SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
หลักการ วิธีการทาโครงงาน




          หลักการ วิธีการทาโครงงาน รู ปแบบการทาโครงงาน และการประเมินโครงงานท้ องถิ่น
                             รายวิชาประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
                                 โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
การทาโครงงาน คือ การค้นคว้าหาความรู ้จากข้อสงสัยของนักเรี ยน ดังนั้น นักเรี ยนจะเป็ นผูวางแผนการ
                                                                                       ้
ทางาน ศึกษาข้อมูลเพื่อประกอบการทางาน ออกแบบการทดลอง ศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูล
          ้                                                         ั              ่
วิเคราะห์ขอมูล สรุ ปผลข้อค้นพบ เป็ นผลงานออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งไว้ จึงถือได้วาสาเร็ จ 1 โครงงาน
ในการทาโครงงาน นักเรี ยนจะทาเป็ นรายบุคคลหรื อรายกลุ่ม ก็ได้ แต่ไม่ เกิน 5 คน ต่อ 1 โครงงาน
ซึ่งควรจะเป็ น 3 คน เหมาะสมที่สุด
ความหมายของโครงงาน
       โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบติดวยตนเองตาม
                                                                                      ั ้
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรื อกระบวนการอื่นใด
ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่ องนั้นๆ โดยมีครู ผสอนคอยกระตุน แนะนาและให้คาปรึ กษาแก่ผเู ้ รี ยน
                                                     ู้           ้
อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการวางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนิ นงานและ
การนาเสนอผลงาน โดยทัวๆ ไปการทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่ งอาจทาเป็ นรายบุคคล
                                 ่
หรื อเป็ นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบลักษณะของโครงงาน อาจเป็ นโครงงานเล็กๆที่ไม่ยงยากซับซ้อน หรื อเป็ น
                                    ่ ั                                           ุ่
โครงงานใหญ่ท่ีมีความยากและซับซ้อนก็ได้
      โครงงานท้องถิ่น
        เป็ นการศึกษาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งเพื่อตอบปั ญหาที่สงสัยในขอบเขตของท้องถิ่น สาระการเรี ยนรู ้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่ งเป็ นปั ญหาที่เกิดจากความสนใจของผูทาโครงงาน มีกระบวนการ
                                                                       ้
ศึกษา ค้นคว้าเพื่อหาคาตอบอย่างมีระบบตามวิธีการทาโครงงานตลอดไปจนถึงมีการจัดทารายงานและ
เผยแพร่ ผลงานของตนเองให้ผอื่นไดรับทราบและเข้าใจได้ โดยมีครู ที่ปรึ กษาที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
                                   ู้
ในเรื่ องนั้นๆ เป็ นที่ปรึ กษาคอยให้คาแนะนาช่วยเหลือ
      ความสาคัญของโครงงาน
     การทาโครงงานจะช่วยส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์นาไปสู่ งานอาชีพและการศึกษาต่อตามที่ตนเอง
ถนัดและสนใจ สร้างประสบการณ์การปฏิบติจริ งเกี่ยวข้องกับชีวตทาให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ได้
                                     ั                   ิ
ทดสอบความถนัดของตนเองแก้ปัญหาในงานที่ตนสนใจ เกิดความภาคภูมิใจในผลงาน
2
หลักการ วิธีการทาโครงงาน
วัตถุประสงค์
การจัดการเรี ยนการสอนแบบโครงงานมีวตถุประสงค์ เพื่อให้ นักเรียน
                                       ั
1. มีประสบการณ์โดยตรง                     2. ได้ทาการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
3. รู ้จกการทางานอย่างมีระบบ มีข้ นตอน
        ั                         ั       4. ฝึ กการเป็ นผูนาและผูตามที่ดี
                                                             ้      ้
5. ได้เรี ยนรู ้วธีการแก้ปัญหา
                 ิ                        6. ได้รู้จกวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา
                                                    ั
7. ฝึ กวิเคราะห์ และประเมินตนเอง
       ประเภทของโครงงาน
                                                                            ่
       โครงงานมีหลายลักษณะซึ่ งในการจัดทาโครงงานแต่ละโครงงานนั้นจะต้องรู ้วาทาโครงงานประเภท
                 ่
ใด เพื่อจะได้รู้วาจะต้องทาในลักษณะใด (สสวท. 2529 : 7) ได้แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
 1. โครงงานประเภทสารวจ รวบรวมข้ อมูล
 2. โครงงานประเภทการทดลอง
 3. โครงงานประเภทพัฒนาหรื อประดิษฐ์
 4. โครงงานประเภททฤษฎี หลักการ หรื อแนวคิด
ขั้นตอนการทาโครงงานวัฒนธรรมท้องถิ่น
 1. การคิดและเลือกหัวเรื่อง
 ผูเ้ รี ยนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่ องของโครงงานท้องถิ่น ด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยาก
ศึกษา หัวเรื่ องของโครงงานมักจะได้มาจากปั ญหา คาถามหรื อความอยากรู ้ อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆของ
ผูเ้ รี ยนเอง หัวเรื่ องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่ อเรื่ องแล้ว ควรเข้าใจและรู ้
เรื่ องว่า โครงงานนี้ทาอะไร การกาหนดหัวเรื่ องของโครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุนให้เกิดความคิด
                                                                                       ้
และสมใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่นจากการอ่านหนังสื อ เอกสาร การไปเยียมชมสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่น
                                                                          ่
ของนักเรี ยน การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการ การสนทนากับบุคคลต่างๆ เป็ นต้น
2. การวางแผน
การวางแผนการทาโครงงานจะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงานซึ่ งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า
เพื่อให้การดาเนิ นการเป็ นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผูสอน หรื อครู ที่ปรึ กษา
                                                                         ้
เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป
การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทัวไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิดแผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน
                                     ่
ซึ่งควรประกอบด้ วยหัวข้ อต่ อไปนี้
1) ชื่อโครงงาน ควรเป็ นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจนสื่ อความหมายได้ตรง
2) ชื่อผูทาโครงงาน/ชั้น/ปี การศึกษา
         ้
3) ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
3
หลักการ วิธีการทาโครงงาน
4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็ นการอธิ บายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่ องนี้ มีความสาคัญ
อย่างไร มีหลักการหรื อทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่ องที่ทาเป็ นเรื่ องใหม่หรื อผูอื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่ องนี้ไว้
                                                                                 ้
บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่ องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุ งจากเรื่ องที่ผอื่นทาไว้อย่างไร หรื อเป็ นการ
                                                                              ู้
ทาซ้ าเพื่อตรวจสอบผล
5) จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็ นการบอกขอบเขตของงานที่จะ
ทาได้ชดเจนขึ้น
        ั
6) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า(ถ้ามี) สมมติฐานเป็ นคาตอบ หรื อคาอธิ บายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่ งอาจจะ
ถูกหรื อไม่ก็ได้การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผล มีทฤษฎี หรื อหลักการ รองรับและที่สาคัญคือเป็ นข้อความ
ที่มองเห็นแนวทางการในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและ
ตัวแปรตามด้วย
7) วิธีดาเนินงาน/ขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิ บายว่าจะออกแบบการทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บ
ข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวสดุอุปกรณ์ที่จาเป็ นต้องใช้มีอะไรบ้าง
                            ั
8) แผนปฏิบติงาน อธิ บายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่ มต้นจนเสร็ จสิ้ นการดาเนิ นงานในแต่ละขั้นตอน
              ั
9) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
10) เอกสารอ้างอิง
3. การดาเนินงาน
แผนและขั้นตอนของการทาโครงงานนั้น ซึ่ งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผูทาโครงงาน
         ้
3. ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อธิ บายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานนี้ โครงงานเรื่ องนี้มีความสาคัญ
อย่างไร มีหลักการหรื อทฤษฏีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่ องที่ทาเป็ นเรื่ องใหม่หรื อมีผอื่นได้เคยศึกษา ค้นคว้า
                                                                                 ู้
ทานองนี้ไว้บางแล้ว ถ้ามี ได้ผลเป็ นอย่างไร หรื อเป็ นการทาซ้ าเพื่อตรวจสอบผล
                 ้
5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
6. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า ( ถ้ามี )
7. วิธีดาเนินงาน
                      ้        ่
  1) วัสดุอุปกรณ์ที่ตองใช้ระบุวามีอะไรบ้าง จะได้มาจากไหน อะไรบ้างที่จะต้องจัดซื้ อ อะไรบ้างที่จดทา     ั
เอง อะไรบ้างที่ขอยืมได้
  2) แนวการศึกษาค้นคว้าอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง บ่อยครั้งและมากน้อยเพียงใด
8. แผนปฏิบติงาน อธิ บายเกี่ยวกับเวลาเริ่ มต้นและเวลาสิ้ นสุ ดของการดาเนิ นงานในแต่ละขั้นตอน
               ั
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
4
หลักการ วิธีการทาโครงงาน
10. เอกสารอ้างอิง การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่
ปรึ กษาแล้วก็เสมือนว่างานของนักเรี ยนเสร็ จไปแล้วมากกกว่าครึ่ งหนึ่ง ต่อไปก็เป็ นขั้นลงมือปฏิบติงาน
                                                                                              ั
ตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในเค้าโครงที่เสนออาจารย์ท่ีปรึ กษา ซึ่ งควรคานึงถึงเรื่ องต่อไปนี้
 1) เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ให้พร้อมก่อนลงพื้นที่ หรื อแหล่งเรี ยนรู ้ในท้องถิ่น
 2) มีสมุดบันทึกกิจกรรมประจาวันได้ทาอะไรไป ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร
 3) ปฏิบติการด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้ให้เป็ นหลักฐานเป็ นระเบียบครบถ้วน
           ั
 4) คานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทางาน
 5) พยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ในตอนแรก และอาจเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมบ้าง หลังจากที่ได้เริ่ มต้น
ดาเนินงานไปแล้ว ถ้าคิดว่าจะทาให้ผลงานดีข้ ึน
 6) ควรปฏิบติการซ้ าเพื่อให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด
              ั                   ้
 7) ควรแบ่งงานเป็ นส่ วนย่อย ๆ และทาแต่ละส่ วนให้สาเร็ จก่อนทาส่ วนอื่นต่อไป
 8) ควรทางานส่ วนที่เป็ นหลักสาคัญ ๆให้เสร็ จก่อน จึงจะทาส่ วนที่เป็ นส่ วนประกอบหรื อส่ วนเสริ มแต่ง
โครงงาน
 9) อย่าทาต่อเนื่ องจนเมื่อยล้า จะทาให้ขาดความระมัดระวัง
4. การเขียนรายงาน
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผูทาโครงงาน
         ้
3. ชื่อที่ปรึ กษา
4. บทคัดย่อ อธิ บายที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้ตลอดจน
ข้อสรุ ปต่าง ๆ อย่างย่อ ๆ ประมาณ 300 – 350 คา
5. ที่มาและความสาคัญของโครงงานอธิบายความสาคัญของโครงงาน เหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้และ
หลักการหรื อทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน เรื่ องที่ทานี้ได้ขยาย เพิมเติม หรื อปรับปรุ งจากเรื่ องที่ผอื่น
                                                                   ่                                 ู้
ได้ทาไว้อย่างไรบ้าง หรื อเป็ นการทาซ้ าเพื่อตรวจสอบผล
6. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
7. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี)
8. วิธีดาเนินการ อธิ บายขั้นตอนการดาเนิ นงานโดยละเอียดตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมีต่าง ๆ ที่ใช้
9. ผลการศึกษาค้นคว้า นาเสนอข้อมูล หรื อผลการทดลองต่าง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได้รวมทั้งเสนอผลการ
วิเคราะห์ขอมูลที่วเิ คราะห์ได้ดวย
              ้                ้
5
หลักการ วิธีการทาโครงงาน
10. สรุ ปและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุ ปที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุดวยว่า   ้
ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรื อคัดค้านสมมติฐานที่ต้ งไว้หรื อยังสรุ ปไม่ได้ นอกจากนั้นควรกล่าวถึงการนาผล
                                              ั
การไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรื อข้อสังเกตที่สาคัญหรื อข้อผิดพลาดบางประการที่
เกิดขึ้นจากการทาโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งแก้ไขหากจะมีผศึกษาค้นคว้าในเรื่ อง
                                                                                ู้
ทานองนี้ ต่อไปนี้ในอนาคตด้วย
11. คาขอบคุณ ส่ วนใหญ่โครงงานมักจะเป็ นกิจกรรมที่ได้รับความร่ วมมือจากหลายาฝ่ าย ดังนั้นเพื่อเป็ นการ
เสริ มสร้างบรรยากาศของความร่ วมมือ จึงควรได้กล่าวขอบคุณบุคลากรหรื อหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนช่วย
ให้โครงงานนี้สาเร็ จไปด้วย
12. เอกสารอ้างอิง อ้างอิงหนังสื อ หรื อเอกสารต่าง ๆ ที่ผทาโครงงานใช้คนคว้าหรื ออ่านเพื่อศึกษาหา
                                                        ู้             ้
ข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้ ที่กล่าวมานี้เป็ นรู ปแบบหนึ่งของ
การเขียนรายงานเท่านั้น ซึ่ งเป็ นแบบการเขียนรายงานในลักษณะทัว ๆ ไปรู ปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่
                                                             ่
เหมาะสมกับโครงงานทุกประเภทก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่ละลักษณะของโครงงานอย่างไรก็ตาม ไม่วาเป็ น ่
โครงงานประเภทใด สิ่ งสาคัญที่สุดผูเ้ ขียนรายงานควรตระหนักไว้อยูเ่ สมอก็คือควรเขียนรายงานให้
ชัดเจน ใช้ศพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายและครอบคลุมประเด็นสาคัญ ๆ ทั้งหมดของโครงงาน
            ั
5. การนาเสนอผลงาน
         การนาเสนอผลงานเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการทาโครงงานเป็ นวิธีการที่จะทาให้ผอื่นได้รับรู ้และ
                                                                                 ู้
                                                           ่ ั
เข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรู ปแบบขึ้นอยูกบความเหมาะสม กับประเภทของ
โครงงาน เนื้ อหา เวลา ระดับของผูเ้ รี ยน สิ่ งสาคัญคือพยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจ
                                                                                ่
ของผูชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา การนาเสนอผลงานจัดได้วาเป็ นขั้นตอน
     ้
                                            ่
สาคัญอีกประการหนึ่งของการทาโครงงานเรี ยกได้วาเป็ นงานขั้นสุ ดท้ายของการทาโครงงาน เป็ นการแสดง
ผลิตผลของเวลาความคิดและความพยายามทั้งหมดที่ผทาโครงงานได้ทุ่มเทลงไปและเป็ นวิธีการที่ทาให้
                                            ู้
ผูอื่นได้รับความรู ้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ มีผกล่าวว่าการวางแผนออกแบบเพื่อจัดการแสดงผลงานที่มี
  ้                                           ู้
ความสาคัญเท่า ๆ กับการทาโครงงานนั้นเองผลงานที่ทาขึ้นจะดียอดเยียมเพียงใด แต่ถาการจัดเสนอผลงาน
                                                              ่             ้
ทาได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงความยอดเยียมของผลงานนันเอง การออกแบบและการวางแผนเพื่อนาผลงาน
                                       ่           ่
มาแสดงนั้น ดูเสมือนว่าทาได้ง่าย ๆ แต่ความจริ งมักไม่เป็ นเช่นนั้นการวางแผนดังกล่าวต้องอาศัยเวลา
พอสมควรต้องคานึงถึงปัจจัยหลายประการที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งต้องคานึงถึงผูชมหรื อผูฟังการ
                                                                          ้        ้
แสดงผลงานนั้นอาจทาได้ในรู ปแบบต่าง ๆ กัน เช่น การแสดงในรู ปนิทรรศการ ซึ่ งมีท้งการจัดแสดงการ
                                                                              ั
อธิบายด้วยคาพูด หรื อในรู ปแบบของการจัดแสดงโดยไม่มีคาอธิ บายประกอบหรื อในรู ปแบบการรายงาน
                                                        ่
ปากเปล่าและ การแสดงในรู ปแบบ สื่ อ นวัตกรรมเป็ น ICTไม่วาการจัดแสดงผลงานแบบใดควรจัดให้
6
หลักการ วิธีการทาโครงงาน
ครอบคลุม ประเด็นสาคัญดังต่อไปนี้
1.ชื่อโครงงาน ชื่อผูทาโครงงาน ชื่อที่ปรึ กษา
                    ้
2.คาอธิ บายย่อ ๆ ถึงเหตุจูงใจในการจัดทาโครงงานและความสาคัญของโครงงาน
3.วิธีการดาเนินการ โดยเลือกขั้นตอนที่เด่นและสาคัญ
4.การแสดงผลที่ได้จากการดาเนินการตามขั้นตอนการทาโครงงาน
5.ผลการสังเกตและข้อมูลที่เด่น ๆ ที่ได้รับจากการทาโครงงาน

6. การประเมินผลโครงงาน
การประเมินผลเป็ นหัวใจของการเรี ยนการสอน ที่สะท้อนสภาพความสาเร็ จของการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ
สอน ผูสอนและผูเ้ รี ยนร่ วมกันประเมินผลว่ากิจกรรมที่ทาไปนั้นบรรลุตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรื อไม่
           ้
อย่างไร ปั ญหาและอุปสรรคที่พบคืออะไรบ้าง ได้ใช้วธีการแก้ไขอย่างไร ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้อะไรบ้างจากการ
                                                 ิ
ทาโครงงานนี้ ผูประเมินโครงงาน อาจดาเนินการด้วยบุคคลต่อไปนี้
                   ้
1.ผูเ้ รี ยนประเมินตนเอง
2.เพื่อนช่วยประเมิน
3.ผูสอนหรื อครู ที่ปรึ กษาประเมิน
      ้
4.ผูปกครองประเมิน
        ้
5.บุคคลอื่นๆ ที่สนใจและมีส่วนเกี่ยวข้อง
                                               ***********
เอกสารอ้างอิง
            เอกสารชุดเทคนิคการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญที่สุด โครงงาน โครงการ
ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ศูนย์พฒนาหลักสู ตร กรมวิชาการ
                                                          ั
            วิมลศรี สุ วรรณรัตน์และมาฆะ ทิพย์คีรี. การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยการทา
โครงงาน. กรุ งเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ (พว.), ม.ป.ป.

More Related Content

What's hot

แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5พิพัฒน์ ตะภา
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาสุชาติ องค์มิ้น
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงSurachai Chobseang
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานMomay Protaper
 
Project1229
Project1229Project1229
Project1229L4EManic
 

What's hot (15)

แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
K2
K2K2
K2
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียงแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการพอเพียง
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Com
ComCom
Com
 
Project1229
Project1229Project1229
Project1229
 

Viewers also liked (6)

7
77
7
 
1
11
1
 
3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 

Similar to โครงงาน

การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Opp Phurinat
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 

Similar to โครงงาน (20)

โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
K2
K2K2
K2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

โครงงาน

  • 1. 1 หลักการ วิธีการทาโครงงาน หลักการ วิธีการทาโครงงาน รู ปแบบการทาโครงงาน และการประเมินโครงงานท้ องถิ่น รายวิชาประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย การทาโครงงาน คือ การค้นคว้าหาความรู ้จากข้อสงสัยของนักเรี ยน ดังนั้น นักเรี ยนจะเป็ นผูวางแผนการ ้ ทางาน ศึกษาข้อมูลเพื่อประกอบการทางาน ออกแบบการทดลอง ศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูล ้ ั ่ วิเคราะห์ขอมูล สรุ ปผลข้อค้นพบ เป็ นผลงานออกมาตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งไว้ จึงถือได้วาสาเร็ จ 1 โครงงาน ในการทาโครงงาน นักเรี ยนจะทาเป็ นรายบุคคลหรื อรายกลุ่ม ก็ได้ แต่ไม่ เกิน 5 คน ต่อ 1 โครงงาน ซึ่งควรจะเป็ น 3 คน เหมาะสมที่สุด ความหมายของโครงงาน โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบติดวยตนเองตาม ั ้ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรื อกระบวนการอื่นใด ไปใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่ องนั้นๆ โดยมีครู ผสอนคอยกระตุน แนะนาและให้คาปรึ กษาแก่ผเู ้ รี ยน ู้ ้ อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการวางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนิ นงานและ การนาเสนอผลงาน โดยทัวๆ ไปการทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่ งอาจทาเป็ นรายบุคคล ่ หรื อเป็ นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบลักษณะของโครงงาน อาจเป็ นโครงงานเล็กๆที่ไม่ยงยากซับซ้อน หรื อเป็ น ่ ั ุ่ โครงงานใหญ่ท่ีมีความยากและซับซ้อนก็ได้ โครงงานท้องถิ่น เป็ นการศึกษาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งเพื่อตอบปั ญหาที่สงสัยในขอบเขตของท้องถิ่น สาระการเรี ยนรู ้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่ งเป็ นปั ญหาที่เกิดจากความสนใจของผูทาโครงงาน มีกระบวนการ ้ ศึกษา ค้นคว้าเพื่อหาคาตอบอย่างมีระบบตามวิธีการทาโครงงานตลอดไปจนถึงมีการจัดทารายงานและ เผยแพร่ ผลงานของตนเองให้ผอื่นไดรับทราบและเข้าใจได้ โดยมีครู ที่ปรึ กษาที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ู้ ในเรื่ องนั้นๆ เป็ นที่ปรึ กษาคอยให้คาแนะนาช่วยเหลือ ความสาคัญของโครงงาน การทาโครงงานจะช่วยส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์นาไปสู่ งานอาชีพและการศึกษาต่อตามที่ตนเอง ถนัดและสนใจ สร้างประสบการณ์การปฏิบติจริ งเกี่ยวข้องกับชีวตทาให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ได้ ั ิ ทดสอบความถนัดของตนเองแก้ปัญหาในงานที่ตนสนใจ เกิดความภาคภูมิใจในผลงาน
  • 2. 2 หลักการ วิธีการทาโครงงาน วัตถุประสงค์ การจัดการเรี ยนการสอนแบบโครงงานมีวตถุประสงค์ เพื่อให้ นักเรียน ั 1. มีประสบการณ์โดยตรง 2. ได้ทาการทดลองและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง 3. รู ้จกการทางานอย่างมีระบบ มีข้ นตอน ั ั 4. ฝึ กการเป็ นผูนาและผูตามที่ดี ้ ้ 5. ได้เรี ยนรู ้วธีการแก้ปัญหา ิ 6. ได้รู้จกวิธีการต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา ั 7. ฝึ กวิเคราะห์ และประเมินตนเอง ประเภทของโครงงาน ่ โครงงานมีหลายลักษณะซึ่ งในการจัดทาโครงงานแต่ละโครงงานนั้นจะต้องรู ้วาทาโครงงานประเภท ่ ใด เพื่อจะได้รู้วาจะต้องทาในลักษณะใด (สสวท. 2529 : 7) ได้แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 1. โครงงานประเภทสารวจ รวบรวมข้ อมูล 2. โครงงานประเภทการทดลอง 3. โครงงานประเภทพัฒนาหรื อประดิษฐ์ 4. โครงงานประเภททฤษฎี หลักการ หรื อแนวคิด ขั้นตอนการทาโครงงานวัฒนธรรมท้องถิ่น 1. การคิดและเลือกหัวเรื่อง ผูเ้ รี ยนจะต้องคิดและเลือกหัวเรื่ องของโครงงานท้องถิ่น ด้วยตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยาก ศึกษา หัวเรื่ องของโครงงานมักจะได้มาจากปั ญหา คาถามหรื อความอยากรู ้ อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่ องต่างๆของ ผูเ้ รี ยนเอง หัวเรื่ องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่ อเรื่ องแล้ว ควรเข้าใจและรู ้ เรื่ องว่า โครงงานนี้ทาอะไร การกาหนดหัวเรื่ องของโครงงานนั้น มีแหล่งที่จะช่วยกระตุนให้เกิดความคิด ้ และสมใจ จากหลายแหล่งด้วยกัน เช่นจากการอ่านหนังสื อ เอกสาร การไปเยียมชมสถานที่ต่างๆ ในท้องถิ่น ่ ของนักเรี ยน การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการ การสนทนากับบุคคลต่างๆ เป็ นต้น 2. การวางแผน การวางแผนการทาโครงงานจะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงานซึ่ งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนิ นการเป็ นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผูสอน หรื อครู ที่ปรึ กษา ้ เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทัวไปเขียนเพื่อแสดงแนวคิดแผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ่ ซึ่งควรประกอบด้ วยหัวข้ อต่ อไปนี้ 1) ชื่อโครงงาน ควรเป็ นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจนสื่ อความหมายได้ตรง 2) ชื่อผูทาโครงงาน/ชั้น/ปี การศึกษา ้ 3) ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน
  • 3. 3 หลักการ วิธีการทาโครงงาน 4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็ นการอธิ บายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานเรื่ องนี้ มีความสาคัญ อย่างไร มีหลักการหรื อทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่ องที่ทาเป็ นเรื่ องใหม่หรื อผูอื่นได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่ องนี้ไว้ ้ บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่ องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติมปรับปรุ งจากเรื่ องที่ผอื่นทาไว้อย่างไร หรื อเป็ นการ ู้ ทาซ้ าเพื่อตรวจสอบผล 5) จุดมุ่งหมาย/วัตถุประสงค์ ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็ นการบอกขอบเขตของงานที่จะ ทาได้ชดเจนขึ้น ั 6) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า(ถ้ามี) สมมติฐานเป็ นคาตอบ หรื อคาอธิ บายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่ งอาจจะ ถูกหรื อไม่ก็ได้การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผล มีทฤษฎี หรื อหลักการ รองรับและที่สาคัญคือเป็ นข้อความ ที่มองเห็นแนวทางการในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและ ตัวแปรตามด้วย 7) วิธีดาเนินงาน/ขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิ บายว่าจะออกแบบการทดลองอะไร อย่างไร จะเก็บ ข้อมูลอะไรบ้าง รวมทั้งระบุวสดุอุปกรณ์ที่จาเป็ นต้องใช้มีอะไรบ้าง ั 8) แผนปฏิบติงาน อธิ บายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่ มต้นจนเสร็ จสิ้ นการดาเนิ นงานในแต่ละขั้นตอน ั 9) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 10) เอกสารอ้างอิง 3. การดาเนินงาน แผนและขั้นตอนของการทาโครงงานนั้น ซึ่ งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูทาโครงงาน ้ 3. ชื่อที่ปรึ กษาโครงงาน 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน อธิ บายว่าเหตุใดจึงเลือกทาโครงงานนี้ โครงงานเรื่ องนี้มีความสาคัญ อย่างไร มีหลักการหรื อทฤษฏีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่ องที่ทาเป็ นเรื่ องใหม่หรื อมีผอื่นได้เคยศึกษา ค้นคว้า ู้ ทานองนี้ไว้บางแล้ว ถ้ามี ได้ผลเป็ นอย่างไร หรื อเป็ นการทาซ้ าเพื่อตรวจสอบผล ้ 5. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 6. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า ( ถ้ามี ) 7. วิธีดาเนินงาน ้ ่ 1) วัสดุอุปกรณ์ที่ตองใช้ระบุวามีอะไรบ้าง จะได้มาจากไหน อะไรบ้างที่จะต้องจัดซื้ อ อะไรบ้างที่จดทา ั เอง อะไรบ้างที่ขอยืมได้ 2) แนวการศึกษาค้นคว้าอะไร อย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง บ่อยครั้งและมากน้อยเพียงใด 8. แผนปฏิบติงาน อธิ บายเกี่ยวกับเวลาเริ่ มต้นและเวลาสิ้ นสุ ดของการดาเนิ นงานในแต่ละขั้นตอน ั 9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • 4. 4 หลักการ วิธีการทาโครงงาน 10. เอกสารอ้างอิง การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ ปรึ กษาแล้วก็เสมือนว่างานของนักเรี ยนเสร็ จไปแล้วมากกกว่าครึ่ งหนึ่ง ต่อไปก็เป็ นขั้นลงมือปฏิบติงาน ั ตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในเค้าโครงที่เสนออาจารย์ท่ีปรึ กษา ซึ่ งควรคานึงถึงเรื่ องต่อไปนี้ 1) เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ และสถานที่ให้พร้อมก่อนลงพื้นที่ หรื อแหล่งเรี ยนรู ้ในท้องถิ่น 2) มีสมุดบันทึกกิจกรรมประจาวันได้ทาอะไรไป ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร 3) ปฏิบติการด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้ให้เป็ นหลักฐานเป็ นระเบียบครบถ้วน ั 4) คานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทางาน 5) พยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ในตอนแรก และอาจเปลี่ยนแปลงหรื อเพิ่มเติมบ้าง หลังจากที่ได้เริ่ มต้น ดาเนินงานไปแล้ว ถ้าคิดว่าจะทาให้ผลงานดีข้ ึน 6) ควรปฏิบติการซ้ าเพื่อให้ได้ขอมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด ั ้ 7) ควรแบ่งงานเป็ นส่ วนย่อย ๆ และทาแต่ละส่ วนให้สาเร็ จก่อนทาส่ วนอื่นต่อไป 8) ควรทางานส่ วนที่เป็ นหลักสาคัญ ๆให้เสร็ จก่อน จึงจะทาส่ วนที่เป็ นส่ วนประกอบหรื อส่ วนเสริ มแต่ง โครงงาน 9) อย่าทาต่อเนื่ องจนเมื่อยล้า จะทาให้ขาดความระมัดระวัง 4. การเขียนรายงาน 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูทาโครงงาน ้ 3. ชื่อที่ปรึ กษา 4. บทคัดย่อ อธิ บายที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดาเนินการ และผลที่ได้ตลอดจน ข้อสรุ ปต่าง ๆ อย่างย่อ ๆ ประมาณ 300 – 350 คา 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงานอธิบายความสาคัญของโครงงาน เหตุผลที่เลือกทาโครงงานนี้และ หลักการหรื อทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน เรื่ องที่ทานี้ได้ขยาย เพิมเติม หรื อปรับปรุ งจากเรื่ องที่ผอื่น ่ ู้ ได้ทาไว้อย่างไรบ้าง หรื อเป็ นการทาซ้ าเพื่อตรวจสอบผล 6. จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 7. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) 8. วิธีดาเนินการ อธิ บายขั้นตอนการดาเนิ นงานโดยละเอียดตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ และสารเคมีต่าง ๆ ที่ใช้ 9. ผลการศึกษาค้นคว้า นาเสนอข้อมูล หรื อผลการทดลองต่าง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได้รวมทั้งเสนอผลการ วิเคราะห์ขอมูลที่วเิ คราะห์ได้ดวย ้ ้
  • 5. 5 หลักการ วิธีการทาโครงงาน 10. สรุ ปและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุ ปที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุดวยว่า ้ ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรื อคัดค้านสมมติฐานที่ต้ งไว้หรื อยังสรุ ปไม่ได้ นอกจากนั้นควรกล่าวถึงการนาผล ั การไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรื อข้อสังเกตที่สาคัญหรื อข้อผิดพลาดบางประการที่ เกิดขึ้นจากการทาโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุ งแก้ไขหากจะมีผศึกษาค้นคว้าในเรื่ อง ู้ ทานองนี้ ต่อไปนี้ในอนาคตด้วย 11. คาขอบคุณ ส่ วนใหญ่โครงงานมักจะเป็ นกิจกรรมที่ได้รับความร่ วมมือจากหลายาฝ่ าย ดังนั้นเพื่อเป็ นการ เสริ มสร้างบรรยากาศของความร่ วมมือ จึงควรได้กล่าวขอบคุณบุคลากรหรื อหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนช่วย ให้โครงงานนี้สาเร็ จไปด้วย 12. เอกสารอ้างอิง อ้างอิงหนังสื อ หรื อเอกสารต่าง ๆ ที่ผทาโครงงานใช้คนคว้าหรื ออ่านเพื่อศึกษาหา ู้ ้ ข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้ ที่กล่าวมานี้เป็ นรู ปแบบหนึ่งของ การเขียนรายงานเท่านั้น ซึ่ งเป็ นแบบการเขียนรายงานในลักษณะทัว ๆ ไปรู ปแบบดังกล่าวนี้อาจไม่ ่ เหมาะสมกับโครงงานทุกประเภทก็ได้ ทั้งนี้แล้วแต่ละลักษณะของโครงงานอย่างไรก็ตาม ไม่วาเป็ น ่ โครงงานประเภทใด สิ่ งสาคัญที่สุดผูเ้ ขียนรายงานควรตระหนักไว้อยูเ่ สมอก็คือควรเขียนรายงานให้ ชัดเจน ใช้ศพท์เทคนิคที่ถูกต้อง ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายและครอบคลุมประเด็นสาคัญ ๆ ทั้งหมดของโครงงาน ั 5. การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงานเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการทาโครงงานเป็ นวิธีการที่จะทาให้ผอื่นได้รับรู ้และ ู้ ่ ั เข้าใจถึงผลงานนั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรู ปแบบขึ้นอยูกบความเหมาะสม กับประเภทของ โครงงาน เนื้ อหา เวลา ระดับของผูเ้ รี ยน สิ่ งสาคัญคือพยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจ ่ ของผูชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา การนาเสนอผลงานจัดได้วาเป็ นขั้นตอน ้ ่ สาคัญอีกประการหนึ่งของการทาโครงงานเรี ยกได้วาเป็ นงานขั้นสุ ดท้ายของการทาโครงงาน เป็ นการแสดง ผลิตผลของเวลาความคิดและความพยายามทั้งหมดที่ผทาโครงงานได้ทุ่มเทลงไปและเป็ นวิธีการที่ทาให้ ู้ ผูอื่นได้รับความรู ้และเข้าใจถึงผลงานนั้นๆ มีผกล่าวว่าการวางแผนออกแบบเพื่อจัดการแสดงผลงานที่มี ้ ู้ ความสาคัญเท่า ๆ กับการทาโครงงานนั้นเองผลงานที่ทาขึ้นจะดียอดเยียมเพียงใด แต่ถาการจัดเสนอผลงาน ่ ้ ทาได้ไม่ดีก็เท่ากับไม่ได้แสดงความยอดเยียมของผลงานนันเอง การออกแบบและการวางแผนเพื่อนาผลงาน ่ ่ มาแสดงนั้น ดูเสมือนว่าทาได้ง่าย ๆ แต่ความจริ งมักไม่เป็ นเช่นนั้นการวางแผนดังกล่าวต้องอาศัยเวลา พอสมควรต้องคานึงถึงปัจจัยหลายประการที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งต้องคานึงถึงผูชมหรื อผูฟังการ ้ ้ แสดงผลงานนั้นอาจทาได้ในรู ปแบบต่าง ๆ กัน เช่น การแสดงในรู ปนิทรรศการ ซึ่ งมีท้งการจัดแสดงการ ั อธิบายด้วยคาพูด หรื อในรู ปแบบของการจัดแสดงโดยไม่มีคาอธิ บายประกอบหรื อในรู ปแบบการรายงาน ่ ปากเปล่าและ การแสดงในรู ปแบบ สื่ อ นวัตกรรมเป็ น ICTไม่วาการจัดแสดงผลงานแบบใดควรจัดให้
  • 6. 6 หลักการ วิธีการทาโครงงาน ครอบคลุม ประเด็นสาคัญดังต่อไปนี้ 1.ชื่อโครงงาน ชื่อผูทาโครงงาน ชื่อที่ปรึ กษา ้ 2.คาอธิ บายย่อ ๆ ถึงเหตุจูงใจในการจัดทาโครงงานและความสาคัญของโครงงาน 3.วิธีการดาเนินการ โดยเลือกขั้นตอนที่เด่นและสาคัญ 4.การแสดงผลที่ได้จากการดาเนินการตามขั้นตอนการทาโครงงาน 5.ผลการสังเกตและข้อมูลที่เด่น ๆ ที่ได้รับจากการทาโครงงาน 6. การประเมินผลโครงงาน การประเมินผลเป็ นหัวใจของการเรี ยนการสอน ที่สะท้อนสภาพความสาเร็ จของการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ สอน ผูสอนและผูเ้ รี ยนร่ วมกันประเมินผลว่ากิจกรรมที่ทาไปนั้นบรรลุตามจุดประสงค์ที่กาหนดไว้หรื อไม่ ้ อย่างไร ปั ญหาและอุปสรรคที่พบคืออะไรบ้าง ได้ใช้วธีการแก้ไขอย่างไร ผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้อะไรบ้างจากการ ิ ทาโครงงานนี้ ผูประเมินโครงงาน อาจดาเนินการด้วยบุคคลต่อไปนี้ ้ 1.ผูเ้ รี ยนประเมินตนเอง 2.เพื่อนช่วยประเมิน 3.ผูสอนหรื อครู ที่ปรึ กษาประเมิน ้ 4.ผูปกครองประเมิน ้ 5.บุคคลอื่นๆ ที่สนใจและมีส่วนเกี่ยวข้อง *********** เอกสารอ้างอิง เอกสารชุดเทคนิคการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญที่สุด โครงงาน โครงการ ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ศูนย์พฒนาหลักสู ตร กรมวิชาการ ั วิมลศรี สุ วรรณรัตน์และมาฆะ ทิพย์คีรี. การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยการทา โครงงาน. กรุ งเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ (พว.), ม.ป.ป.