even number U Palindrome Fraction Repeat Decimal U Integer 3600 seconds. 9600 minutes. U 24 hours Variable Constant U Algebra 25%. 12 3 U 15 minutes Father Prime Minister. U Aunt
  • 19. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 14 ตอนที่ 4 จงเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร 1. AB ⊂ 2. CBA ⊂⊂ 3. A, B และ C มีสมาชิกรวมกันบางตัว 4. BAABBA =⊂⊂ ,, 5. สมาชิกบางตัวของเซต B เปนสมาชกของเซต A และC 6. CABA ⊄⊂ , 7. TSTR ⊂⊂ , แต Rและ S ไมมีสมาชิกรวมกันเลย และมีสมาชิกบางตัวของT ไมอยูใน R และ S 8. BCBA ⊂⊂ , 9. A = Natural numbers B = Even numbers C = Odd numbers U U U U U U U U U
  • 20. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 15 10. A = Integer B = Whole numbers C = Counting numbers D = Zero E = Positive integers สับเซตและเพาเวอรเซต 3.1 สับเซต (Subset) นิยาม เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B A เปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊂ B A ไมเปนสับเซตของเซต B เขียนแทนดวย A ⊄ B ตัวอยาง 1 ถา A = { 1 } , B = { 0 , 1 , 2 } , C = { 3 , 4 , 5 , 6 } และ D = {0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 } จะได A ⊂ B , B ⊂ D และ A ⊂ D แต A ⊄ C , B ⊄ C และ C ⊄ D ตัวอยาง 2 กําหนดให A = { 1 , 2 , 3 } จงหาสับเซตทั้งหมด จะไดสับเซตทั้งหมดของ A คือ { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ ถา A ⊂ B และ A ≠ B เชน A = { 1 } , B = { 1 , 2 } จะเรียก A วาเปนสับเซตแทของ เซต B ถา A ⊂ B และ A = B เชน A = { a , b } , B = { a , b } จะเรียก A วาเปนสับเซตไมแทของ เซต B ตัวอยาง 3 กําหนดให A = {1, 2} B = {2, 3} C = {1, 2, 3} D = {1, 2, 3, 4} สรุปไดวา A ⊄ B, A ⊂ C, A ⊂ D B ⊄ A, B ⊂ C, B ⊂ D C ⊄ A, C ⊄ B, C ⊂ D D ⊄ A, D ⊄ B, D ⊄ C จากตัวอยาง 2 พบวามี n(A) = 3, จากการสังเกตพบวา มีจํานวนสับเซต 8 เซต ดังนั้นอาจสรุปไดดังตาราง เซต จํานวนสมาชิก จํานวนสับเซต {} 0 1 = ( 0 2 ) {1} 1 2 = ( 1 2 ) {1, 2} 2 4 = ( 2 2 ) {1, 2, 3} 3 8 = (23 ) {1, 2, 3, 4} 4 16 = ( 4 2 ) {1, 2, 3, 4, 5} 5 32 = ( 5 2 ) {1, 2, 3, …, n} n 2n U
  • 21. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 16 ขอตกลงเกี่ยวกับสับเซต • เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว A ⊂ A • เซตวางเปนสับเซตของเซตทุกเซต นั่นคือ ถา A เปนเซตใด ๆ แลว φ ⊂ A เราทราบจํานวนสับเซตทั้งหมด วา เซตใดๆ มีจํานวนสับเซตเปน 2n จากความรูเรื่องสับเซตแท เรา พบวา เซตตัวมันเอง จะไมเปนสับเซตแท ดังนั้น เราสามารถหาจํานวนสับเซตแทไดโดยอาศัยสูตร 2n - 1 เรื่องการหาจํานวนสมาชิกของซับเซต จะไดเรียนอีกครั้งหนึ่งในเรื่องคอมบินาทอริกในระดับสูงตอไป สรุปสมบัติของสับเซต เมื่อให A, B และ C เปนเซตใดๆ ที่ไมใชเซตวาง จะไดวา 1. เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง เชน .,, CCBBAA ⊂⊂⊂ 2. เซตวางเปนสับเซตของทุก ๆ เซต เชน ., BA ⊂⊂ φφ 3. ถา φ⊂A แลว φ=A 4. ถา BA ⊂ และ CB ⊂ แลว CA ⊂ . 5. ถา BA = แลว BA ⊂ และ AB ⊂ . 6. ถา BA ⊂ และ AB ⊂ แลว BA = . 7. ถา A มีจํานวนสมาชิกเทากับ n แลว จะมีสับเซตจํานวน n 2 EXERCISE VI สับเซต 1. จงหาสับเซตทั้งหมด ของเซตที่กําหนดให 1. A = φ ………………………………………………………………. 2. B = {a} ………………………………………………………………. 3. C = {a, b} ………………………………………………………………. 4. D = {x, y, z} ……………………………………………………………… ………………………………………………………………. 5. E = {{1, 2}} ………………………………………………………………. 6. F = { }{, φφ } ……………………………………………………………… 7. G = { }}{,{, φφφ } ………………………………………………………………. 8. H = {{a}, {b}, {a, b}} ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 9. I = {0, {0},{φ }} ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 10. J = {0, {0}, }{, φφ } …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….
  • 22. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 17 2. จงพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด กําหนดให A = {0,φ } (ตอบขอ 1 – 10 ) ………1. A∈0 ……….6. A∈}0{ ………2. A⊂0 ……….7. A∈}{φ ………3. A∈φ ……….8. A⊂}0{ ………4. A⊂φ ……….9. A∈},0{ φ ………5. A⊂}{φ ……….10. A⊂}0,{φ กําหนดให B = {m, b, p} (ตอบขอ 11 – 20 ) ………11. Bm ∈ ……….20. B∈φ ………12. Bnm ⊂},{ ………21. }{φφ ⊂ ………13. Bpnm ⊂},,{ ………22. }{φφ ∈ ………14. }{m⊂φ ………23. 0=φ ………15. }{}{ Bp ⊂ ………24. }0{=φ ……….16. Bn ⊂}{ ………25. }{φφ = ……….17. Bm ⊂ ………26. }}{,{}{ φφφ = ……….18. Bpm ∈},{ ………27. }}{,{ φφφ ∈ ……….19. Bpnm ⊂}},,{{ ………28. }}{,{ φφφ ⊂ ………29. ถา A เปนสับเซตของ B แลว A เปนสับเซตแทของ B ………30. A เปนเซตใด ๆ A จะมีสับเซตแทเสมอ ………31. If BA∈ and CB ∉ , then CA∉ . ………32. If BA∈ , then BA ⊂ . ………33. If BA ⊄ and CB ⊄ ,then CA ⊄ 3. กําหนด A ={a, b, c}; B = {b, c, d} จงหา 1. เซตที่เปนสับเซตของ A และเปนสับเซตของ B ............................................................................................................................................. 2. เซตที่เปนสับเซต ของ A และไมเปนสับเซตของ B ............................................................................................................................................. 3. เซตที่เปนสับเซตของ B และไมเปนสับเซตของ A ............................................................................................................................................. 4. กําหนด A = {a, b} และ B = {a, b, c, d, e} ถา BxA ⊂⊂ จงเขียนเซตของ X มาทั้งหมด ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................
  • 23. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 18 3.2 เพาเวอรเซต ( power set ) คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เมื่อ A เปนเซตจํากัด เพาเวอรเซตของเซต A เขียนแทนดวย P(A) ตัวอยาง ถา A = { a , b , c } เซตของสับเซตทั้งหมดของ A หรือ เพาเวอรเซตของ A คือ P(A) = { { a } , { b } , { c } , { a , b } , { a , c } , { b , c } , { a , b , c } , φ } ตัวอยาง ถา A = { 6 , 9 , {1} , {{2}} } จงหา P(A) P(A) = { {6} , {9} , {{1}} , {{{2}}} , {6,9} , {6,{1}} , {6,{{2}}} , {9,{1}} , {9,{{2}}} , {{1},{{2}}} , {6,9,{1}} , {6,9,{{2}}} , {6,{1},{{2}}} , {9,{1},{{2}}} , {6,9,{1},{{2}}} , φ } ถา A เปนเซตจํากัดที่มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n ตัว หนังสือบางเลมใช 2A แทน P(A) สมบัติของเพาเวอรเซตที่ควรทราบ กําหนดให A และ B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U 1. φ ∈ P(A) 2. A ∈ P(A) 3. ถา A เปนเซตจํากัด และมีสมาชิก n ตัว แลว P(A) จะเปน เซตจํากัดที่มีสมาชิก 2n ตัว 4. ถา A เปนเซตอนันต แลว P(A) จะเปนเซตอนันต 5. ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B) 6. ถา P(A) ⊂ P(B) แลว A ⊂ B 7. P(A ∩ B) = P(A) ∩ P(B) 8. P(A) ∪ P(B) ⊂ P(A ∪ B) EXERCISE VI เพาเวอรเซต 1. จงทําเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกและเครื่องหมาย หนาขอความที่ผิด ………1. )(AP∈φ ………2. )(AP⊂φ ………3. )(APA∈ ………4. )(APA ⊂ ………5. มีเซต A ที่ทําให φ=)(AP ………6. มีเซต A ที่ทําใหจํานวนสมาชิกของเซต P(A) = 26 ………7. มีเซต A ที่ทําให P(A)มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนคี่ตัว ………8.มีเซต Aและ เซตB ที่ทําให BA∈ และ BA ⊂
  • 24. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 19 2. จงหาเพาเวอรเซตของเซตตอไปนี้ 1. A = {9} …………………………………………………………... 2. B = {{a, b}, c} ………………………………………………………….. 3. C = φ ………………………………………………………….. 4. P(φ ) ………………………………………………………….. 5. P(P(φ )) ………………………………………………………….. 6. P({1, 2, {φ }}) ………………………………………………………….. …………………………………………………………... 3. ถาเซต A มีจํานวนสมาชิก 10 ตัว แลว P(A) มีจํานวนสมาชิกกี่ตัว …………………………………………………………………………………... 4. ถาสับเซตแทของ P(A) มี 255 สับเซต แลวจงหาจํานวนสมาชิกของ A ………………………………………………………………………………… การดําเนินการระหวางเซต 4.1 ยูเนียน ( Union ) นิยาม ยูเนียนของเซต A และ เซต B คือ เซตใหมที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือของทั้งสองเซต ยูเนียนของ เซต A และเซต B เขียนแทนดวย A ∪ B เขียนในรูปแจกแจงสมาชิกไดดังนี้ A ∪ B = { x | x ∈ A หรือ x ∈ B หรือเปนสมาชิกของทั้งสองเซต } ตัวอยาง ถา A = { 1 , 2 , 3 , 4 } และ B = { 5 , 6 , 7 , 8 } จะได A ∪ B = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 } ตัวอยาง ถา C = { 1 , 2 , 3 } และ D = { } C ∪ D = { 1 , 2 , 3 } Example Let A = {x|x N∈ , x is divisible by 2} and B = {x|x N∈ , x is divisible by 3}, Find BA∪ ; Solution: Given A = {2, 4, 6, 8, 10, 12, …} and; B = {3, 6, 9, 12, 15, 18, …} ∴ BA ∪ = {2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 12, …}. = {x|x N∈ , x is divisible by 2 or 3} Example Let A ={0, 2, 4, 6}, B = {1, 2, 3, 4, 5} and C = {2, 4, 6, 8}. Verify that )()( CBACBA ∪∪=∪∪ ; Solution: We have BA∪ = {0, 2, 4, 6 }∪ {1, 2, 3, 4, 5} = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6} ∴ CBA ∪∪ )( = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6}∪ {2, 4, 6, 8} = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
  • 25. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 20 Again, CB ∪ = {1, 2, 3, 4, 5}∪ {2, 4, 6, 8} = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8} ∴ )( CBA ∪∪ = {0, 2, 4, 6}∪ {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8} = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8} Hence, )()( CBACBA ∪∪=∪∪ จากตัวอยางขางตน จึงสรุปออกมาเปนทฤษฎีบทเกี่ยวกับการยูเนียนไดดังนี้ ทฤษฎีบทเกี่ยวกับยูเนียนของเซต กําหนด A , B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U 1. A ∪ A = A 2. A ∪ B = B ∪ A 3. (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C) 4. A ∪ φ = A = φ ∪ A 5. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ A ∪ B = B 6. A ⊂ (A ∪ B) และ B ⊂ (A ∪ B) 7. ถา A ⊂ B แลว A ⊂ (B ∪ C) 8. ถา A ⊂ C และ B ⊂ C แลว (A ∪ B) ⊂ C การเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรกับการยูเนียนของเซต แบงได 5 กรณี ดังนี้ Case 1: Disjoint Sets. ABBA ∪=∪ Case 2: Equal Sets; BA = Then, ABA =∪ BBA =∪ Case 3: Subsets; BA ⊂ Then, BBA =∪ U A B U A B U A B
  • 26. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 21 Case 4: Subsets; AB ⊂ Then, ABA =∪ Case 5: OverlappingSets ABBA ∪=∪ 4.2 อินเตอรเซ็กชัน ( Intersection ) นิยาม อินเตอรเซ็กชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบดวยสมาชิก ซึ่งเปนสมาชิกของทั้งเซต A และ เซต B อินเตอรเซ็กชันของ เซต A และเซต B เขียนแทนดวย A ∩ B เขียนในรูปแจกแจงสมาชิกไดดังนี้ A ∩ B = { x | x ∈ A และ x ∈ B } ตัวอยาง ถา A = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 } และ B = { 5 , 6 , 7 , 8 , 9 ,10 } จะได A ∩ B = { 5 , 6 , 7 } ตัวอยาง ถา C = { 1 , 2 , 3 } และ D = { } C ∩ D = { } = φ Example Let A ={2, 3, 5, 7, 9, 11, 13} and B = {5, 9, 13, 17, 21}. Find BA∩ ; Solution: BA∩ = {2, 3, 5, 7, 9, 11, 13}∩ {5, 9, 13, 17, 21}. Set of elements which are common to both of the given sets ∴ BA∩ = {5, 9, 13}. Example Let A = {x|x is a prime number less than 5} B = {x|x is a countingnumbergreaterthan5} Then =∩ BA {} or =∩ BA φ Note: Two sets A and B for which BA∩ is a null set are called disjoint sets. If =∩ BA φ , then two sets A and B are disjoint. Example Let C = {5, 7, 9, 11} and; D = {9, 11, 13} C and D are intersecting sets, Since φ≠∩ DC = {9, 11} Note: Two sets A and B for which BA ∩ is not a null set are called joint sets or intersecting sets or overlapping sets.. If ≠∩ BA φ , then two sets A and B are joint sets. U B A U A B
  • 27. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 22 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับอินเตอรเซ็กชัน กําหนด A , B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U 1. A ∩ A = A 2. A ∩ B = B ∩ A 3. (A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C) 4. A ∩ φ = φ = φ ∩ A 5. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ A ∩ B = A 6. (A ∩ B) ⊂ A และ (A ∩ B) ⊂ B 7. ถา A ⊂ B และ A ⊂ C แลว A ⊂ (B ∩ C) 8. ถา A ⊂ C และ B ⊂ C แลว (A ∩ B) ⊂ C การเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรกับการอินเตอรเซกชันของเซต แบงได 5 กรณี ดังนี้ Case 1: Disjoint Sets. φ=∩ BA φ=∩ AB Case 2: Equal Sets; BA = Then, BABA ==∩ Case 3: Subsets; BA ⊂ Then, BBA =∪ Case 4: Subsets; AB ⊂ Then, ABA =∪ U A B U A B U B A U A B
  • 28. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 23 Case 5: OverlappingSets ABBA ∪=∪ EXERCISE VII ยูเนียนและอินเตอรเซกชัน ของเซต 1. กําหนด A ={1, 3, 5, 7}; B = {2, 7, 3, 8}; และ C = {0, 1, 2, 4, 8}. จงหา; 1. BA ∪ ………………………… 4. BA ∩ ………………………… 2. CB ∪ ………………………… 5. CB ∩ ………………………… 3. CA ∪ ………………………… 6. CA ∩ ………………………… 7. ( ) CBA ∩∪ ………………………………………………………………… 8. ( ) CBA ∪∩ ………………………………………………………………… 9. ( ) CBA ∩∩ ………………………………………….……………………… 10. ( ) CBA ∪∪ …………………………………………….…………………… 2. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}. จงหา; 1. φ∪A …………………………… 2. φ∩A …….………………………… 3. กําหนดให A = {x|x เปนจํานวนนับ} A = {……………………………} B = {x|x เปนจํานวนเต็มคู} B = {……………………………} C = {x|x เปนจํานวนเต็มคี่} C = {……………………………} D = {x|x เปนจํานวนเฉพาะ}, D = {……………………………} จงหา... 1. BA ∪ ………………………… 4. CB ∩ ………………………… 2. DC ∪ ………………………… 5. CA ∩ ………………………… 3. DB ∩ ………………………… 6. DC ∩ ………………………… 7. ( ) CBA ∪∪ ………………………………………………………….. 4. ถา A = {1, 4, 5, 8}; B = {2, 5, 7}และ C = {7, 2, 1, 9}, จงแสดงวา )()( CBACBA ∪∪=∪∪ ; ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… U A B
  • 29. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 24 5. ถา A = {1, 2, 3, 4}; B = {2, 4, 5, 6} และ C = {1, 3, 4, 6, 8} จงแสดงวา )()( CBACBA ∩∩=∩∩ ; ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… 6. ถา A = {a, b, c, d, e}; B = {a, c, e, g} และC = {b, e, f, g}, 6.1 จงแสดงวา; )()( CBACBA ∩∩=∩∩ ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… 6.2 จงแสดงวา; )()( CBACBA ∪∪=∪∪ ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… 7. กําหนดให A ={2, 5, 7}; B = {0, 1, 2, 3, 7}; และ C = {0, 3, 4, 6}. จงหา )( CBA ∪∩ ; ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. 8. กําหนดให A ={1, 9, 11, 15, 17}; B = {11, 17, 19, 21}; และ C = {3, 5, 7}. จงหา ( ) CBA ∪∩ ; ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. 9. เมื่อกําหนดเซตสองเซต จงหาเซตตอไปนี้ No. Two of sets BA ∩ BA ∪ 1. A = {7, 8, 10}; B = {2, 8, 16} 2. A = {e, h, i, l}; B = {a, b, c, e, i} 3. A = {2, 3, 5}; B = {5, 3, 2, 2} 4. A = {4, 5, 6, 9}; B = {10, 11, 12, 13} 5. A ={1, 3, 5, 7}; B = {1, 3, 5, …}
  • 30. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 25 10. ถา A = {x|x เปนพหุคูณของ 5, 200 ≤< x } B = {1, 3, 7, 10, 12, 15, 18, 25};จงหา; 1. BA ∪ ............................................................................................ ………………………………………………………………….. 2. BA ∩ ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. 11. If A = {x|x เปนพหุคูณของ 3, 121 ≤≤ x } B = {x|x เปนจํานวนเต็มคู, 121 ≤≤ x } C = {x|x เปนจํานวนเต็มคี่, 121 ≤≤ x }; จงหา; 1. BA ∩ ............................................................................................ 2. CA ∩ ………………………………………………………………….. 3. ( ) CBA ∩∪ …………………………………………………………………. ………………………………………………………………….. 12. ถา A = {x|x 4,,3 ≤∈= yNyy } B = {x|x 8,,8 ≤∈= yNyy }; จงหา; 1. BA ∪ ............................................................................................ ………………………………………………………………….. 2. BA ∩ ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. 13. ถา A = {a, b, c, e}; B = {c, d, e, f} และ C = {d, e, g}; จงหา; 1. n( BA ∪ ) ………………………………………………………………….. 2. n( BA ∩ ) ………………………………………………………………….. 3. n( BA ∪ C∪ ) …………………………………………………………………. 4. )( CBn ∩ ………………………………………………………….. 14. Write two sets X and Y such that: 3)(,4)( == YnXn and 7)( =∪YXn ………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………. 15. Write two sets M and N such that: 2)(,3)( == NnMn and 1)( =∩YXn ………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………….
  • 31. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 26 16. If A ={2, 4, 6, 8} and B = {1, 3, 5, 7}; Verify that )()()( BnAnBAn +=∪ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 17. Verify: )()()()( BAnBnAnBAn ∩−+=∪ for each pair of sets: 1. A ={1, 2, 3, 4, 5}; B ={2, 4, 6} …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 2. A ={1, 4, 9, 16, 25}; B = {1, 8, 27, 64} …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 3. A = {1, 2, 4, 8, 16, 32}; B = {4, 8, 16, 32, 64} …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 18. If A = {x|x 10, ≤∈ xN } and B = {x|x ,15, ≤∈ xN x is multiple of 5}, Verify that )()()()( BAnBnAnBAn ∩−+=∪ . …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………
  • 32. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 27 4.3 คอมพลีเมนต ( Complement ) นิยาม คอมพลีเมนตของเซต A ซึ่งเปนสับเซตของ เอกภพสัมพัทธ U คือ เซตใหมที่ประกอบดวยสมาชิก ซึ่ง เปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของ A คอมพลีเมนตของเซต A เมื่อเทียบกับ U เขียนแทนดวย A′ ( อานวา เอไพรม ) เขียนในรูปแจกแจงสมาชิกไดดังนี้ A′ = { x | x ∈ U และ x ∉ A } ตัวอยาง ถา U = { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } และ A = { 0 , 2 , 3 } จะได A′ = { 1 , 4 , 5 , 6 } ตัวอยาง ถา U = { 0 , 1 , 2 , 3 , … } และ C = { x | x เปนจํานวนคี่ } จะได C′ = { x | x เปนจํานวนคู } ทฤษฎีบทเกี่ยวกับคอมพลีเมนตของเซต กําหนด A , B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U 1. (A′)′ = A 2. U′ = φ 3. φ′= U 4. A ∩ A′ = φ 5. A ∪ A′ = U 6. A ∩ B′ = φ ก็ตอเมื่อ A ⊂ B′ 7. A ⊂ B ก็ตอเมื่อ B′ ⊂ A′ 8. (A ∩ B)′ = A′ ∪ B′ 9. (A ∪ B)′ = A′ ∩B′ 4.4 ผลตางระหวางเซต ( Difference ) นิยาม ผลตางระหวางเซต A และเซต B คือ เซตใหมที่ประกอบดวยสมาชิกของเซต A ซึ่งไมเปนสมาชิกของ เซต B ผลตางระหวางเซต A และเซต B เขียนแทนดวย A − B เขียน A − B แบบบอกเงื่อนไขไดดังนี้ A − B = { x | x ∈ A และ x ∉ B } ตัวอยาง ถา A = { 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 } และ B = {4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 } จะได A − B = { 0 , 1 , 2 , 3 } B − A = { 8 , 9 }
  • 33. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 28 ทฤษฎีบทเกี่ยวกับผลตาง กําหนด A , B เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U U = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 } A = { 2 , 5 } B = { 2 , 3 , 5 , 6 } 1. A − B = ………………………………………………………. 2. B′ = ………………………………………………………. 3. A ∩ B′ = ………………………………………………………. 4. A − B …………. A ∩ B′ ( = , ≠ ) 5. A ∩ B = ………………………………………………………. 6. A − (A ∩ B) = ………………………………………………………. 7. A − B ………… A ∩ B ( = , ≠ ) การเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรกับผลตางของเซต แบงได 5 กรณี ดังนี้ Case 1: Disjoint Sets. Case 2: Equal Sets; Case 3: Subsets; BA ⊂ Case 4: Subsets; AB ⊂ สรุป A − B = A ∩ B′ A − B = A − (A ∩ B) U A B U A B A – B = A B – A = B U A B A = B A – B = φ B – A =φ U A B A – B = φ B – A = {x| Bx ∈ and Ax ∉ } U B A U B A A – B = {x| Ax ∈ and Bx ∉ } B – A = φ U A B U A B
  • 34. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 29 U A B Case 5: Overlapping Sets EXERCISE VIII ผลตางและสวนนอกของเซต 1. Let U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}; A = {1, 2, 3}; B = {2, 3, 4, 5}; C = {2, 3, 4, 5, 6}; D = φ Write down each of the following sets by roster method: 1. A’ …………………… 3. C’ ……………...……… 2. B’ …………………… 4. D’ ……………………… 5. )'( BA∩ …………………………................... 6. )'( DC ∪ ……………………………………… 7. '' BA∩ ………………………………………. 2. If U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}; A = {1, 3, 5, 7}; B = {2, 4, 6, 8, 10}; C = {9}, then Write the following sets by roster method: 1. CA ∪ ………………….…………………………… 2. BA∩ …………………………………….………… 3. CU ∪ ………………………………………………. 4. A’ ……………………………………………….. 5. B’ ……………………………………………….. 6. CB ∪ ………………………………………………. 7. CBA ∪∩ )( ……………………………………………. 3. Write true or false: ………..1. U='φ …………3. '')'( BABA ∪=∩ ………..2. φ=∩ 'AA …………4. UAA =∪' 4. Are the two sets A and B overlapping? A = {x|x is a natural number, less than 5}; B = {x|x is an odd number, less than 5}; ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….. U A B A – B = {x| Ax ∈ and Bx ∉ } B – A = {x| Bx ∈ and Ax ∉ }
  • 35. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 30 5. Can two infinite sets be disjoint? If yes, write such two sets. ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… 6. Given U = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10}; A = {3, 6, 9}; B = {2, 4, 6, 8, 10}. Find; No. Statement Result No. Statement Result BA ∪ BA −1. BA∩ 5. 'BA∩ 'A '' BA −2. 'B 6. BA∩' 'AA∪ 'BB ∪3. 'AA ∩ 7. 'BB ∩ )'( BA∪ )'( BA∩4. '' BA∩ 8. '' BA∪ 7. Let A ={11, 13, 17, 19, 23}, B = {13, 15, 17, 19, 21} be two subsets of the universal set U={ 2410, <<∈ xNxx }; Find; No. Statement Result No. Statement Result BA∪ AU −1. BA ∩ 4. 'A BA − 'AA ∪2. AB − 5. 'BB ∪ ( )BABA ∩−∪ )( '' BA −3. ( )BABA ∪−∩ )( 6. BA−' 8. If U = {1, 2, 3, 6, 7, 12, 17, 21, 35, 52, 56}; QandRbethesubsetsofUgivenby Q = {numbers divisible by 7} and R = {prime numbers}; List the elements of set S = {x|x RQ ∩∈ }: ………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………….. 9. Fill in the blanks: 1. =∪ AA ………….. 2. =∩ AA ………….. 3. =∪φA ………….. 7. 'AA∪ =……………
  • 36. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 31 4. =∩φA ………….. 8. =∪UA …………… 5. =∩ 'AA ………….. 9. =∪ )'( BA ………….. 6. =∩UA ………….. 10. =∩ )'( BA …………. 10. If A = {1, 2, 3}, B = {3, 4, 5} and C = {1, 3, 5}, verify that; )()()( CABACBA −∩−=∪− . …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 11. If U = { 10, ≤∈ xNxx }; A = {1, 3, 5, 7, 9};B = {2, 4, 6, 8} and C = {2, 3, 4, 5, 6}, Verify that )'()''( CBACBA ∩∩=∪∩ . …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 12. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ทําเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูก และทําเครื่องหมาย ขอความที่ผิด ………...1. ถา A – B = φ แลว A = B …………2. ถา φ=∪ BA แลว φ=A และ φ=B …………3. ถา φ=∩ BA แลว φ=A และ φ=B …………4. ถา CBCA ∪=∪ แลว BA = …………5. ถา BA ⊂ แลว '' AB ⊂ …………6. ถา 'BA ⊂ แลว UBA =∪ …………7. ถา BA ⊂ แลว )()( CBCA ∩⊂∩ …………8. ถา BA ⊂ แลว BBA =∩ …………9. ถา BA ⊂ แลว φ=− BA …………10. ถา BA ∩ เปนเซตอนันต แลว A และ B เซตอนันต …………11. ถา A และ B เปนเซตอนันต แลว BA ∩ เปนเซตอนันต …………12. ถา BA∪ เปนเซตอนันต แลว A หรือ B เซตอนันต …………13. ถา A – B เปนเซตอนันต แลว A เปนเซตอนันตและ B เซตจํากัด …………14. ถา A – B เปนเซตจํากัด แลว A และ B เซตจํากัด …………15. ถา CA ≠ แลว BCBA ∩≠∩ 13. กําหนด U = { + ∈ Ixx };
  • 37. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 32 A = { 105 <≤ xx } B = { 62 ≤< xx } C = { 73 << xx } (แนะนํา : ใหใชเสนจํานวนชวยในการคิด) 1. BA ∪ =………………….. 21. )''( BA ∩ =…………………. 2. CB ∪ =………………….. 22. )'( CBA ∪∪ =…………………. 3. CB ∪ =………………….. 23. )(' BAC ∩− =…………………. 4. CBA ∪∪ =………………….. 24. BA − =…………………. 5. BA ∩ =………………….. 25. CB − =…………………. 6. CA ∩ =………………….. 26. )()( CBBA −−− =…………………. 7. CB ∩ =………………….. 27. ')'( CBA ∩∪ =…………………. 8. CBA ∩∩ =………………….. 28. BA∩' =…………………. 9. 'A =………………….. 29. 'CB ∩ =…………………. 10. 'B =………………….. 30. )'()'( CBBA ∩∪∩ =……………... 11. 'C =………………….. 31. '' BAC ∩∩ =…………………. 12. '' BA∩ =………………….. 32. )'''( BAC ∩∩ =…………………. 13. '' CA∩ =………………….. 33. CBA −− )( =…………………. 14. '' CB ∩ =………………….. 34. )')(( CBA −− =…………………. 15. '' BA∪ =………………….. 35. AB − =…………………. 16. '' CB ∪ =………………….. 36. )(' ABC −∩ =…………………. 17. '' CA∪ =………………….. 37. AC − =…………………. 18. )'( BA∪ =………………….. 38. BAC ∩− )( =…………………. 19. )'( CA ∪ =………………….. 39. )()( ABBA −∪− =……………… 20. 'BA ∩ =………………….. 40. )()( ABBA −∩− =……………… 14. จากแผนภาพขางลาง จงแรเงาสวนที่แทนเซตในแตละขอ A-B 'BA ∩ '' BA∩ )()( CABA ∩∪∩ )()( CBBA ∩∪− )()( CBBA −−∩ UA BUA BUA B A BUA BUA B
  • 38. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 33 )()( CABA −∩− ''' CBA ∩∩ )'()'( ACBA ∩−∩ )()()( CACBBA ∩∪∩∪∪ )'( CBA ∪∪ ∪ )( CBA ∩∩ สมบัติของเซต 1. Union of Sets Idempotent 1. AAA =∪ Commutative 2. ABBA ∪=∪ Associative 3. ( ) ( )CBACBA ∪∪=∪∪ = CBA ∪∪ 4. AA =∪φ 5. UAA =∪ ' 6. UUA =∪ Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ ')( ABA ∪∪ วิธีทํา: ')( ABA ∪∪ = 'ABA ∪∪ = BAA ∪∪ )'( = BU ∪ = U ดังนั้น, ')( ABA ∪∪ = U Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()()( EBADCBA ∪∪∪∪∪∪ วิธีทํา: )'()()( EBADCBA ∪∪∪∪∪∪ = EBADCBA ∪∪∪∪∪∪ ' = ∪∪ )'( BB …….. = ∪U ……… = U ดังนั้น, )'()()( EBADCBA ∪∪∪∪∪∪ = U UA BUA B UA BUA BUA B U A B U A B U A B U B A U A B A B∪
  • 39. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 34 2. Intersection of Sets BA ∩ Idempotent 1. AAA =∩ Commutative 2. ABBA ∩=∩ Associative 3. ( ) ( )CBACBA ∩∩=∩∩ = CBA ∩∩ 4. φφ =∩A 5. φ=∩ 'AA 6. AUA =∩ Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ ')( BBA ∩∩ วิธีทํา: ')( BBA ∩∩ = 'BBA ∩∩ = )'( BBA ∩∩ = φ∩A = φ ดังนั้น, ')( BBA ∩∩ = φ Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ ))'()(( DDECBA ∪∪∪∪∩ วิธีทํา: ))'()(( DDECBA ∪∪∪∪∩ = )'( DDECBA ∪∪∪∪∩ = ........)'( ∪∪∩ DDA = )..........( ∪∩ UA = UA ∩ = A ดังนั้น, ))'()(( DDECBA ∪∪∪∪∩ = A 3. De – Morgan’s Laws U A B U A B U A B U B A U A B '')'( BABA ∩=∪ '')'( BABA ∪=∩ = U A B U A B )'( BA∪ '' BA∩
  • 40. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 35 Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( ABA ∪∩ วิธีทํา: )'( ABA ∪∩ = '' ABA ∩∩ = ')'( BAA ∩∩ = 'B∩φ = φ ดังนั้น, )'( ABA ∪∩ = φ Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ วิธีทํา: )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = '')()( EBDCBA ∩∩∩∩∩ = '' EBDCBA ∩∩∩∩∩ = ')'( EADCBB ∩∩∩∩∩ = 'EADC ∩∩∩∩φ = φ ดังนั้น, )'()()( EBDCBA ∪∩∩∩∩ = φ Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ วิธีทํา: ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = ))((' DCBBAA −∪∩∩∩ = ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = ))(( DCBB −∪∩∩φ = φ ดังนั้น, ))(()'( DCBBAA −∪∩∩∩ = φ 4. Distributive Laws For any three sets, A, B, C, we have ( ) ( ) ( )CABACBA ∪∩∪=∩∪ ( ) ( ) )( CBACABA ∩∪=∪∩∪ = = )'( BA∩ = '' BA∪ U A B U A B
  • 41. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 36 Or ( ) ( ) ( )CABACBA ∩∪∩=∪∩ ( ) ( ) )( CBACABA ∪∩=∩∪∩ Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()( BABA ∪∩∪ วิธีทํา: )'()( BABA ∪∩∪ = )'( BBA ∩∪ = φ∪A = φ ดังนั้น, )'()( BABA ∪∩∪ = φ Example : จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()( BABA ∩∪∩ วิธีทํา: )'()( BABA ∩∪∩ = )'( BBA ∪∩ = UA ∩ = A ดังนั้น, )'()( BABA ∩∪∩ = A Example 9: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ วิธีทํา: )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = )]'()''[()]'()''[( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = )]'('[)]'''([ CBCBACBCBA ∩∩∩∪∪∩∩∩∪ = )'()( φφ ∪∪∪ AA = 'AA∪ = U ดังนั้น, )'()'()''()''( CBACBACBACBA ∩∩∪∩∩∪∩∩∪∩∩ = U บันทึกขอความ....
  • 42. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 37 5.Difference of two sets Example 10: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )'( BBA ∪− วิธีทํา: )'( BBA ∪− = UA − = 'UA ∩ = φ∩A = φ ดังนั้น, )'( BBA ∪− = φ Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( DBCA ∪−∩ วิธีทํา: )()( DBCA ∪−∩ = )'()( DBCA ∪∩∩ = )''()( DBCA ∩∩∩ = '' DBCA ∩∩∩ = )'()'( DCBA ∩∩∩ = )()( DCBA −∩− ดังนั้น, )()( DBCA ∪−∩ = )()( DCBA −∩− A – B B – A 1. A – B ≠ B – A 2. A – A = φ 3. A – A’ = A 4. A’ – A = A’ 5. A – U = φ 6. A – φ = A 7. φ – A = φ 8. BA ∩ = 'BA − 9. A – B = B’ – A’ 10. A – B = 'BA ∩
  • 43. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 38 6. Union and intersection of two sets Example: )( BAA ∩∪ = )()( BAAA ∪∩∪ = )( BAA ∪∩ = A )( BAA ∩∪ = )( BAA ∪∩ )( BAA ∩∪ = A )( BAA ∪∩ = A Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ ])[( ABCA ∪∩∩ วิธีทํา: ])[( ABCA ∪∩∩ = )]([ BCAA ∩∪∩ = A ดังนั้น, ])[( ABCA ∪∩∩ = A Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ วิธีทํา: )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = )()( CDBABA ∪∪∪∩∪ = BA ∪ ดังนั้น, )()( CADBBA ∪∪∪∩∪ = BA ∪ Example: จงทําใหเปนผลสําเร็จ CCBA ∪∩∪ ])[( วิธีทํา: CCBA ∪∩∪ ])[( = )]([ BACC ∪∩∪ = C ดังนั้น, CCBA ∪∩∪ ])[( = C ABAABAA =∪∩=∩∪ )()( 1 2 3
  • 44. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 39 7.Difference, Union and intersection of two sets Example: จงแสดงวา )()()( CABACBA −∪−=∩− วิธีทํา: )( CBA ∩− = )'( CBA ∩∩ = )''( CBA ∪∩ = )'()'( CABA ∩∪∩ = )()( CABA −∪− ดังนั้น, )()()( CABACBA −∪−=∩− Example: จงแสดงวา )()()( CBCACBA −∪−=−∪ วิธีทํา: CBA −∪ )( = ')( CBA ∩∪ = )'()'( CBCA ∩∪∩ = )()( CBCA −∪− ดังนั้น, )()()( CBCACBA −∪−=−∪ EXERCISE IX สมบัติของเซต 1. จงทําใหเปนผลสําเร็จ )( ABA −∩ ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 2. จงพิสูจนวา )()()()( DCBADBCA −∩−=∪−∩ ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. )()()( CABACBA −∪−=∩− )()()( CABACBA −∩−=∪− 1 )()()( CBCACBA −∪−=−∪ )()()( CBCACBA −∩−=−∩ 2
  • 45. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 40 3. จงพิสูจนวา )'''()()()( BABAABBA ∩=∩∪−∪− ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 4. จงพิสูจนวา φ=∩∪ BBA )''( ……………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 5. จงพิสูจนวา UABA =∪∩ )''( ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 6. จงพิสูจนวา )''( BABA −=∪ ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 7. จงพิสูจนวา φ=∪∩∩∩∩ )'()()( EBDCBA ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 8. จงพิสูจนวา UCBCBACBA =∪∪∩∩∪∩∩ )''()()'( ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………….
  • 46. The basic concept of SETS THEORY MODERN MATHEMATICS Copyrighted © by…::[MoDErN_SnC®]:: 41 9. จงพิสูจนวา )]'([)]'([ BBAABCCA ∪∩∩−∪=∩ ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 10. จงพิสูจนวา CCDCBCACDBA =∩∪∩∪∩∪∩∩∩ )()'()'()'( ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. การพิจารณาการเปนสมาชิก สับเซต และเพาเวอรเซตการพิจารณาการเปนสมาชิก สับเซต และเพาเวอรเซต เราทราบวา; 1. ⊂φ ของทุกเซต 2. เปลี่ยนการเปนสมาชิกเปนสับเซต (∈→⊂) Aa ∈ → Aa ⊂}{ ; เติม {} และเปลี่ยน∈→⊂ 3. เปลี่ยนสับเซตเปนสมาชิก (⊂→∈) Aa ⊂}{ → Aa ∈ ; Cutting {} and changing ⊂→∈ เทคนิควิธีการ 1. เติม {} และ P; Aa∈ → )(}{ APa ∈ 2. ตัด {} และ P; )(}{ APa ∈ → Aa∈ 3. เติม P ทั้งสองขาง; BA ⊂ → )()( BPAP ⊂ 4. ตัด P ทั้งสองขาง; )()( BPAP ⊂ → BA ⊂ Example: True or False: 1. }7,6,3{}3{ ⊂ → }7,6,3{3∈ True 2. }5,2{}}5,2{{ ⊂ → }5,2{}5,2{ ∈ False 3. }})3,2{,5({}}3,2{{ P∈ → }}3,2{,5{}3,2{ ∈ True 4. }})5,3({{}5,3{ P∈ → }}5,3{{5,3 ∈ False Example: Let BbAa ∈∈ , ; these following statements; True or False: 1. )(}},{},{{ BAPbaa ∪⊂ → )(},{},{ BAPbaa ∪∈ → BAbaa ∪∈,, So, )(}},{},{{ BAPbaa ∪⊂ True