SlideShare a Scribd company logo
เปดประตูสู O-Net
นองๆนักเรียนมัธยมปลาย เตรียมตัวสําหรับที่จะสอบ O-Net ในเดือน กุมภาพันธ หรือ
มีนาคม กันหรือยัง ถายังลองเตรียมตัวกับMath House ในวิชาคณิตศาสตร นองๆคงได
แนวทางกับ โจทยแนว O-Net อยางจุใจ
ขอบเขตของเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร ในการทดสอบ O-Net
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
( ตามสาระการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544)
1. เซต
1.1 สับเซตและเพาเวอรเซต
1.2 ยูเนียน อินเตอรเซกชันและคอมพลีเมนตของเซต
2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย
3. จํานวนจริง
3.1 สมบัติการบวกและการคูณของจํานวนจริง
3.2 การแกสมการกําลังสองหนึ่งตัวแปร
3.3 คาสัมบูรณ
3.4 การแกอสมการ
3.5 รากที่n ของจํานวนจริง
3.6 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
4. ความสัมพันธและฟงกชัน
4.1 ความสัมพันธและฟงกชัน
4.2 ฟงกชันเชิงเสน
4.3 ฟงกชันกําลังสอง
4.4 การแกสมการและอสมการโดยใชกราฟ
4.5 ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล
4.6 ฟงกชันคาสัมบูรณ
5. อัตราสวนตรีโกณมิติ
6. ลําดับและอนุกรม
6.1 ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต
6.2 อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
7. ความนาจะเปน
7.1 กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
7.2 ความนาจะเปน
8. สถิติ
8.1 สถิติและขอมูล
8.2 การแจกแจงความถี่ของขอมูล
8.3 การวัดตําแหนงที่ของขอมูล
8.4 การวัดคากลางของขอมูล
8.5 การวัดการกระจายของขอมูล
8.6 การสํารวจความคิดเห็น
ตารางวิเคราะหขอสอบ O-Net
ปพ.ศ.2549 ปพ.ศ. 2550เรื่อง
ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2(อัตนัย) ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2 (ปรนัย)
1. เซต 2 1 2 1
2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและ
นิรนัย
1 - - 1
3. จํานวนจริงและเลขยกกําลัง 6 1 6 4
4. ความสัมพันธและฟงกชัน 4 2 2 3
5. อัตราสวนตรีโกณมิติ 3 2 1 2
6. ลําดับและอนุกรม 6 - 2 2
7. ความนาจะเปน 1 3 1 2
8. สถิติ 9 1 6 5
หมายเหตุ : ขอสอบตอนที่ 2
1) ปพ.ศ. 2549 เปนขอสอบเติมคําตอบ
2) ปพ.ศ. 2550 เปนขอสอบแบบเลือกตอบ
สรุปประเด็นสําคัญเตรียมสอบ O-Net เรื่อง เซต
รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล
อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง
1 ถา A มีสมาชิก n ตัว สับเซตของ A ทั้งหมด = 2n
เซต
และ สับเซตแท = 2n
– 1 เซต
2 การกระทําของเซต
A∪B = { x | x ∈A∨ x∈B}
A∩B = { x | x ∈A ∧ x∈B}
A – B = { x | x ∈A ∧ x∉B}
A′ = { x | x ∈U ∧ x∉A}
3 คุณสมบัติที่ตองทราบ
(1) P(A) ∪P(B)⊂P(A∪B) และ
(2) P(A) ∩P(B) = P(A∩B)
(3) A∩ (B∪C) = (A∩B) ∪ (A∩C)
(4) A ∪ (B∩C) = (A∪B)∩ (A∪C)
(5) (A∩B)′ = A′∪B′ , (A∪B)′ = A′∩B′
(6) A – B = A ∩B′ = B′– A′
(7) A∩ (A∪B) = A , A ∪ (A∩B) = A
(8) A∩ (A′∪B) = A∩B
(9) A∪ (A′∩B) = A∪B
(10)(A∪B)∩ (A∪B′) = A
(11)(A∩B) ∪ (A∩B′) = A
4 จํานวนสมาชิกของเซต
n (A∪B∪C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩B) – n(A∩C) – n(B∩C) + n(A∩B∩C)
5 สมบัติเกี่ยวกับเซตที่หามลืม
(1) สมบัติเกี่ยวกับสับเซต
A⊂B ก็ตอเมื่อ A∩B = A
A⊂B ก็ตอเมื่อ A∪B = B
A⊂B ก็ตอเมื่อ B′⊂A′
(2) สมบัติเกี่ยวกับการกระทํา
A∪B = φ ก็ตอเมื่อ A= φ และ B= φ
A∩B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B′ และ B⊂A′
A– B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B
(3) สมบัติของเพาเวอรเซต เมื่อ A , B เปนเซตใด ๆ
1.) x ∈P(A) ↔ x⊂A
2.) φ ∈ P(A) และ A∈ P(A)
3.) φ ⊂ P(A) , {φ}⊂ P(A) และ {A} ⊂ P(A)
4.) ถาเซต A มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n
ตัว
(4) ให A = {1 , 2 , 3 , … , m} และ B = { 1 , 2 , 3 , … , n} โดยที่ m < n
1.) ถา A⊂ X⊂B จะมีเซต X ได = 2n-m
เซต
2.) ถา A ∩ X ≠ φ และ X ⊂B จะมีเซต X ได = 2n
– 2n-m
เซต
(5) n(A – B) = n(A) – n(A∩B)
(6) n(A∪B) ′ = n(U) – n(A∪B)
(7) n[P(A) – P(B)] = n[P(A)] – n[P(A∩B)]
แนวขอสอบเรื่อง เซต
รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล
อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง
กําหนด A , B , C และ D เปนเซตใดๆ (A∩B) – (C∪D) เทากับเซตในขอใด1.
1. (A – B) ∩ (C – D) 2. (A – B) ∩ (D – C)
3. (A – C) ∩ (B – D) 4. (A – C) ∩ (D – B)
แนวคิด (A∩B) – (C∪D) = (A∩B) ∩ (C∪DQ )′
= (A∩B) ∩ (C′∩D′)
= (A∩C′) ∩ (B ∩D′)
∴(A∩B) – (C∪D) = (A – C) ∩ (B - D)
2. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา A∩B = φ แลว A ⊂B′
ข. ถา A∩B = φ แลว B ⊂A′ ′
ขอใดสรุปถูกตอง
1. ก. ถูก และ ข ผิด 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. และ ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด
แนวคิด เนื่องจาก A∩B = φ พิจารณาแผนภาพดังนี้
A B A B
A B
จะพบวา A ⊂ B แต B ⊄′ ′ A′
3. กําหนด A = {0, {0}, φ, {φ}, 1} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A
จํานวนสมาชิกของ P(A) – A เทากับเทาใด
1. 29 2. 30 3. 31 4. 32
แนวคิด n(A) = 5Q
จะได n(P(A)) = 25
= 32 ⎯ 1
แต A และ P(A) มีสมาชิกซ้ํากัน 3 ตัวคือ {0}, φ, {φ}
∴ n(P(A) ∩ A) = 3 ⎯ 2
เนื่องจาก n[P(A) – A] = n(P(A)) – n(P(A) ∩ A)
ดังนั้น n[P(A) – A] = 32 – 3 = 29 ตัว
กําหนดให A และ B เปนเซตจํากัดโดยที่ n(A ∪ B) = 67 และ n[(A – B)∪(B – A)] = 584.
ถา n(A) = 32 แลว n(B) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. 28 2. 35 3. 39 4. 44
แนวคิด จากแผนภาพเวนน – ออยเลอร
จะพบวา n(A ∪ B) = n[(A – B) ∪ (B – A)] + n(A∩B)
แทนคาจะได 67 = 58 + n(A ∩B)
A B
U
A - B B - A
A∩B
∴ n(A ∩B) = 67 – 58 = 9 ⎯ ∗
เนื่องจาก n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩ B)
จะได 67 = 32 + n(B) – 9
ดังนั้น n(B) = 67 – 32 + 9 = 44
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง5.
1. มีเซตบางเซตไมมีสับเซตแท
ถา A = {1, {1, 2}, φ} แลว A ∩ P(A) ≠ φ2.
3. P(φ)∩ P(P(φ)) = φ
4. มีเซต A ที่ทําใหจํานวนสมาชิกของ P(A) เปนจํานวนเฉพาะ
แนวคิด พิจารณาแตละขอดังนี้
ขอ1 ถูกตอง เพราะวา ถา A = φ จะพบวาสับเซตของ A คือ φ
ซึ่งไมใชสับเซตแท
ขอ2 ถูกตอง เพราะวา A = {1, {1, 2}, φ}
จะได P(A) = {φ, {1}, {{1, 2}}, {φ}, {1,{1, 2}}, {1, φ},
{{1, 2}, φ}, {1,{1, 2}, φ}}
จะพบวา A ∩ P(A) = {φ} ≠ φ
ขอ3 ไมถูกตอง เพราะวา
P(φ) = {φ}
P(P(φ)) = {φ, {φ}}
ดังนั้น P(φ)∩P(P(φ) = {φ} ≠ φ
ขอ4 ถูกตอง เพราะวา
ถา A = {1} → A มีสมาชิก 1 ตัว
∴ P(A) มีสมาชิก = 2 = 2 ตัว
แสดงวา จํานวนสมาชิกเปนจํานวนเฉพาะ
ใหเอกภพสัมพัทธ U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9} ถา A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7}6.
และ = {4 , 6 , 8 , 9} จํานวนสมาชิกของ B – A เทากับขอใดA′
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
แนวคิด จาก U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7, 8 , 9}
และ = {4 , 6 , 8 , 9}A′
จะได A = {1 , 2 , 3 , 5 , 7} ⎯∗
จาก A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7}
จะได B – A = {4 , 6} ⎯∗
ดังนั้น B – A มีสมาชิก 2 ตัว
7. จากการสัมภาษณผูชมรายการโทรทัศนจํานวน 220 คน พบวา
มี 140 คน ชอบดูรายการ “เกมสโชว”
มี 110 คน ชอบดูรายการ “เกมสเศรษฐี”
มี 105 คน ชอบดูรายการ “ตีสิบ”
มี 45 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “ตีสิบ”
มี 40 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “เกมสเศรษฐี”
มี 15 คน ชอบดูทั้งสามรายการ
ถาไมมีผูชมคนใดที่ไมชอบดูทั้งสามรายการเลย จงหาจํานวนผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดู
รายการดังกลาวอยางนอยสองรายการ
1. 80 คน 2. 110 คน 3. 120 คน 4. 130 คน
แนวคิด ให A แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสโชว”
∴n(A) = 140
B แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสเศรษฐี”
∴n(B) = 110
C แทนเซตของผูชมรายการ “ตีสิบ”
∴n(C) = 105
จะได n(A∩ B) = 40, n(A ∩ C) = 45, n(A∩B∩C) = 15
เขียนแผนภาพไดดังรูป
15
A(140) B(110)
U(220)
25
C(105)
30
a
b
c
จากแผนภาพ a + b + c = 80
แต a + b = 70
∴ c = 10
จะได b = n(C) – c – 30 – 15
= 105 – 10 – 45
= 50
ดังนั้น ผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดูรายการอยางนอยสองรายการเทากับ
30 + 15 + 25 + 50 = 120 คน
8. จากการสํารวจการประกอบอาชีพการประมงทําสวนยางพาราและทําสวนผลไมของชาวบานใน
หมูบานแหงหนึ่งของจังหวัดระยอง ซึ่งมีอยูทั้งหมด 108 ครอบครัวพบวา
มี 38 ครอบครัว ไมไดประกอบอาชีพทั้งสามนี้
มี 16 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพทั้งสามนี้
มี 29 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพเพียงอยางเดียวในสามอยางนี้
ขอใดตอไปนี้เปนจํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้
1. 25 2. 41 3. 45 4. 63
แนวคิด ให U แทนเซตของครอบครัวทั้งหมด
∴n(U) = 108
A แทนเซตของครอบครัวที่ไมไดประกอบอาชีพนี้
∴n(A) = 38
B แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้ 1 อยาง
∴n(B) = 29
C แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้อยางนอย 2 ใน 3 อยางนี้
จะได n(U) = n(A) + n(B) + n(C)
∴ n(C) = 108 – 38 - 29
= 41
ดังนั้น จํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้เทากับ
41 ครอบครัว
9. นักการเมืองกลุมหนึ่งมี 50 คน แตละคนมีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรหรือสังคมศาสตร
หรือศิลปศาสตรอยางนอยหนึ่งดาน จากแฟมประวัติพบอีกวามี 33 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษา
ดานสังคมศาสตรและในจํานวนนี้มี 8 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย
มี 17 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานศิลปศาสตรและในจํานวนนี้มี 2 คน ที่มีพื้นฐาน
การศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย ถาไมปรากฏวามีผูที่มีพื้นฐานการศึกษาทั้งดานสังคมศาสตร
และศิลปศาสตรแลว นักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมีกี่คน
1. 25 คน 2. 20 คน 3. 18 คน 4. 10 คน
แนวคิด ให A แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตร
B แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานสังคมศาสตร
C แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานศิลปศาสตร
เขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรไดดังนี้
0
B (33) C (17)
U
0
A
8 2
จากแผนภาพ
จะเห็นไดวานักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรอยางเดียว
มี 50 – 33 – 17 = 0 คน
ดังนั้น นักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมี 0 + 8 + 2 = 10 คน
10. นักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 50 คน แตละคนตองเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษ
อยางนอย 1 วิชา ถามีนักเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร 29 คน และเรียนภาษาอังกฤษ 32 คน
แลวจํานวนนักเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีจํานวนเทากับขอใด
1. 11 คน 2. 13 คน 3. 14 คน 4. 15 คน
แนวคิด ให A แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร
∴ n(A) = 29
B แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ
∴ n(B) = 32
เมื่อ n(A ∪ B) = 50 คน ตองการหา n(A ∩B) = ?
จาก n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩B)
แทนคาจะได 50 = 29 + 32 - n(A ∩B)
∴ n(A ∩B) = 29 + 32 – 50 = 11
ดังนั้น จํานวนนักเรียนที่เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีเทากับ 11 คน
เก็งแนวขอสอบ O-Net เรื่อง เซต
1. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน
ขอใดตอไปนี้ถูก
1. ถา A ∩ B = φ แลว A = φ และ B = φ
2. ถา A ∪ B = φ แลวไมจําเปนที่ A = φ และ B = φ
3. ถา A - B = φ แลว A = φ และ B = φ
4. ถา A ∩ B = A ∪ B แลว A = B
ถาสับเซตทั้งหมดของเซต A คือ φ, {1}, {2}, {1, 2}2.
และสับเซตทั้งหมดของ B คือ φ, {2}, {3}, {2, 3}
แลว A ∩B คือเซตในขอใด
1. φ 2. {1} 3. {2} 4. {3}
กําหนด A และ B เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน โดย n(A∩B) = 2 และ n(A∪B) = 103.
แลวขอใดตอไปนี้เปนจํานวนสมาชิกของ B – A
1. 3 ตัว 2. 4 ตัว 3. 5 ตัว 4. 6 ตัว
4. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. n(A∩B) = n(A) + n(B) – n(A ∪ B)
ข. n(A∪B) = n(A - B) + n(A∩ B) + n(B – A)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูก 2. ขอ ก. ผิด และ ขอ ข. ถูก
3. ขอ ก. ถูก และ ขอ ข. ผิด 4. ขอ ก. และ ขอ ข. ผิด
กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ถา n(A ∪ B) = 10, n(A - B) = 3 และ n(B - A) = 55.
แลว n(A ∩B) เทากับขอใดตอไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
6. กําหนด A , B และ C เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน และ n(A) = 50 ,
n(B) = 40 , n(C) = 30 , n(A ∩B) = 15 , n(B∩C) = 13 , n(A∩C) = 17
และ n(A ∪ B ∪ C) = 80 จงหา n(A ∩B∩C)
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8
7. ถา A , B เปนเซตอนันตและ C เปนเซตจํากัด แลวเซตในขอใดตอไปนี้เปนเซตอนันต
1. (A ∩ C) ∪ (B ∩C) 2. A ∪ (B∩C)
3. (C - B) ∪ (C - A) 4. (A∪B)∩C
ให A = {φ, 0, 1, {1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A8.
B คือคอมพลีเมนตของ A และ
C คือคอมพลีเมนตของ P(A)
จํานวนสมาชิกของ (B ∩C) ∪ (B∩C ) เทากับขอใด′ ′
1. 12 2. 14 3. 16 4. 20
9. ในสํานักงานกาชาดสากลแหงหนึ่งมีเจาที่ 18 คน แตละคนพูดภาษารัสเซีย หรือ ภาษาอังกฤษ
หรือ ภาษาฝรั่งเศส มีเพียงคนเดียวที่พูดภาษารัสเซีย ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษไดทั้งสาม
ภาษา มี 3 คนพูดภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษได มี 13 คนที่พูดภาษารัสเซียได และใน
13 คนนี้มี 5 คนที่พูดภาษาอังกฤษได มี 9 คนที่พูดภาษาฝรั่งเศสได ไมมีเจาหนาที่คนใดที่
พูดภาษาอังกฤษไดเพียงภาษาเดียว มีเจาหนาที่กี่คนที่พูดภาษาฝรั่งเศสไดเพียงภาษาเดียว
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5
10. ในการสํารวจนักเรียนที่ไดฝกหัดวายน้ําเปน 3 เดือนมาแลว จํานวน 40 คน พบวาวายน้ํา
ทากบได 20 คน วายน้ําทาผีเสื้อได 19 คน และวายไมไดไมวาทากบหรือทาผีเสื้อ 7 คน
มีนักเรียนทั้งหมดกี่คนที่สามารถวายน้ําไดทั้งทากบและทาผีเสื้อ
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10
เฉลยเก็งแนวขอสอบ O-Net เรื่อง เซต
1. ขอ 4 2. ขอ 3 3. ขอ 2 4. ขอ 1 5. ขอ 2
6. ขอ 1 7. ขอ 2 8. ขอ 3 9. ขอ 2 10. ขอ 2
พบกับเฉลยละเอียดไดที่…
MATH HOUSE โทร 02-413-2556 -7

More Related Content

What's hot

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
waranyuati
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
Jirathorn Buenglee
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
Khunnawang Khunnawang
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
ssusereb21c61
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
ครู กรุณา
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
Wichai Likitponrak
 
O netอนุกรมเลขคณิต
O netอนุกรมเลขคณิตO netอนุกรมเลขคณิต
O netอนุกรมเลขคณิต
Toongneung SP
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตaoynattaya
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
khon Kaen University
 

What's hot (20)

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ป.3
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2559(1)
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
O netอนุกรมเลขคณิต
O netอนุกรมเลขคณิตO netอนุกรมเลขคณิต
O netอนุกรมเลขคณิต
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิตลำดับเรขาคณิต
ลำดับเรขาคณิต
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
 

Similar to O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE

แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
ขมิ้น ชมพูพันธุ์ทิพย์
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
sensehaza
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
Fern Monwalee
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
Tutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
Chokchai Taveecharoenpun
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
Tum Anucha
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
Sutthi Kunwatananon
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
Set problem2 p
Set problem2 pSet problem2 p
Set problem2 p
Thanuphong Ngoapm
 

Similar to O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE (20)

แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Set
SetSet
Set
 
Set
SetSet
Set
 
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลายMath Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
Math Kit EBook : สรุปคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เซต (Sets)
เซต (Sets)เซต (Sets)
เซต (Sets)
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
M4 1-เซต
M4 1-เซตM4 1-เซต
M4 1-เซต
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
Set problem2 p
Set problem2 pSet problem2 p
Set problem2 p
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 

O-net 01 เรื่องเซต ของ MATH HOUSE

  • 1. เปดประตูสู O-Net นองๆนักเรียนมัธยมปลาย เตรียมตัวสําหรับที่จะสอบ O-Net ในเดือน กุมภาพันธ หรือ มีนาคม กันหรือยัง ถายังลองเตรียมตัวกับMath House ในวิชาคณิตศาสตร นองๆคงได แนวทางกับ โจทยแนว O-Net อยางจุใจ ขอบเขตของเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร ในการทดสอบ O-Net กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ( ตามสาระการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544) 1. เซต 1.1 สับเซตและเพาเวอรเซต 1.2 ยูเนียน อินเตอรเซกชันและคอมพลีเมนตของเซต 2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย 3. จํานวนจริง 3.1 สมบัติการบวกและการคูณของจํานวนจริง 3.2 การแกสมการกําลังสองหนึ่งตัวแปร 3.3 คาสัมบูรณ 3.4 การแกอสมการ 3.5 รากที่n ของจํานวนจริง 3.6 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ 4. ความสัมพันธและฟงกชัน 4.1 ความสัมพันธและฟงกชัน 4.2 ฟงกชันเชิงเสน 4.3 ฟงกชันกําลังสอง 4.4 การแกสมการและอสมการโดยใชกราฟ 4.5 ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล 4.6 ฟงกชันคาสัมบูรณ 5. อัตราสวนตรีโกณมิติ 6. ลําดับและอนุกรม 6.1 ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต 6.2 อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
  • 2. 7. ความนาจะเปน 7.1 กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 7.2 ความนาจะเปน 8. สถิติ 8.1 สถิติและขอมูล 8.2 การแจกแจงความถี่ของขอมูล 8.3 การวัดตําแหนงที่ของขอมูล 8.4 การวัดคากลางของขอมูล 8.5 การวัดการกระจายของขอมูล 8.6 การสํารวจความคิดเห็น ตารางวิเคราะหขอสอบ O-Net ปพ.ศ.2549 ปพ.ศ. 2550เรื่อง ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2(อัตนัย) ตอนที่1(ปรนัย) ตอนที่2 (ปรนัย) 1. เซต 2 1 2 1 2. การใหเหตุผลแบบอุปนัยและ นิรนัย 1 - - 1 3. จํานวนจริงและเลขยกกําลัง 6 1 6 4 4. ความสัมพันธและฟงกชัน 4 2 2 3 5. อัตราสวนตรีโกณมิติ 3 2 1 2 6. ลําดับและอนุกรม 6 - 2 2 7. ความนาจะเปน 1 3 1 2 8. สถิติ 9 1 6 5 หมายเหตุ : ขอสอบตอนที่ 2 1) ปพ.ศ. 2549 เปนขอสอบเติมคําตอบ 2) ปพ.ศ. 2550 เปนขอสอบแบบเลือกตอบ
  • 3. สรุปประเด็นสําคัญเตรียมสอบ O-Net เรื่อง เซต รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง 1 ถา A มีสมาชิก n ตัว สับเซตของ A ทั้งหมด = 2n เซต และ สับเซตแท = 2n – 1 เซต 2 การกระทําของเซต A∪B = { x | x ∈A∨ x∈B} A∩B = { x | x ∈A ∧ x∈B} A – B = { x | x ∈A ∧ x∉B} A′ = { x | x ∈U ∧ x∉A} 3 คุณสมบัติที่ตองทราบ (1) P(A) ∪P(B)⊂P(A∪B) และ (2) P(A) ∩P(B) = P(A∩B) (3) A∩ (B∪C) = (A∩B) ∪ (A∩C) (4) A ∪ (B∩C) = (A∪B)∩ (A∪C) (5) (A∩B)′ = A′∪B′ , (A∪B)′ = A′∩B′ (6) A – B = A ∩B′ = B′– A′ (7) A∩ (A∪B) = A , A ∪ (A∩B) = A (8) A∩ (A′∪B) = A∩B (9) A∪ (A′∩B) = A∪B (10)(A∪B)∩ (A∪B′) = A (11)(A∩B) ∪ (A∩B′) = A 4 จํานวนสมาชิกของเซต n (A∪B∪C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A∩B) – n(A∩C) – n(B∩C) + n(A∩B∩C)
  • 4. 5 สมบัติเกี่ยวกับเซตที่หามลืม (1) สมบัติเกี่ยวกับสับเซต A⊂B ก็ตอเมื่อ A∩B = A A⊂B ก็ตอเมื่อ A∪B = B A⊂B ก็ตอเมื่อ B′⊂A′ (2) สมบัติเกี่ยวกับการกระทํา A∪B = φ ก็ตอเมื่อ A= φ และ B= φ A∩B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B′ และ B⊂A′ A– B = φ ก็ตอเมื่อ A⊂B (3) สมบัติของเพาเวอรเซต เมื่อ A , B เปนเซตใด ๆ 1.) x ∈P(A) ↔ x⊂A 2.) φ ∈ P(A) และ A∈ P(A) 3.) φ ⊂ P(A) , {φ}⊂ P(A) และ {A} ⊂ P(A) 4.) ถาเซต A มีสมาชิก n ตัว แลว P(A) มีสมาชิก 2n ตัว (4) ให A = {1 , 2 , 3 , … , m} และ B = { 1 , 2 , 3 , … , n} โดยที่ m < n 1.) ถา A⊂ X⊂B จะมีเซต X ได = 2n-m เซต 2.) ถา A ∩ X ≠ φ และ X ⊂B จะมีเซต X ได = 2n – 2n-m เซต (5) n(A – B) = n(A) – n(A∩B) (6) n(A∪B) ′ = n(U) – n(A∪B) (7) n[P(A) – P(B)] = n[P(A)] – n[P(A∩B)]
  • 5. แนวขอสอบเรื่อง เซต รวบรวมโดย อาจารยสมบูรณ ลักษณะวิมล อาจารยประจํา สาขาพระรามสอง กําหนด A , B , C และ D เปนเซตใดๆ (A∩B) – (C∪D) เทากับเซตในขอใด1. 1. (A – B) ∩ (C – D) 2. (A – B) ∩ (D – C) 3. (A – C) ∩ (B – D) 4. (A – C) ∩ (D – B) แนวคิด (A∩B) – (C∪D) = (A∩B) ∩ (C∪DQ )′ = (A∩B) ∩ (C′∩D′) = (A∩C′) ∩ (B ∩D′) ∴(A∩B) – (C∪D) = (A – C) ∩ (B - D) 2. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา A∩B = φ แลว A ⊂B′ ข. ถา A∩B = φ แลว B ⊂A′ ′ ขอใดสรุปถูกตอง 1. ก. ถูก และ ข ผิด 2. ก. ผิด และ ข. ถูก 3. ก. และ ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด แนวคิด เนื่องจาก A∩B = φ พิจารณาแผนภาพดังนี้ A B A B A B จะพบวา A ⊂ B แต B ⊄′ ′ A′
  • 6. 3. กําหนด A = {0, {0}, φ, {φ}, 1} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A จํานวนสมาชิกของ P(A) – A เทากับเทาใด 1. 29 2. 30 3. 31 4. 32 แนวคิด n(A) = 5Q จะได n(P(A)) = 25 = 32 ⎯ 1 แต A และ P(A) มีสมาชิกซ้ํากัน 3 ตัวคือ {0}, φ, {φ} ∴ n(P(A) ∩ A) = 3 ⎯ 2 เนื่องจาก n[P(A) – A] = n(P(A)) – n(P(A) ∩ A) ดังนั้น n[P(A) – A] = 32 – 3 = 29 ตัว กําหนดให A และ B เปนเซตจํากัดโดยที่ n(A ∪ B) = 67 และ n[(A – B)∪(B – A)] = 584. ถา n(A) = 32 แลว n(B) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 1. 28 2. 35 3. 39 4. 44 แนวคิด จากแผนภาพเวนน – ออยเลอร จะพบวา n(A ∪ B) = n[(A – B) ∪ (B – A)] + n(A∩B) แทนคาจะได 67 = 58 + n(A ∩B) A B U A - B B - A A∩B ∴ n(A ∩B) = 67 – 58 = 9 ⎯ ∗ เนื่องจาก n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩ B) จะได 67 = 32 + n(B) – 9 ดังนั้น n(B) = 67 – 32 + 9 = 44
  • 7. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง5. 1. มีเซตบางเซตไมมีสับเซตแท ถา A = {1, {1, 2}, φ} แลว A ∩ P(A) ≠ φ2. 3. P(φ)∩ P(P(φ)) = φ 4. มีเซต A ที่ทําใหจํานวนสมาชิกของ P(A) เปนจํานวนเฉพาะ แนวคิด พิจารณาแตละขอดังนี้ ขอ1 ถูกตอง เพราะวา ถา A = φ จะพบวาสับเซตของ A คือ φ ซึ่งไมใชสับเซตแท ขอ2 ถูกตอง เพราะวา A = {1, {1, 2}, φ} จะได P(A) = {φ, {1}, {{1, 2}}, {φ}, {1,{1, 2}}, {1, φ}, {{1, 2}, φ}, {1,{1, 2}, φ}} จะพบวา A ∩ P(A) = {φ} ≠ φ ขอ3 ไมถูกตอง เพราะวา P(φ) = {φ} P(P(φ)) = {φ, {φ}} ดังนั้น P(φ)∩P(P(φ) = {φ} ≠ φ ขอ4 ถูกตอง เพราะวา ถา A = {1} → A มีสมาชิก 1 ตัว ∴ P(A) มีสมาชิก = 2 = 2 ตัว แสดงวา จํานวนสมาชิกเปนจํานวนเฉพาะ ใหเอกภพสัมพัทธ U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9} ถา A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7}6. และ = {4 , 6 , 8 , 9} จํานวนสมาชิกของ B – A เทากับขอใดA′ 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 แนวคิด จาก U = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7, 8 , 9} และ = {4 , 6 , 8 , 9}A′ จะได A = {1 , 2 , 3 , 5 , 7} ⎯∗ จาก A ∪ B = {1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7} จะได B – A = {4 , 6} ⎯∗ ดังนั้น B – A มีสมาชิก 2 ตัว
  • 8. 7. จากการสัมภาษณผูชมรายการโทรทัศนจํานวน 220 คน พบวา มี 140 คน ชอบดูรายการ “เกมสโชว” มี 110 คน ชอบดูรายการ “เกมสเศรษฐี” มี 105 คน ชอบดูรายการ “ตีสิบ” มี 45 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “ตีสิบ” มี 40 คน ชอบดูทั้งรายการ “เกมสโชว” และ “เกมสเศรษฐี” มี 15 คน ชอบดูทั้งสามรายการ ถาไมมีผูชมคนใดที่ไมชอบดูทั้งสามรายการเลย จงหาจํานวนผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดู รายการดังกลาวอยางนอยสองรายการ 1. 80 คน 2. 110 คน 3. 120 คน 4. 130 คน แนวคิด ให A แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสโชว” ∴n(A) = 140 B แทนเซตของผูชมรายการ “เกมสเศรษฐี” ∴n(B) = 110 C แทนเซตของผูชมรายการ “ตีสิบ” ∴n(C) = 105 จะได n(A∩ B) = 40, n(A ∩ C) = 45, n(A∩B∩C) = 15 เขียนแผนภาพไดดังรูป 15 A(140) B(110) U(220) 25 C(105) 30 a b c จากแผนภาพ a + b + c = 80 แต a + b = 70 ∴ c = 10 จะได b = n(C) – c – 30 – 15 = 105 – 10 – 45 = 50 ดังนั้น ผูชมรายการโทรทัศนที่ชอบดูรายการอยางนอยสองรายการเทากับ 30 + 15 + 25 + 50 = 120 คน
  • 9. 8. จากการสํารวจการประกอบอาชีพการประมงทําสวนยางพาราและทําสวนผลไมของชาวบานใน หมูบานแหงหนึ่งของจังหวัดระยอง ซึ่งมีอยูทั้งหมด 108 ครอบครัวพบวา มี 38 ครอบครัว ไมไดประกอบอาชีพทั้งสามนี้ มี 16 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพทั้งสามนี้ มี 29 ครอบครัว ที่ประกอบอาชีพเพียงอยางเดียวในสามอยางนี้ ขอใดตอไปนี้เปนจํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้ 1. 25 2. 41 3. 45 4. 63 แนวคิด ให U แทนเซตของครอบครัวทั้งหมด ∴n(U) = 108 A แทนเซตของครอบครัวที่ไมไดประกอบอาชีพนี้ ∴n(A) = 38 B แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้ 1 อยาง ∴n(B) = 29 C แทนเซตของครอบครัวที่ประกอบอาชีพนี้อยางนอย 2 ใน 3 อยางนี้ จะได n(U) = n(A) + n(B) + n(C) ∴ n(C) = 108 – 38 - 29 = 41 ดังนั้น จํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองในสามอยางนี้เทากับ 41 ครอบครัว 9. นักการเมืองกลุมหนึ่งมี 50 คน แตละคนมีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรหรือสังคมศาสตร หรือศิลปศาสตรอยางนอยหนึ่งดาน จากแฟมประวัติพบอีกวามี 33 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษา ดานสังคมศาสตรและในจํานวนนี้มี 8 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย มี 17 คน ที่มีพื้นฐานการศึกษาทางดานศิลปศาสตรและในจํานวนนี้มี 2 คน ที่มีพื้นฐาน การศึกษาทางดานวิทยาศาสตรดวย ถาไมปรากฏวามีผูที่มีพื้นฐานการศึกษาทั้งดานสังคมศาสตร และศิลปศาสตรแลว นักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมีกี่คน 1. 25 คน 2. 20 คน 3. 18 คน 4. 10 คน แนวคิด ให A แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตร B แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานสังคมศาสตร C แทนเซตของนักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานศิลปศาสตร
  • 10. เขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอรไดดังนี้ 0 B (33) C (17) U 0 A 8 2 จากแผนภาพ จะเห็นไดวานักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรอยางเดียว มี 50 – 33 – 17 = 0 คน ดังนั้น นักการเมืองที่มีพื้นฐานการศึกษาดานวิทยาศาสตรมี 0 + 8 + 2 = 10 คน 10. นักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 50 คน แตละคนตองเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษ อยางนอย 1 วิชา ถามีนักเรียนเรียนวิชาคณิตศาสตร 29 คน และเรียนภาษาอังกฤษ 32 คน แลวจํานวนนักเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีจํานวนเทากับขอใด 1. 11 คน 2. 13 คน 3. 14 คน 4. 15 คน แนวคิด ให A แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาคณิตศาสตร ∴ n(A) = 29 B แทนเซตของนักเรียนที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ ∴ n(B) = 32 เมื่อ n(A ∪ B) = 50 คน ตองการหา n(A ∩B) = ? จาก n(A ∪ B) = n(A) + n(B) - n(A ∩B) แทนคาจะได 50 = 29 + 32 - n(A ∩B) ∴ n(A ∩B) = 29 + 32 – 50 = 11 ดังนั้น จํานวนนักเรียนที่เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและภาษาอังกฤษมีเทากับ 11 คน
  • 11. เก็งแนวขอสอบ O-Net เรื่อง เซต 1. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน ขอใดตอไปนี้ถูก 1. ถา A ∩ B = φ แลว A = φ และ B = φ 2. ถา A ∪ B = φ แลวไมจําเปนที่ A = φ และ B = φ 3. ถา A - B = φ แลว A = φ และ B = φ 4. ถา A ∩ B = A ∪ B แลว A = B ถาสับเซตทั้งหมดของเซต A คือ φ, {1}, {2}, {1, 2}2. และสับเซตทั้งหมดของ B คือ φ, {2}, {3}, {2, 3} แลว A ∩B คือเซตในขอใด 1. φ 2. {1} 3. {2} 4. {3} กําหนด A และ B เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน โดย n(A∩B) = 2 และ n(A∪B) = 103. แลวขอใดตอไปนี้เปนจํานวนสมาชิกของ B – A 1. 3 ตัว 2. 4 ตัว 3. 5 ตัว 4. 6 ตัว 4. กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. n(A∩B) = n(A) + n(B) – n(A ∪ B) ข. n(A∪B) = n(A - B) + n(A∩ B) + n(B – A) ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. ขอ ก. และ ขอ ข. ถูก 2. ขอ ก. ผิด และ ขอ ข. ถูก 3. ขอ ก. ถูก และ ขอ ข. ผิด 4. ขอ ก. และ ขอ ข. ผิด กําหนด A และ B เปนเซตใดๆ ถา n(A ∪ B) = 10, n(A - B) = 3 และ n(B - A) = 55. แลว n(A ∩B) เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
  • 12. 6. กําหนด A , B และ C เปนเซตใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U เดียวกัน และ n(A) = 50 , n(B) = 40 , n(C) = 30 , n(A ∩B) = 15 , n(B∩C) = 13 , n(A∩C) = 17 และ n(A ∪ B ∪ C) = 80 จงหา n(A ∩B∩C) 1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 7. ถา A , B เปนเซตอนันตและ C เปนเซตจํากัด แลวเซตในขอใดตอไปนี้เปนเซตอนันต 1. (A ∩ C) ∪ (B ∩C) 2. A ∪ (B∩C) 3. (C - B) ∪ (C - A) 4. (A∪B)∩C ให A = {φ, 0, 1, {1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A8. B คือคอมพลีเมนตของ A และ C คือคอมพลีเมนตของ P(A) จํานวนสมาชิกของ (B ∩C) ∪ (B∩C ) เทากับขอใด′ ′ 1. 12 2. 14 3. 16 4. 20 9. ในสํานักงานกาชาดสากลแหงหนึ่งมีเจาที่ 18 คน แตละคนพูดภาษารัสเซีย หรือ ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาฝรั่งเศส มีเพียงคนเดียวที่พูดภาษารัสเซีย ภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษไดทั้งสาม ภาษา มี 3 คนพูดภาษาฝรั่งเศสและภาษาอังกฤษได มี 13 คนที่พูดภาษารัสเซียได และใน 13 คนนี้มี 5 คนที่พูดภาษาอังกฤษได มี 9 คนที่พูดภาษาฝรั่งเศสได ไมมีเจาหนาที่คนใดที่ พูดภาษาอังกฤษไดเพียงภาษาเดียว มีเจาหนาที่กี่คนที่พูดภาษาฝรั่งเศสไดเพียงภาษาเดียว 1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 10. ในการสํารวจนักเรียนที่ไดฝกหัดวายน้ําเปน 3 เดือนมาแลว จํานวน 40 คน พบวาวายน้ํา ทากบได 20 คน วายน้ําทาผีเสื้อได 19 คน และวายไมไดไมวาทากบหรือทาผีเสื้อ 7 คน มีนักเรียนทั้งหมดกี่คนที่สามารถวายน้ําไดทั้งทากบและทาผีเสื้อ 1. 4 2. 6 3. 8 4. 10
  • 13. เฉลยเก็งแนวขอสอบ O-Net เรื่อง เซต 1. ขอ 4 2. ขอ 3 3. ขอ 2 4. ขอ 1 5. ขอ 2 6. ขอ 1 7. ขอ 2 8. ขอ 3 9. ขอ 2 10. ขอ 2 พบกับเฉลยละเอียดไดที่… MATH HOUSE โทร 02-413-2556 -7