SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
แผนการสอนประจําสัปดาหที่ 2
หัวขอเรื่อง ความเปนสถาบันและคณะผูบริหารองคกรพัฒนาเอกชน
รายละเอียด 1. หนาที่ของคณะกรรมการ
2. อาณัตและวิธีการทํางาน
3. การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการแกไขปญหา
4. องคประกอบของกรรมการบริหาร
5. ระยะเวลาของกรรมการบริหาร
6. การทําหนาที่ การดํารงตําแหนงของกรรมการบริหาร
องคกรพัฒนาเอกชน
จํานวนชั่วโมงที่สอน 3 ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. ทดสอบกอนเขาสูกระบวนการเรียนการสอน
2. บรรยายเพื่อใหเกิดความเขาใจในภาพรวมของการศึกษาวิธีการศึกษา ขอตกลงและกติกา
ในการประเมินผล การเก็บคะแนน
3. มอบหมายงานกลุม
4. การจัดกลุมรับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย
5. การซักถามและแลกเปลี่ยนเรียนรู
6. การบรรยายเนื้อหาวิชา
สื่อการสอน
1. การบรรยาย
2. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
3. จัดการเรียนรูโดยใชสื่อตางๆ เชน Power Point media website
แผนการประเมินผลการเรียนรู
1. ผลการเรียนรู
1.1 การประเมินผลกอนการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหทราบพื้นฐานของนักศึกษา
แตละคนและเพื่อนําไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนรูเมื่อจบรายวิชา
1.2 การประเมินผลความเขาใจในเนื้อหาวิชา
1.3 การประเมินผลการมีสวนรวมในการแสดงความเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู
2. วิธีการประเมินผลการเรียนรู
2.1 การทดสอบกอนการเรียนการสอนผูสอนใชแบบทดสอบความรูกอนการจัดการ
เรียนการสอน
2.2 การทดสอบยอยในเนื้อหาวิชาที่มีการบรรยายในชั่วโมง
2.3 การประเมินการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู
3. สัดสวนของการประเมิน (5 คะแนน)
3.1 การประเมินผลกอนการเรียนการสอนไมมีคะแนน
3.2 การประเมินความเขาใจรอยละ 60
3.3 การประเมินการมีสวนรวม การแลกเปลี่ยนเรียนรูรอยละ 40
เนื้อหาที่สอน ความเปนสถาบันคณะผูบริหารองคกรพัฒนาเอกชน
ความตองการขององคกรพัฒนาเอกชนซึ่งเปนองคกรไมแสวงหาผลกําไรและที่ไมใชภาครัฐ
(เอ็นจีโอ) คือการเพิ่มประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล หนึ่งในหลายวิธีจะนําไปสูการประสบ
ความสําเร็จ คือการสรางความเขมแข็งของของพวกเขาทางการบริหารการเพิ่มประสิทธิภาพทางการ
บริหารของคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งจะนําไปสูความสําเร็จโดยการรวมกันนําองคกรและ
ผูนําที่มีความสนใจรวมกันในการทํางานความสามารถในการสรางความสามารถโดยการฝกอบรม
และการจัดการการพัฒนาและเครื่องมือการกํากับดู
แลที่ดีและมีประสิทธิภาพ
พื้นฐานที่ดีของคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน ดานการบริหารจัดการที่จะนําพาองคกร
ไปสูการประสบความสําเร็จขององคกร คือ การทําความเขาใจโครงสรางองคกรขององคกรพัฒนา
เอกชนและยังชวยในการกระจายความรับผิดชอบระหวางสมาชิกในทีมภายในองคกรเอ็นจีโอ
เนื่องจาก เปาหมายของการบริหารจัดการองคกรและเปาหมายตอกิจกรรมขององคกรพัฒนาเอกชน
ไมใชสิ่งเดียวกัน
คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนที่อาจจะเรียกชื่อแตกตางกัน เชน คณะกรรมการกํากับ
การทํางาน (Steering Committee) คณะกรรมการอํานวยการ (Broad of Diractors) กลุมงานที่
ปรึกษา (Advosory) ฯลฯ คําวา "คณะกรรมการจะใชสลับกันและรวมกันหมายถึงสิ่งเหลานี้ การ
เรียกชื่อของคณะกรมการอาจจะมีรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือผสมผสานรูปแบบตาง ๆ เขาดวยกันไม
มีรูปแบบตายตัว
2.1 หนาที่ของคณะกรรมการ
หนาที่ของคณะกรมการองคกรพัฒนาเอกชนเปนหนาที่ที่ตองตอบสนองตอภาคสาธารณะ
และตอบสนองตอเปาหมายความตองการของผูสนับสนุนเงินทุนหรือเพื่อใหเกิดการการตัดสินใจของ
เจาของกองทุน ดังนั้น หนาที่ของคณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนจึงไดแก
1. จัดทํานโยบาย กลยุทธเพื่อการบริหารจัดการทั้งการบริหารจัดการองคกร และการบริหาร
จัดการตามเปาหมายของกิจกรรมการพัฒนา
2. กําหนดหลักเกณฑ ขอบเขตของกิจกรรมการปฏิบัติที่องคกรพัฒนาเอกชนจะตองทํา
3. กําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานและแผนการทํางาน
4. จัดทําแผนงบประมาณเพื่อใหเปนไปตามการใชจายเงินตามแนวนโยบายและแผนงานตาม
เปาประสงคในการพัฒนา
การที่จะทําใหการทํางานภายในองคกรขององคกรพัฒนาเอกชน เปนไปโดยราบรื่น
จําเปนตองกําหนดเกณฑสําหรับสมาชิก การกําหนดแนวทางการตรวจสอบ การสรางความเขาใจการ
สรางความสนใจเพื่อดึงดูดอาสาสมัคร และ / หรือ กลุมสนับสนุนเขามารวมงาน นอกจากนี้ยังอาจ
ตองสรางกรอบการทํางานสําหรับการตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานเปนระยะๆ นอกจากนั้น
ยังตองกําหนดกรอบความรับผิดชอบ การตรวจสอบทางการเงินและกรอบของกิจกรรมเพื่อใหการ
ปฏิบัติงานโดยรวมขององคกรพัฒนาเอกชนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามความ
ตองการจากผูสนับสนุนดานทุน
บทบาทสําคัญประการหนึ่งของทั้งกรรมการบริหารและสมาชิกขององคกรพัฒนาเอกชนคือ
การเปนตัวแทนขององคกรที่มีตอชุมชน ภาพของการเปนตัวแทนขององคกร มีหลายลักษณะ ไมวา
จะเปนลักษณะของการเปนตัวแทนขององคกรที่มีอยูในองคกร หรือลักษณะของความสัมพันธกับ
สวนตางๆภายนอกองคกรไดแก การประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ การสนับสนุนการ
ทํางานขององคกรพัฒนาเอกชน อํานาจในการจัดการทรัพยากรเปนตน
ขอผูกมัดประการแรกที่คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนที่ตองทําคือ การพิจารณา
กลุมเปาหมาย ซึ่งเปนประชาชนในชุมชน ซึ่งคณะกรรมการระดับสูงขององคกรพัฒนาเอกชน
จําเปนตองนําเสนอกิจกรรมเพื่อสรางความเขาใจตอชุมชนถึงกิจกรรมขององคกรพัฒนาเอกชน ใน
บางขณะ คณะกรรมการจําเปนตองพิจารณาถึงปญหาที่แทจริงของชุมชนและเปดการรับฟงความ
คิดเห็นของชุมชนเพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการตัดสินและเปนแนวทางในการสรางทางเลือกเพื่อ
การแกไขปญหาใหกับชุมชน
การกําหนดตําแหนงหนาที่ภายในคณะกรรมการบริหารจัดการขององคกรพัฒนาเอกชน ซึ่มี
การกําหนดหี้การเลือกสรร ประธานหรือผูบริหารสูงสุด คณะกรรมการทํางานและตองจัดใหมีกลุม
ทํางานเพื่อที่จะไดเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชน
2.2 อาณัติและวิธีการทํางาน
ในการกําหนดกรอบการทํางาน ขอบังคับ การปกครองดูแลสมาชิกในองคกร การมอบหมาย
งาน คือ พันธะหนาที่และขอผูกมัดของคณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชน จากคําถามใน
ประเด็นที่วา อะไรคือ อาณัติและวิธีการทํางานของคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน สามารถ
อธิบายไดวา คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนจําเปนตองเขามามีสวนรวมเพื่อประชุมรวมกัน
ในเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานดานตาง ๆ การศึกษาเอกสารขอมูล ขอบังคับ การจัดสรรหนาที่
ความรับผิดชอบซึ่งจะทําใหเกิดประโยชนตอกระบวนการการตัดสินใจ คณะกรรมการขององคกร
พัฒนาเอกชน อาจคาดหวังที่จะนําการติดตอสื่อสารเพื่อใชในการเปนกลไกในการประชุม เชน การ
ประชุมผานระบบออนไลน อุปกรณการประชุมที่จําเปนในการนําเสนอ ไดแก ระบบเครื่องฉายไสด
คอมพิวเตอรเปนตน ระบบดังกลาว สามารถทําใหเกิดระบบเครือขายในการทํางานระหวาง
คณะกรรมการรวมกัน หรือระหวางองคกรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ
คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชน มีหนาที่ในการเขาไปมีสวนรวมกับตัวแทนของชุมชน
เพื่อการกําหนดกรอบการทํางาน การปฏิบัติงาน การปะเมินผลของนโยบาย แผนงานในทุกระดับ
ขององคกรพัฒนาเอกชน โดยจะมีการจัดสรรทรัพยากรใหแกชุมชน อยางเหมาะสมและเปนธรรม
ภายใตพื้นฐานประเด็นที่ทั้งชุมชนและองคกรพัฒนาเอกชนจะขับเคลื่อนไปดวยกันหนาที่อีกประการ
หนึ่งคือ การศึกษาขอมูลภายในชุมชนเพื่อใชมาเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนาและการแกไขปญหา
รวมกับชุมชน การนําขอมูลทีศึกษาวิเคราะหเพื่อใหไดประเด็นสําคัญของปญหา (Key Issues)
รวมทั้ง นําไปจัดทําเอกสารเพื่อใชในการบริหารจัดการการพัฒนา ทั้งนี้ คณะกรรมการขององคกร
พัฒนาเอกชน จะทําหนาที่ในการเปนที่ปรึกษา และเปนผูรายงานปญหาแกผูนําองคกรชุมชนรวมทั้ง
ทําหนาที่ในการเปนที่ปรึกษาใหแก สมาชิกองคกรพัฒนาเอกชน สมาชิกของชุมชนที่เขารวม
ปฏิบัติงานในแผนงาน และโครงการที่องคกรพัฒนาเอกชนจัดทําขึ้น
2.3 การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและการแกไขปญหา
การพิจารณาเลือกสรรคณะกรรมการบริหารจัดการองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งจะทําหนาที่ใน
การในการวางเปาหมายของการปฏิบัติงาน ทําหนาที่ในการตัดสินใจและการวางแผนตลอดจน การ
วางแนวทางของทางเลือกที่ดีที่สุด เพื่อตอบสนองความตองการในการพัฒนาและการแกไขปญหาของ
ชุมชนไดอยางเกิดประสิทธิผล ดังนั้น การพิจารณาคณะกรรมการดําเนินงานจึงตองพิจารณาจาก
คุณสมบัติตาง ๆ ดังนี้
1. ผูบริหารจําเปนตองมีความรูความเขาใจในขอบเขตของงานที่ทําและมีความเขาใจถึง
ขอบเขตการทํางานององคกรภาครัฐที่ไมหวังผลกําไรและองคกรที่ไมหวังผลกําไร (NGP/NPO: Non
Government Profit or Non Profit Organization) และโอกาสขององคกรที่เปนไปไดในปจจุบัน
2. ความสามารถที่จะนําไปสูจุดแข็งของคณะกรรมการ ซึ่งก็คือความเขาใจในประเด็นตางๆ
ทั้งที่เปนประเด็นขององคกรพัฒนาเอกชนและประเด็นที่เกี่ยวของ
3. มีประสบการณและความรับผิดชอบในบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการการที่จะทําใหงาน
ตาง ๆ บรรลุผสําเร็จ
4. มีประสบการณในการนําเสนอประเด็นปญหาที่มีความสัมพันธกับองคกรพัฒนาเอกชนซึ่ง
เกี่ยวของกับกลุมเปาหมาย พื้นที่และประเด็นที่เกี่ยวของกับกลุมเปาหมายที่เปนชุมชนภายใตความ
รับผิดชอบขององคกรพัฒนาเอกชน
การกําหนดระยะเวลาของการทํางานขั้นต่ําในการทํางานกับชุมชนจําเปนตองมีการกําหนด
ระยะเวลาขั้นต่ําที่แนนอน โดยสวนใหญ ระยะเวลาที่นํามากําหนดคือ ระยะเวลายาวนานหลายป
ทั้งนี้ เนื่องจากอุปกรณตาง ๆ ดานสํานักงานที่ใชในการติดตอสื่อสาร เทคโนโลยี ( Fax, Telephone
E-Mail เปนตน ) ที่ทันสมัยเปนสิ่งที่จําเปนเนื่องจากจะทําใหเกิดความรวมมือในการดําเนินงาน
ความสามารถของคณะกรรมการบริหารจัดการองคกรพัฒนาเอกชนที่คาดหวังคือ
ความสามารถในการเปนตัวแทนและสงเสริมความเปนองคกรสาธารณะขององคกรพัฒนาเอกชน
สมาชิกคณะกรรมการที่เปนตัวแทนของชุมชนองคกรพัฒนาเอกชน ตองมีความสามารถในการจัดการ
ทีมงาน และความสามารถในการทํางานเปนทีม ซึ่งจะตองคํานึงถึงความละเอียดออนดานเพศรวมทั้ง
ตองมีทักษะการเจรจาทางการทูต การเจรจาเชิงกลยุทธรวมทั้งความสามารถในการคิดและการ
ทํางานเชิงกลยุทธ คณะกรมการบริหารตองมีความสามารถในการทํางานซึ่งตองใชภาษาตางประเทศ
และทองถิ่น และยังมีการเชื่อมโยงกับองคกรที่สามารถอํานวยความสะดวกในการสื่อสารและการ
ประสานงานและใหการใหคําปรึกษาและการสนับสนุน
2.4 องคประกอบของกรรมการบริหาร
คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนมักจะมีจํานวน 10 -15 คน ผูบริหารองคกรสูงสุดอาจ
เรียกวา ผูอํานวยการ ประธานองคกร หรือหัวหนาองคกร โดยมีกรรมการดานตางๆ เชน เหรัญญิกทํา
หนาที่การเงินและการบัญชี และตําแหนงอื่น ๆ ไดแก ประชาสัมพันธ ฝายกิจกรรมโครงการ และฝาย
อื่น ๆ ซึ่ง กําหนดใหงานที่เฉพาะเจาะจง / ประเด็นที่เกี่ยวของกับองคกรพัฒนาเอกชนของพื้นที่
โครงการ ตําแหนงสมาชิกซึ่งเปนกรรมการมีหนาที่ตาง ๆ ในพื้นที่ ทั้งนี้อาจจะมีการหมุนเวียนการทํา
หนาที่และ/ หรือมีการทดแทนหากมีตําแนงใดตําแหนงหนึ่งวางลง
ตารางที่ 2.1 คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน (คณะกรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส)
รายชื่อคณะกรรมการกพอ.ระดับชาติ
วาระการทํางาน 4 ป กุมภาพันธ 2553 – กุมภาพันธ 2556
1. คุณสุภัทรา นาคะผิว มูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส ประธาน
2. คุณสุภาพร ถิ่นวัฒนากูล มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา(ภาคเหนือ) กรรมการ
3. คุณลําดวน มหาวัน มูลนิธิพัฒนาเครือขายเอดส ภาคเหนือ กรรมการ
4. คุณสุรางค จันทรแยม มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ(ภาคกลาง) เหรัญญิก
5. คุณนิมิตร เทียนอุดม มูลนิธิเขาถึงเอดส(ภาคกลาง) กรรมการ
6. คุณมีนา ดวงราษี มูลนิธิเพื่อสุขภาพชุมชน(ภาคอีสาน) กรรมการ
7. คุณฤทัยรัตน มณีสาย เครือขายอาสาสมัครปองกันเอดส (ภาคอีสาน)กรรมการ
8. คุณจํารอง แพงหนองยาง มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ(ภาคต.ออก) กรรมการ
9. คุณปยะ เหลาฤทธิไกร ศูนยคริสเตียนบริการไมตรีจิต(ภาคต.ออก) กรรมการ
10. คุณลัดดา นิเงาะ บานโอโซน สงขลา(ภาคใต) กรรมการ
11. คุณการิม เก็บกาเม็น ศูนยฟนฟูคุณภาพชิวิต อ.ละงู จ.สตูล(ภาคใต) กรรมการ
12. คุณอภิวัฒน กวางแกว เครือขายผูติดเชื้อเอชไอวีเอดส ประเทศไทย
ที่มา : คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556
ตัวอยางคณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนของไทย (รายนามที่ปรากฏเปนรายนามซึ่ง
เผยแพรในโครงสรางองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งใชการศึกษาเทานั้น) ซึ่งเมือพิจารณารายชื่อ
คณะกรรมการชุดเดิม ซึ่งเคยดํารงตําแหนงและหมดวาระไปแลว จะพบวา จํานวนของคณะกรรมการ
มีจํานวนลดลง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเหมาะสมและกิจกรรมที่มีอยู
ตารางที่ 2.2 รายชื่อคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน กพอ. ชุดเดิม
รายชื่อคณะกรรมการ กพอ. ชุดเดิม
1. สุภัทรา นาคะผิว ประธาน
2. สุภาพร ถิ่นวัฒนากูล รองประธาน
3. รอซีดี เลิศอริยะพงษกุล รองประธาน
4. สุรางค จันทรแยม กรรมการ
5. นิมิตร เทียนอุดม กรรมการ
6. วิทยา แทนสูงเนิน กรรมการ
7. น้ําผึ้ง แปลงเรือน กรรมการ
8. พงศธร จันทรเลื่อน กรรมการ
9. มีนา ดวงราษี กรรมการ
10. บริพัตร ดอนมอญ กรรมการ
11. จํารอง แพงหนองยาง กรรมการ
12. ณัฐพงษ ศุขศิริ กรรมการ
13. นิ่มนวล แปะเงาสุข กรรมการ
14. กานดา พูลสง กรรมการ
15. ธีรวุฒิ วรฉัตร กรรมการ
16. วิรัตน ภูระหงษ กรรมการ
ที่มา : คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556
นอกจากนั้น การมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบในการประสานงานของ จะเปนของ
สมาชิกองคกรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ ปฏิบัติงานขององคกรพัฒนาเอกชนซึ่งมีการเชื่อมโยงเปน
เครือขายองคกร เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และเพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน
ตารางที่ 2.3 รายชื่อผูประสานงาน กพอ. ในระดับพื้นที่
พื้นที่ ผูประสานงาน ที่อยูติดตอ
กพอ.ภาคเหนือ อัญชลี จอมธัญ ที่อยู225/112 หมูบานสินธนา ต.สันพระเนตร อ.สันทราย จ.
เชียงใหม 50210
โทรศัพท/โทรสาร 053-350683, โทรศัพทเคลื่อนที่ 089-
7568766
Email : Northern.ngo@gmail.com
กพอ.ภาคกลาง ชยุตม ศิรินันท
ไพบูลย
โทรศัพทเคลื่อนที่ 08 6008 6004
Email: Ocean_msm@hotmail.com
กพอ.ภาคอีสาน สุมาลี พรหม
สะดวก
ที่อยู 43/1 ถ.พรหมเทพ ซ.โดนไข3 ต.ในเมือง จ.สุรินทร
32000
โทรศัพท 0-4451-3257 โทรสาร 0-4452-0821
Email : sumalee_02@windowslive.com
กพอ.ภาคใต กานดา พูลสูง โทรศัพทเคลื่อนที่ 08 8398 7061
Email : pu-kanda@hotmail.com
กพอ.ชาติ กาญจนา แถลง
กิจ
วัชราภรณ วงคีรี
494 ซ.ลาดพราว 101 (นครไทย 11)
ถ.ลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240
โทรศัพท 02-3775255 โทรสาร 02-3779719
โทรศัพทเคลื่อนที่ 08-6 332- 8130
Email : tnca@tncathai.org ,nunakitty@gmail.com
ที่มา : คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556
จากตาราง จะพวา การประสานงานขององคกรพัฒนาเอกชน จากระดับชาติไปสูระดับพื้นที่
จะอาศัยเครื่องติดตอสื่อสาร ที่ใหผลลัพธตอการปฏิบติงานไดอยางรวดเร็ว
2.5 ระยะเวลาของกรรมการบริหาร
ระยะเวลาในการบริหารจัดการองคกรพัฒนาเอกชนโดยทั่วไป จะดํารงตําแหนงเปน
ระยะเวลา 1- 3 ป หรืออาจเปน ระยะเวลา 4 ป ตามดุลพินิจหรือขอตกลงซึ่งกระทําไวกับสมาชิก
ขององคกร ทั้งนี้ ระยะเวลาดํารงตําแหนงดังกลาว จะปรากฏในโครงสรางการดําเนินงาน ที่ใช
นําเสนอเพื่อรับการสนับสนุนดานทรัพยากรและเงินทุน
2.6 การทําหนาที่ การดํารงตําแหนงของกรรมการบริหาร องคกรพัฒนาเอกชน
เนื่องจากลักษณะของการทํางานและการมีสวนรวมในการทํางานของคณะกรรมการองคกร
พัฒนาเอกชนซึ่งไดวางหลักเกณฑสําหรับการปฏิบัติหนาที่การทํางาน ซึ่งทําใหอาจเกิดชะงักของการ
ปฏิบัติหนาที่อันเนื่องสาเหตุหลายประการ เชน การลาออกลาออก ไมไดรับการสนับสนุนสงเสริม
จากองคกรที่ปฏิบัติงาน หรือไมไดรับความปลอดภัยในการปฏิบัติหนาที่ หรือไมสามารถที่จะ
ดําเนินการตามที่ไดใหขอตกลงกัน ไมสามารถที่จะทํางานรวมกับสมาชิกในคณะกรรมการองคกร
พัฒนาเอกชนอื่น ๆ ที่เปนสวนหนึ่งของทีม หรือ มีทัศนะคติที่กอใหเกิดความความขัดแยงตอ
นโยบายขององคกร
2.7 สรุป
องคกรพัฒนาเอกชนถือเปนองคกรภาคประชาชนองคกรหนึ่ง เนื่องจาก การทํางานของ
องคกรพัฒนาเอกชนเปนการทํางานมุงกลุมเปาหมายที่เปนชุมชน โดยลักษณะการทํางาน จะทํางาน
โดยเขาไปมีสวนรวมกับชุมชน และประสานรวมมือกับหนวยงานสาธารณะตางๆ ดังนั้น ผูบริหารซึ่ง
ประกอบขึ้นเปนคณะกรรมการบริหารงาน จึงตองมีคุณสมบัติที่สามารถปฏิบัติเพื่อตอบสนองความ
ตองการของทั้งภาคประชาชน ผูสนับสนุนทรัพยากร และหนวยงานซึ่งตองประสานและทําหนาที่
คอยสนับสนุน
แบบฝกหัด
ตอบและอธิบายคําถามตอไปนี้
1. องคกรพัฒนาเอกชนถือเปนองคกรภาคประชาชนองคกรหนึ่ง จงใหเหตุผลตอประเด็น
ดังกลาว
2. คณะกรรมการบริหารองคกรพัฒนาเอกชนมีหนาที่อะไรบาง
3. อภิปรายประเด็นอาณัติและวิธีการทํางานขององคกรพัฒนาเอกชน
4. หนาที่สําคัญของคณะผูบริหารขององคกรพัฒนาเอกชนคืออะไร
5. องคประกอบของคณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการบริหารองคกรพัฒนาเอกชน
6. นักศึกษาอภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นตาง ๆ ตอไปนี้
6.1 หนาที่ในการตัดสินใจและการวางแผนตลอดจนการวางแนวทางของทางเลือกที่
ดีที่สุดในการดําเนินการขององคกรพัฒนาเอกชน
6.2 ความสามารถในการเปนตัวแทนและสงเสริมความเปนองคกรสาธารณะของ
องคกรพัฒนาเอกชน
6.3 หนาที่ในการตองตอบสนองตอภาคสาธารณะและตอบสนองตอเปาหมายความ
ตองการของผูสนับสนุนเงินทุนหรือเพื่อใหเกิดการการตัดสินใจของเจาของกองทุน ดังนั้น หนาที่ของ
คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนจึง
6.4 ความสามารถในการจัดการทีมงาน และความสามารถในการทํางานเปนทีม
6.5 ความรูความเขาใจในขอบเขตของงานที่ทําและมีความเขาใจถึงขอบเขตการ
ทํางานององคกรภาครัฐที่ไมหวังผลกําไรและองคกรที่ไมหวังผลกําไร (NGP/NPO: Non
Government Profit or Non Profit Organization) ของผูบริหาร
อางอิง
ภาษาไทย
คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556. Retrieved 27 สิงหาคม, 2558, from
http://www.tncathai.org/aboutus-committee.html
ภาษาอังกฤษ
B. Arts, M. Noortmann and B. Reinalda (eds.) (2001), Non-State Actors in International
Relations, (Aldershot: Ashgate).
Chiang Pei-heng (1981), Non-Governmental Organizations at the United
Nations. Identity, Role and Function, (New York: Praeger). [An important early
study of the origins and operation of the consultative arrangements in
ECOSOC.].
D. Josselin and W. Wallace (eds.) (2001), Non-State Actors in World Politics,
(Houndmills: Palgrave).
M. Edwards and J. Gaventa (eds.) (2001), Global Citizen Action, (Boulder: Lynne
Rienner). [A major collection of essays on global issue-based networks.]
J. Fisher (1998, Nongovernments. NGOs and the Political Development of the Third
World, West Hartford: Kumarian Press).
P. J. Nelson (1995), The World Bank and Non-Governmental Organizations. The
Limits of Apolitical Development, (New York: St. Martin's Press and
Houndmills: Macmillan Press).

More Related Content

What's hot

รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผลsasiton sangangam
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูokTophit Sampootong
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบSakda Hwankaew
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษากลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาจุลี สร้อยญานะ
 
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปีแผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปีthongtaneethongtanee
 
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้แอ้ม แอ้ม
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 

What's hot (16)

รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
รายงานโมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
12กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและวัดผลประเมินผล
 
6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok6 สมรรถนะของครูok
6 สมรรถนะของครูok
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
1 7
1   71   7
1 7
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษากลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา
 
แผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปีแผนอัตรากำลัง3ปี
แผนอัตรากำลัง3ปี
 
ตัวอย่าง Id plan
ตัวอย่าง  Id planตัวอย่าง  Id plan
ตัวอย่าง Id plan
 
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power Point แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
แผนพัฒนาบุคลากร ปี 54
 

Viewers also liked

สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Viewers also liked (17)

สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
 
กฎหมาครอบคัว การสมรส
กฎหมาครอบคัว การสมรสกฎหมาครอบคัว การสมรส
กฎหมาครอบคัว การสมรส
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word บรรณานุกรม
Microsoft word   บรรณานุกรมMicrosoft word   บรรณานุกรม
Microsoft word บรรณานุกรม
 
สบู่
สบู่สบู่
สบู่
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 

Similar to สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน

การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54นู๋หนึ่ง nooneung
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01pannee
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)Wanchart Rojjanaratn
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 

Similar to สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน (20)

R2R
R2RR2R
R2R
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
เอกสารการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาตามแผนการจัดการความรู้ 54
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
.3
 .3  .3
.3
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2Cjpowerpoint2
Cjpowerpoint2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
จูน3
จูน3จูน3
จูน3
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (18)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 
Microsoft word ภาคผนวก
Microsoft word   ภาคผนวกMicrosoft word   ภาคผนวก
Microsoft word ภาคผนวก
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 

สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน

  • 1. แผนการสอนประจําสัปดาหที่ 2 หัวขอเรื่อง ความเปนสถาบันและคณะผูบริหารองคกรพัฒนาเอกชน รายละเอียด 1. หนาที่ของคณะกรรมการ 2. อาณัตและวิธีการทํางาน 3. การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการแกไขปญหา 4. องคประกอบของกรรมการบริหาร 5. ระยะเวลาของกรรมการบริหาร 6. การทําหนาที่ การดํารงตําแหนงของกรรมการบริหาร องคกรพัฒนาเอกชน จํานวนชั่วโมงที่สอน 3 ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ทดสอบกอนเขาสูกระบวนการเรียนการสอน 2. บรรยายเพื่อใหเกิดความเขาใจในภาพรวมของการศึกษาวิธีการศึกษา ขอตกลงและกติกา ในการประเมินผล การเก็บคะแนน 3. มอบหมายงานกลุม 4. การจัดกลุมรับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย 5. การซักถามและแลกเปลี่ยนเรียนรู 6. การบรรยายเนื้อหาวิชา สื่อการสอน 1. การบรรยาย 2. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 3. จัดการเรียนรูโดยใชสื่อตางๆ เชน Power Point media website แผนการประเมินผลการเรียนรู 1. ผลการเรียนรู 1.1 การประเมินผลกอนการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหทราบพื้นฐานของนักศึกษา แตละคนและเพื่อนําไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนรูเมื่อจบรายวิชา 1.2 การประเมินผลความเขาใจในเนื้อหาวิชา
  • 2. 1.3 การประเมินผลการมีสวนรวมในการแสดงความเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู 2. วิธีการประเมินผลการเรียนรู 2.1 การทดสอบกอนการเรียนการสอนผูสอนใชแบบทดสอบความรูกอนการจัดการ เรียนการสอน 2.2 การทดสอบยอยในเนื้อหาวิชาที่มีการบรรยายในชั่วโมง 2.3 การประเมินการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู 3. สัดสวนของการประเมิน (5 คะแนน) 3.1 การประเมินผลกอนการเรียนการสอนไมมีคะแนน 3.2 การประเมินความเขาใจรอยละ 60 3.3 การประเมินการมีสวนรวม การแลกเปลี่ยนเรียนรูรอยละ 40 เนื้อหาที่สอน ความเปนสถาบันคณะผูบริหารองคกรพัฒนาเอกชน ความตองการขององคกรพัฒนาเอกชนซึ่งเปนองคกรไมแสวงหาผลกําไรและที่ไมใชภาครัฐ (เอ็นจีโอ) คือการเพิ่มประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล หนึ่งในหลายวิธีจะนําไปสูการประสบ ความสําเร็จ คือการสรางความเขมแข็งของของพวกเขาทางการบริหารการเพิ่มประสิทธิภาพทางการ บริหารของคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งจะนําไปสูความสําเร็จโดยการรวมกันนําองคกรและ ผูนําที่มีความสนใจรวมกันในการทํางานความสามารถในการสรางความสามารถโดยการฝกอบรม และการจัดการการพัฒนาและเครื่องมือการกํากับดู แลที่ดีและมีประสิทธิภาพ พื้นฐานที่ดีของคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน ดานการบริหารจัดการที่จะนําพาองคกร ไปสูการประสบความสําเร็จขององคกร คือ การทําความเขาใจโครงสรางองคกรขององคกรพัฒนา เอกชนและยังชวยในการกระจายความรับผิดชอบระหวางสมาชิกในทีมภายในองคกรเอ็นจีโอ เนื่องจาก เปาหมายของการบริหารจัดการองคกรและเปาหมายตอกิจกรรมขององคกรพัฒนาเอกชน ไมใชสิ่งเดียวกัน คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนที่อาจจะเรียกชื่อแตกตางกัน เชน คณะกรรมการกํากับ การทํางาน (Steering Committee) คณะกรรมการอํานวยการ (Broad of Diractors) กลุมงานที่ ปรึกษา (Advosory) ฯลฯ คําวา "คณะกรรมการจะใชสลับกันและรวมกันหมายถึงสิ่งเหลานี้ การ เรียกชื่อของคณะกรมการอาจจะมีรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือผสมผสานรูปแบบตาง ๆ เขาดวยกันไม มีรูปแบบตายตัว
  • 3. 2.1 หนาที่ของคณะกรรมการ หนาที่ของคณะกรมการองคกรพัฒนาเอกชนเปนหนาที่ที่ตองตอบสนองตอภาคสาธารณะ และตอบสนองตอเปาหมายความตองการของผูสนับสนุนเงินทุนหรือเพื่อใหเกิดการการตัดสินใจของ เจาของกองทุน ดังนั้น หนาที่ของคณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนจึงไดแก 1. จัดทํานโยบาย กลยุทธเพื่อการบริหารจัดการทั้งการบริหารจัดการองคกร และการบริหาร จัดการตามเปาหมายของกิจกรรมการพัฒนา 2. กําหนดหลักเกณฑ ขอบเขตของกิจกรรมการปฏิบัติที่องคกรพัฒนาเอกชนจะตองทํา 3. กําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานและแผนการทํางาน 4. จัดทําแผนงบประมาณเพื่อใหเปนไปตามการใชจายเงินตามแนวนโยบายและแผนงานตาม เปาประสงคในการพัฒนา การที่จะทําใหการทํางานภายในองคกรขององคกรพัฒนาเอกชน เปนไปโดยราบรื่น จําเปนตองกําหนดเกณฑสําหรับสมาชิก การกําหนดแนวทางการตรวจสอบ การสรางความเขาใจการ สรางความสนใจเพื่อดึงดูดอาสาสมัคร และ / หรือ กลุมสนับสนุนเขามารวมงาน นอกจากนี้ยังอาจ ตองสรางกรอบการทํางานสําหรับการตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานเปนระยะๆ นอกจากนั้น ยังตองกําหนดกรอบความรับผิดชอบ การตรวจสอบทางการเงินและกรอบของกิจกรรมเพื่อใหการ ปฏิบัติงานโดยรวมขององคกรพัฒนาเอกชนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามความ ตองการจากผูสนับสนุนดานทุน บทบาทสําคัญประการหนึ่งของทั้งกรรมการบริหารและสมาชิกขององคกรพัฒนาเอกชนคือ การเปนตัวแทนขององคกรที่มีตอชุมชน ภาพของการเปนตัวแทนขององคกร มีหลายลักษณะ ไมวา จะเปนลักษณะของการเปนตัวแทนขององคกรที่มีอยูในองคกร หรือลักษณะของความสัมพันธกับ สวนตางๆภายนอกองคกรไดแก การประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ การสนับสนุนการ ทํางานขององคกรพัฒนาเอกชน อํานาจในการจัดการทรัพยากรเปนตน ขอผูกมัดประการแรกที่คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนที่ตองทําคือ การพิจารณา กลุมเปาหมาย ซึ่งเปนประชาชนในชุมชน ซึ่งคณะกรรมการระดับสูงขององคกรพัฒนาเอกชน จําเปนตองนําเสนอกิจกรรมเพื่อสรางความเขาใจตอชุมชนถึงกิจกรรมขององคกรพัฒนาเอกชน ใน บางขณะ คณะกรรมการจําเปนตองพิจารณาถึงปญหาที่แทจริงของชุมชนและเปดการรับฟงความ คิดเห็นของชุมชนเพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการตัดสินและเปนแนวทางในการสรางทางเลือกเพื่อ การแกไขปญหาใหกับชุมชน การกําหนดตําแหนงหนาที่ภายในคณะกรรมการบริหารจัดการขององคกรพัฒนาเอกชน ซึ่มี การกําหนดหี้การเลือกสรร ประธานหรือผูบริหารสูงสุด คณะกรรมการทํางานและตองจัดใหมีกลุม ทํางานเพื่อที่จะไดเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินงานขององคกรพัฒนาเอกชน
  • 4. 2.2 อาณัติและวิธีการทํางาน ในการกําหนดกรอบการทํางาน ขอบังคับ การปกครองดูแลสมาชิกในองคกร การมอบหมาย งาน คือ พันธะหนาที่และขอผูกมัดของคณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชน จากคําถามใน ประเด็นที่วา อะไรคือ อาณัติและวิธีการทํางานของคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน สามารถ อธิบายไดวา คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนจําเปนตองเขามามีสวนรวมเพื่อประชุมรวมกัน ในเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานดานตาง ๆ การศึกษาเอกสารขอมูล ขอบังคับ การจัดสรรหนาที่ ความรับผิดชอบซึ่งจะทําใหเกิดประโยชนตอกระบวนการการตัดสินใจ คณะกรรมการขององคกร พัฒนาเอกชน อาจคาดหวังที่จะนําการติดตอสื่อสารเพื่อใชในการเปนกลไกในการประชุม เชน การ ประชุมผานระบบออนไลน อุปกรณการประชุมที่จําเปนในการนําเสนอ ไดแก ระบบเครื่องฉายไสด คอมพิวเตอรเปนตน ระบบดังกลาว สามารถทําใหเกิดระบบเครือขายในการทํางานระหวาง คณะกรรมการรวมกัน หรือระหวางองคกรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชน มีหนาที่ในการเขาไปมีสวนรวมกับตัวแทนของชุมชน เพื่อการกําหนดกรอบการทํางาน การปฏิบัติงาน การปะเมินผลของนโยบาย แผนงานในทุกระดับ ขององคกรพัฒนาเอกชน โดยจะมีการจัดสรรทรัพยากรใหแกชุมชน อยางเหมาะสมและเปนธรรม ภายใตพื้นฐานประเด็นที่ทั้งชุมชนและองคกรพัฒนาเอกชนจะขับเคลื่อนไปดวยกันหนาที่อีกประการ หนึ่งคือ การศึกษาขอมูลภายในชุมชนเพื่อใชมาเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนาและการแกไขปญหา รวมกับชุมชน การนําขอมูลทีศึกษาวิเคราะหเพื่อใหไดประเด็นสําคัญของปญหา (Key Issues) รวมทั้ง นําไปจัดทําเอกสารเพื่อใชในการบริหารจัดการการพัฒนา ทั้งนี้ คณะกรรมการขององคกร พัฒนาเอกชน จะทําหนาที่ในการเปนที่ปรึกษา และเปนผูรายงานปญหาแกผูนําองคกรชุมชนรวมทั้ง ทําหนาที่ในการเปนที่ปรึกษาใหแก สมาชิกองคกรพัฒนาเอกชน สมาชิกของชุมชนที่เขารวม ปฏิบัติงานในแผนงาน และโครงการที่องคกรพัฒนาเอกชนจัดทําขึ้น 2.3 การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและการแกไขปญหา การพิจารณาเลือกสรรคณะกรรมการบริหารจัดการองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งจะทําหนาที่ใน การในการวางเปาหมายของการปฏิบัติงาน ทําหนาที่ในการตัดสินใจและการวางแผนตลอดจน การ วางแนวทางของทางเลือกที่ดีที่สุด เพื่อตอบสนองความตองการในการพัฒนาและการแกไขปญหาของ ชุมชนไดอยางเกิดประสิทธิผล ดังนั้น การพิจารณาคณะกรรมการดําเนินงานจึงตองพิจารณาจาก คุณสมบัติตาง ๆ ดังนี้ 1. ผูบริหารจําเปนตองมีความรูความเขาใจในขอบเขตของงานที่ทําและมีความเขาใจถึง ขอบเขตการทํางานององคกรภาครัฐที่ไมหวังผลกําไรและองคกรที่ไมหวังผลกําไร (NGP/NPO: Non Government Profit or Non Profit Organization) และโอกาสขององคกรที่เปนไปไดในปจจุบัน 2. ความสามารถที่จะนําไปสูจุดแข็งของคณะกรรมการ ซึ่งก็คือความเขาใจในประเด็นตางๆ ทั้งที่เปนประเด็นขององคกรพัฒนาเอกชนและประเด็นที่เกี่ยวของ
  • 5. 3. มีประสบการณและความรับผิดชอบในบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการการที่จะทําใหงาน ตาง ๆ บรรลุผสําเร็จ 4. มีประสบการณในการนําเสนอประเด็นปญหาที่มีความสัมพันธกับองคกรพัฒนาเอกชนซึ่ง เกี่ยวของกับกลุมเปาหมาย พื้นที่และประเด็นที่เกี่ยวของกับกลุมเปาหมายที่เปนชุมชนภายใตความ รับผิดชอบขององคกรพัฒนาเอกชน การกําหนดระยะเวลาของการทํางานขั้นต่ําในการทํางานกับชุมชนจําเปนตองมีการกําหนด ระยะเวลาขั้นต่ําที่แนนอน โดยสวนใหญ ระยะเวลาที่นํามากําหนดคือ ระยะเวลายาวนานหลายป ทั้งนี้ เนื่องจากอุปกรณตาง ๆ ดานสํานักงานที่ใชในการติดตอสื่อสาร เทคโนโลยี ( Fax, Telephone E-Mail เปนตน ) ที่ทันสมัยเปนสิ่งที่จําเปนเนื่องจากจะทําใหเกิดความรวมมือในการดําเนินงาน ความสามารถของคณะกรรมการบริหารจัดการองคกรพัฒนาเอกชนที่คาดหวังคือ ความสามารถในการเปนตัวแทนและสงเสริมความเปนองคกรสาธารณะขององคกรพัฒนาเอกชน สมาชิกคณะกรรมการที่เปนตัวแทนของชุมชนองคกรพัฒนาเอกชน ตองมีความสามารถในการจัดการ ทีมงาน และความสามารถในการทํางานเปนทีม ซึ่งจะตองคํานึงถึงความละเอียดออนดานเพศรวมทั้ง ตองมีทักษะการเจรจาทางการทูต การเจรจาเชิงกลยุทธรวมทั้งความสามารถในการคิดและการ ทํางานเชิงกลยุทธ คณะกรมการบริหารตองมีความสามารถในการทํางานซึ่งตองใชภาษาตางประเทศ และทองถิ่น และยังมีการเชื่อมโยงกับองคกรที่สามารถอํานวยความสะดวกในการสื่อสารและการ ประสานงานและใหการใหคําปรึกษาและการสนับสนุน 2.4 องคประกอบของกรรมการบริหาร คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนมักจะมีจํานวน 10 -15 คน ผูบริหารองคกรสูงสุดอาจ เรียกวา ผูอํานวยการ ประธานองคกร หรือหัวหนาองคกร โดยมีกรรมการดานตางๆ เชน เหรัญญิกทํา หนาที่การเงินและการบัญชี และตําแหนงอื่น ๆ ไดแก ประชาสัมพันธ ฝายกิจกรรมโครงการ และฝาย อื่น ๆ ซึ่ง กําหนดใหงานที่เฉพาะเจาะจง / ประเด็นที่เกี่ยวของกับองคกรพัฒนาเอกชนของพื้นที่ โครงการ ตําแหนงสมาชิกซึ่งเปนกรรมการมีหนาที่ตาง ๆ ในพื้นที่ ทั้งนี้อาจจะมีการหมุนเวียนการทํา หนาที่และ/ หรือมีการทดแทนหากมีตําแนงใดตําแหนงหนึ่งวางลง
  • 6. ตารางที่ 2.1 คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน (คณะกรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส) รายชื่อคณะกรรมการกพอ.ระดับชาติ วาระการทํางาน 4 ป กุมภาพันธ 2553 – กุมภาพันธ 2556 1. คุณสุภัทรา นาคะผิว มูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส ประธาน 2. คุณสุภาพร ถิ่นวัฒนากูล มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา(ภาคเหนือ) กรรมการ 3. คุณลําดวน มหาวัน มูลนิธิพัฒนาเครือขายเอดส ภาคเหนือ กรรมการ 4. คุณสุรางค จันทรแยม มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ(ภาคกลาง) เหรัญญิก 5. คุณนิมิตร เทียนอุดม มูลนิธิเขาถึงเอดส(ภาคกลาง) กรรมการ 6. คุณมีนา ดวงราษี มูลนิธิเพื่อสุขภาพชุมชน(ภาคอีสาน) กรรมการ 7. คุณฤทัยรัตน มณีสาย เครือขายอาสาสมัครปองกันเอดส (ภาคอีสาน)กรรมการ 8. คุณจํารอง แพงหนองยาง มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ(ภาคต.ออก) กรรมการ 9. คุณปยะ เหลาฤทธิไกร ศูนยคริสเตียนบริการไมตรีจิต(ภาคต.ออก) กรรมการ 10. คุณลัดดา นิเงาะ บานโอโซน สงขลา(ภาคใต) กรรมการ 11. คุณการิม เก็บกาเม็น ศูนยฟนฟูคุณภาพชิวิต อ.ละงู จ.สตูล(ภาคใต) กรรมการ 12. คุณอภิวัฒน กวางแกว เครือขายผูติดเชื้อเอชไอวีเอดส ประเทศไทย ที่มา : คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556
  • 7. ตัวอยางคณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนของไทย (รายนามที่ปรากฏเปนรายนามซึ่ง เผยแพรในโครงสรางองคกรพัฒนาเอกชน ซึ่งใชการศึกษาเทานั้น) ซึ่งเมือพิจารณารายชื่อ คณะกรรมการชุดเดิม ซึ่งเคยดํารงตําแหนงและหมดวาระไปแลว จะพบวา จํานวนของคณะกรรมการ มีจํานวนลดลง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเหมาะสมและกิจกรรมที่มีอยู ตารางที่ 2.2 รายชื่อคณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชน กพอ. ชุดเดิม รายชื่อคณะกรรมการ กพอ. ชุดเดิม 1. สุภัทรา นาคะผิว ประธาน 2. สุภาพร ถิ่นวัฒนากูล รองประธาน 3. รอซีดี เลิศอริยะพงษกุล รองประธาน 4. สุรางค จันทรแยม กรรมการ 5. นิมิตร เทียนอุดม กรรมการ 6. วิทยา แทนสูงเนิน กรรมการ 7. น้ําผึ้ง แปลงเรือน กรรมการ 8. พงศธร จันทรเลื่อน กรรมการ 9. มีนา ดวงราษี กรรมการ 10. บริพัตร ดอนมอญ กรรมการ 11. จํารอง แพงหนองยาง กรรมการ 12. ณัฐพงษ ศุขศิริ กรรมการ 13. นิ่มนวล แปะเงาสุข กรรมการ 14. กานดา พูลสง กรรมการ 15. ธีรวุฒิ วรฉัตร กรรมการ 16. วิรัตน ภูระหงษ กรรมการ ที่มา : คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556
  • 8. นอกจากนั้น การมอบหมายหนาที่ความรับผิดชอบในการประสานงานของ จะเปนของ สมาชิกองคกรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ ปฏิบัติงานขององคกรพัฒนาเอกชนซึ่งมีการเชื่อมโยงเปน เครือขายองคกร เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และเพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ตารางที่ 2.3 รายชื่อผูประสานงาน กพอ. ในระดับพื้นที่ พื้นที่ ผูประสานงาน ที่อยูติดตอ กพอ.ภาคเหนือ อัญชลี จอมธัญ ที่อยู225/112 หมูบานสินธนา ต.สันพระเนตร อ.สันทราย จ. เชียงใหม 50210 โทรศัพท/โทรสาร 053-350683, โทรศัพทเคลื่อนที่ 089- 7568766 Email : Northern.ngo@gmail.com กพอ.ภาคกลาง ชยุตม ศิรินันท ไพบูลย โทรศัพทเคลื่อนที่ 08 6008 6004 Email: Ocean_msm@hotmail.com กพอ.ภาคอีสาน สุมาลี พรหม สะดวก ที่อยู 43/1 ถ.พรหมเทพ ซ.โดนไข3 ต.ในเมือง จ.สุรินทร 32000 โทรศัพท 0-4451-3257 โทรสาร 0-4452-0821 Email : sumalee_02@windowslive.com กพอ.ภาคใต กานดา พูลสูง โทรศัพทเคลื่อนที่ 08 8398 7061 Email : pu-kanda@hotmail.com กพอ.ชาติ กาญจนา แถลง กิจ วัชราภรณ วงคีรี 494 ซ.ลาดพราว 101 (นครไทย 11) ถ.ลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท 02-3775255 โทรสาร 02-3779719 โทรศัพทเคลื่อนที่ 08-6 332- 8130 Email : tnca@tncathai.org ,nunakitty@gmail.com ที่มา : คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556 จากตาราง จะพวา การประสานงานขององคกรพัฒนาเอกชน จากระดับชาติไปสูระดับพื้นที่ จะอาศัยเครื่องติดตอสื่อสาร ที่ใหผลลัพธตอการปฏิบติงานไดอยางรวดเร็ว
  • 9. 2.5 ระยะเวลาของกรรมการบริหาร ระยะเวลาในการบริหารจัดการองคกรพัฒนาเอกชนโดยทั่วไป จะดํารงตําแหนงเปน ระยะเวลา 1- 3 ป หรืออาจเปน ระยะเวลา 4 ป ตามดุลพินิจหรือขอตกลงซึ่งกระทําไวกับสมาชิก ขององคกร ทั้งนี้ ระยะเวลาดํารงตําแหนงดังกลาว จะปรากฏในโครงสรางการดําเนินงาน ที่ใช นําเสนอเพื่อรับการสนับสนุนดานทรัพยากรและเงินทุน 2.6 การทําหนาที่ การดํารงตําแหนงของกรรมการบริหาร องคกรพัฒนาเอกชน เนื่องจากลักษณะของการทํางานและการมีสวนรวมในการทํางานของคณะกรรมการองคกร พัฒนาเอกชนซึ่งไดวางหลักเกณฑสําหรับการปฏิบัติหนาที่การทํางาน ซึ่งทําใหอาจเกิดชะงักของการ ปฏิบัติหนาที่อันเนื่องสาเหตุหลายประการ เชน การลาออกลาออก ไมไดรับการสนับสนุนสงเสริม จากองคกรที่ปฏิบัติงาน หรือไมไดรับความปลอดภัยในการปฏิบัติหนาที่ หรือไมสามารถที่จะ ดําเนินการตามที่ไดใหขอตกลงกัน ไมสามารถที่จะทํางานรวมกับสมาชิกในคณะกรรมการองคกร พัฒนาเอกชนอื่น ๆ ที่เปนสวนหนึ่งของทีม หรือ มีทัศนะคติที่กอใหเกิดความความขัดแยงตอ นโยบายขององคกร 2.7 สรุป องคกรพัฒนาเอกชนถือเปนองคกรภาคประชาชนองคกรหนึ่ง เนื่องจาก การทํางานของ องคกรพัฒนาเอกชนเปนการทํางานมุงกลุมเปาหมายที่เปนชุมชน โดยลักษณะการทํางาน จะทํางาน โดยเขาไปมีสวนรวมกับชุมชน และประสานรวมมือกับหนวยงานสาธารณะตางๆ ดังนั้น ผูบริหารซึ่ง ประกอบขึ้นเปนคณะกรรมการบริหารงาน จึงตองมีคุณสมบัติที่สามารถปฏิบัติเพื่อตอบสนองความ ตองการของทั้งภาคประชาชน ผูสนับสนุนทรัพยากร และหนวยงานซึ่งตองประสานและทําหนาที่ คอยสนับสนุน แบบฝกหัด ตอบและอธิบายคําถามตอไปนี้ 1. องคกรพัฒนาเอกชนถือเปนองคกรภาคประชาชนองคกรหนึ่ง จงใหเหตุผลตอประเด็น ดังกลาว 2. คณะกรรมการบริหารองคกรพัฒนาเอกชนมีหนาที่อะไรบาง 3. อภิปรายประเด็นอาณัติและวิธีการทํางานขององคกรพัฒนาเอกชน 4. หนาที่สําคัญของคณะผูบริหารขององคกรพัฒนาเอกชนคืออะไร
  • 10. 5. องคประกอบของคณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการบริหารองคกรพัฒนาเอกชน 6. นักศึกษาอภิปราย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นตาง ๆ ตอไปนี้ 6.1 หนาที่ในการตัดสินใจและการวางแผนตลอดจนการวางแนวทางของทางเลือกที่ ดีที่สุดในการดําเนินการขององคกรพัฒนาเอกชน 6.2 ความสามารถในการเปนตัวแทนและสงเสริมความเปนองคกรสาธารณะของ องคกรพัฒนาเอกชน 6.3 หนาที่ในการตองตอบสนองตอภาคสาธารณะและตอบสนองตอเปาหมายความ ตองการของผูสนับสนุนเงินทุนหรือเพื่อใหเกิดการการตัดสินใจของเจาของกองทุน ดังนั้น หนาที่ของ คณะกรรมการขององคกรพัฒนาเอกชนจึง 6.4 ความสามารถในการจัดการทีมงาน และความสามารถในการทํางานเปนทีม 6.5 ความรูความเขาใจในขอบเขตของงานที่ทําและมีความเขาใจถึงขอบเขตการ ทํางานององคกรภาครัฐที่ไมหวังผลกําไรและองคกรที่ไมหวังผลกําไร (NGP/NPO: Non Government Profit or Non Profit Organization) ของผูบริหาร
  • 11. อางอิง ภาษาไทย คณะกรรมการองคกรพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), 2556. Retrieved 27 สิงหาคม, 2558, from http://www.tncathai.org/aboutus-committee.html ภาษาอังกฤษ B. Arts, M. Noortmann and B. Reinalda (eds.) (2001), Non-State Actors in International Relations, (Aldershot: Ashgate). Chiang Pei-heng (1981), Non-Governmental Organizations at the United Nations. Identity, Role and Function, (New York: Praeger). [An important early study of the origins and operation of the consultative arrangements in ECOSOC.]. D. Josselin and W. Wallace (eds.) (2001), Non-State Actors in World Politics, (Houndmills: Palgrave). M. Edwards and J. Gaventa (eds.) (2001), Global Citizen Action, (Boulder: Lynne Rienner). [A major collection of essays on global issue-based networks.] J. Fisher (1998, Nongovernments. NGOs and the Political Development of the Third World, West Hartford: Kumarian Press). P. J. Nelson (1995), The World Bank and Non-Governmental Organizations. The Limits of Apolitical Development, (New York: St. Martin's Press and Houndmills: Macmillan Press).