SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
แนวความคิดพุทธเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์
› แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์
– พุทธเศรษฐศาสตร ์เป็นแนวคิดที่เริ่มจากการพิจารณาสังคมเกษตร วัฒนธรรมทางสังคม และการมี
พุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญ โดยการประยุกต์หลักการทางศาสนาเข้ากับกิจกรรมทางการ
เกษตรซึ่งถือเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของประเทศไทย
– การพัฒนาทางเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมยังได้นาหลักสาคัญของพุทธศาสนา 3 ประการ (เสนะ
อูนากูล, 2530) 1 มาประยุกต์เข้ากับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เช่น หลักการใช ้
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (งดความชั่ว หรือการคอรัปชั่น) การพัฒนาเชิงคุณภาพมากกว่า
เชิงปริมาณ (ความดี หรือ การคานึงถึงผลิตและผลลัพธ์ที่มีคุณภาพตอบสนองต่อสังคม) และลด
อัตราเร่งของการพัฒนาทางวัตถุที่อาจก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม (ทาจิตให้ผ่องใส)
แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์
แนวคิดของพุทธเศรษฐศาสตร ์ได้ขยาย
ความไปสู่
› แนวคิดทางการตลาด2 เช่น คาว่า มูลค่า
(Value) การบริโภค (Consumption)
ความพอประมาณ (Moderation) การไม่
บริโภค Non – Consumption) ความ
สันโดษ (Contentment) การทางาน
(Work) การผลิตหรือไม่ผลิต
(Production and Non – Production)
การแข่งขันและความร่วมมือ
(Competition and Cooperation)
โอกาสที่จะเลือก (Choice) และทัศนคติ
ของชีวิต (Life View)
ขึ้นอยู่กับการพิจารณาด้วยปัญญา
› ปัญญาในที่นี้หมายถึง การรู้เท่าทันถึง
ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ของ
ตนมากเกินไป ไม่ตกทาสของความ
ต้องการหรือเรียกว่า กิเลสและตัณหา
ทางพุทธศาสนาเรียกว่า อวิชชา การ
รู้เท่าทันคือการคานึงถึงการกระทาเพื่อ
ประโยชน์ทั้งตนเองและผู้อื่น ซึ่งจะ
นาไปสู่การมีชีวิตที่ดี (Well – Being)
เรียกว่า ความมีฉันทะ
แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์
การพัฒนา (Development) ในด้านหนึ่ง คือ เหตุแห่งความ
ยุ่งเหยิง อาจหมายถึง การถอยหลัง หรือเดินหน้า โดยเฉพาะ
การพัฒนาความก้าวหน้าตามระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
คือการทาให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นั่นหมายถึง
กิจกรรมทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น ทั้งด้านการผลิต การบริโภค
เกิดการหมุนเวียนของเงินตรา ซึ่ง เป็ นพฤติกรรมในการเพิ่ม
ความโลภ ตัณหาความอยากและนาไปสู่ความล้มเหลวของ
ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมหลายครั้งหลายคราว
การพัฒนา
(DEVELOPMENT)
› ทฤษฎีปฎิฐานเศรษฐศาสตร ์4
(Piboonsravut, 1997) ซึ่งพัฒนาจาก
พื้นฐานแนวคิดทฤษฎี ปทัสถาน
(Normative Theory) และทฤษฎีปฏิฐาน
(Positive Theory) กล่าวถึงธรรมชาติของ
มนุษย์2 ประการคือ ความไม่สมบูรณ์ของ
ความรู้และการไม่มีความสัมพันธ์ระหว่าง
ปัจเจกชนกับสิ่งอื่นๆ และหากทาให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจในทั้งสองประการ จะทาให้
เกิดการปลดเปลื้องความทุกข์ของตนเองและ
จะไม่ทาให้ผู้อื่นเกิดทุกข์ ทั้งนี้ภายใต้หลักการ
ของความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และการประพฤติ
ปฏิบัติที่เป็ นไปตามครรลองคลองธรรม ใช ้
ชีวิตด้วยความมีสติและการใช้ปัญญา
คาว่า การพัฒนาที่แท้จริงโดย
พิจารณาจากมาตรฐานของพุทธ
ธรรม คือ ความเรียบง่าย การ
บริโภคให้น้อยลง แบ่งปันมากขึ้น
การแบ่งปันในที่นี้ไม่ใช่การทาบุญ
หรือทากุศล แต่เป็นการแบ่งปันใน
วิถีการดาเนินชีวิตและโครงสร ้าง
ทางสังคมที่ดารงอยู่ (Parnwell,
1996) 3
แนวคิดเศรษฐศาสตร์มนุษยนิยม
กับแนวคิดแบบพุทธและ
ทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธ
เศรษฐศาสตร์
จุดยืนของวิถีการผลิตแบบพุทธ คือ
การวิเคราะห์ปัญหาทุกอย่าง ซึ่งอาจ
เริ่มจากความสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบสามส่วน คือ ปัจจัย
นาเข้า กระบวนการผลิต ผลผลิตและ
ของเสีย
ผลผลิต
ของเสีย
ปัจจัยนำเข้ำ กระบวนกำรผลิต
แนวคิดของกระบวนการผลิต ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพ
ตั้งแต่กระบวนการนาเข้าทรัพยากร ซึ่งต้องมีการพิจารณา
ถึงคุณค่าในการใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิต และ
แน่นอนว่าผลจากกระบวนการผลิตย่อมต้องได้มาซึ่ง
ผลผลิตและของเสียจากกระบวนการผลิตดังกล่าว ดังนั้น
กระบวนการผลิตจึงจาเป็ นต้องพิจารณาถึงการใช้
ประโยชน์ที่แท้จริงของสิ่งที่เป็ นปัจจัยนาเข้าสู่
กระบวนการผลิตที่ต้องคานึงถึงการนาปัจจัยด้านการผลิต
มาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่เหมาะสมกับผลผลิตที่
ออกมา
นอกจากนั้น ยังต้องมีความจาเป็ นในการพิจารณาของเสียจาก
กระบวนการผลิตเพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ และคานึงถึง
ผลกระทบต่อวิถีการดารงชีวิต ทั้งทางตรงและทางอ้อม แนวคิด
ของความสัมพันธ์ขององค์ประกอบด้านกระบวนการผลิตจึงเป็ น
แนวคิดที่เศรษฐศาสตร์สมัยใหม่เรียกว่า ความมีประสิทธิภาพ
จุดยืนของกระบวนการ
ผลิตแบบพุทธ
เน้นความเป็ นจริงตาม
ธรรมชาติ โดยให้น้าหนักไปที่
ทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากถือ
ว่า มนุษย์เป็ นทั้งทรัพยากร
ผู้สร้างทรัพยากร เช่น ทุน
เทคโนโลยี และผู้ที่นา
ทรัพยากรจากธรรมชาติมาใช้
ในกระบวนการการผลิต เช่น
พลังงาน วัตถุดิบที่ได้มาจาก
ธรรมชาติ
การสร้างผลผลิต และการบริโภคภายใต้ระบบเศรษฐกิจเสรี
นิยมตะวันตก จาเป็ นต้องอาศัยหลักการ 5 ประการ ที่นามา
จากหลักพุทธศาสตร์ (ขันธ์ 5) คือการที่ต้องรับรู้ทั้งโลก
ภายนอกและความรู้สึกของตนเอง ได้แก่ ประการแรก
รูปธรรมทั้งหมด (Corporeality) ประการที่สอง ความรู้สึก
ทุกข์สุข (Filling or Sensation) ประการที่สาม ความหมาย
และการกาหนดความหมาย (Perception) ส่วนปรุงแต่งให้
เกิดความรู้สึกที่ดีหรือไม่ดี (ดีหรือชั่ว; Mental Formation))
ประการที่ห้า รูปรส กลิ่นเสียง (Consciousness)
ขันธ์ 5
ประการแรก คือการพิจารณาของ
ผู้ผลิตในเชิงรูปธรรม โดยพิจารณา
จากความเป็ นจริงที่ปรากฏ เช่น ขีด
ความสามารถ ความต้องการของ
ผู้บริโภคและสังคม ความจาเป็ น
รูปแบบที่ต้องการ ข้อจากัดของ
ทรัพยากรและข้อจากัดอื่นๆ ผลที่จะ
ได้จากการผลิต สภาพแวดล้อมที่
เป็ นจริง ผู้บริโภค จาเป็ นต้อง
พิจารณาถึงการบริโภคผลผลิต
เช่นกัน รูปธรรมหรือลักษณะที่
สามารถมองเห็นได้ของผลผลิต
คุณภาพของผลผลิต ข้อจากัดของ
ตนเองหรือเรียกว่ากาลังการบริโภค
(เรียกว่า รูปขันธ์) 7
ประการที่สอง คือการพิจารณาถึงความรู้สึกเป็ นสุขเมื่อได้ผลิต
สิ่งของของผู้ผลิตเพื่อสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค
ความรู้สึกเป็ นสุขที่ได้บริโภคผลผลิตเพื่อสนองตอบความจาเป็ น
ของผู้บริโภคตามกาลังและความสามารถของตน (เรียกว่า
เวทนา)
ประการที่สาม คือการพิจารณาถึงความหมายของผลผลิต กล่าวคือ การสื่อ
ความหมายให้เกิดการรับรู้ถึงคุณภาพ วิธีการสนองตอบความต้องการที่
เหมาะสม ทั้งด้านราคาและคุณภาพที่ผู้บริโภคต้องการ ผู้บริโภคจะเรียนรู้ถึง
ประสบการณ์จากการใช้ประโยชนจากผลผลิตดังกล่าว ทั้งยังมีความต้องการ
ข่าวสาร เพื่อการเปรียบเทียบ ความรู้ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความสอดคล้อง
ต่อวิถีการดารงชีวิตและความสอดคล้องต่อความต้องการที่เหมาะสม
(เรียกว่า สัญญา)
ขันธ์ 5
ประการที่สี่ คือการพิจารณาความดีความ
ไม่ดี หรือการพิจารณาคุณภาพ การ
กาหนดราคา การผลิตที่กาหนดให้เกิดผล
กระทบน้อยที่สุดต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อม
ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคโดยการ
กาหนดราคาสูงเพื่อให้ได้กาไรมากเกิน
ความเป็ นจริง คุณภาพของผลผลิตที่ได้
มาตรฐานสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง
ผู้ผลิตสามารถดารงอยู่และพัฒนาผลผลิต
ของตนเองได้ตามศักยภาพ ขณะเดียวกัน
ผู้บริโภคจะพิจารณาสิ่งดังกล่าวเพื่อการ
บริโภคที่มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมตาม
ความเหมาะสม ความเหมาะสมในที่นี้คือ
ต่อกาลังทรัพย์ที่มีอยู่ ไม่เอารัดเอาเปรียบ
ทั้งตนเองและผู้อื่นเพียงเพื่อความอยากได้
อยากมีหรือเพื่อความทัดเทียมกับผู้ที่มี
กาลังการบริโภคที่เหนือกว่า หรือความ
ต้องการที่ไม่มีสิ้นสุด เป็ นต้น (เรียกว่า
สังขาร)
ประการที่ห้า คือความรู้สึก อารมณ์ รูป รส กลิ่นและเสียง เป็ น
การพิจารณาสิ่งที่เป็ นรูปธรรมของผลผลิตที่ผลิต ซึ่งในทาง
เศรษฐศาสตร์การตลาด สิ่งดังกล่าวจะถูกใช้เป็ นเครื่องมือใน
การจาหน่ายผลผลิต ผู้บริโภคจะใช้สิ่งดังกล่าวเป็ นเครื่องมือใน
การตัดสินใจเพื่อการบริโภคเช่นกัน ในประการที่ห้า ทั้งผู้ผลิต
และผู้บริโภคจาเป็ นต้องมีคุณสมบัติทั้งสี่ประการข้างต้นเพื่อ
ประกอบในการตัดสินใจ (เรียกว่า วิญญาณ)
จุดยืนแบบพุทธและทรัพยากรมนุษย์
› ภายใต้เศรษฐกิจแนวคิดกระแสหลัก การนาหลักเศรษฐกิจแบบพุทธมาปรับใช้ไม่จาเพาะเจาะจงว่าจะเป็ นหลักขันธ์ 5 แต่หลัก
พุทธธรรมอื่นๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อทาให้เกิดสังคมที่ดี(ธรรมาภิบาล) เกิดความเอื้ออาทร ไม่เอารัดเอาเปรียบ เกิด
ความรู้เท่าทันจากการศึกษาข่าวสาร เกิดความยับยั้งชั่งใจ เกิดปัญญาจากการศึกษาข้อมูลต่างๆ ก่อนการตัดสินใจด้วยความ
ไม่ประมาท
› เหตุผลที่ หลักเศรษฐศาสตร์แนวพุทธเน้นในด้านทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากเห็นความสาคัญของการใช้ปัญญา ซึ่งการนาขันธ์
5 มาเป็ นเงื่อนไขการดารงชีวิตจะก่อให้เกิดปัญญา อภิชัย พันธเสน เสนอว่า “ การไม่มีอัตตา การมีสุขภาพกายและจิตเพื่อ
สัมผัสที่สมบูรณ์ การมีสติที่มั่นคง สามารถจับยึดสิ่งที่ผ่านเข้ามาเพื่อการตรวจสอบได้ มีการให้ความหมายของสิ่งนั้นๆ ตาม
ความเป็ นจริงและในที่สุดจะต้องไม่มีการปรุงแต่งสิ่งเหล่านั้นนอกเหนือไปจากความเป็ นจริง”
› ดังนั้น คาว่าปัญญาตามหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ คือวิธีการดารงชีวิตอย่างระมัดระวังรอบคอบ มีสติในการกระทาสิ่งต่างๆ
คานึงถึง คุณธรรม จริยธรรม และสภาพแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็ น การบริโภค การผลิต
จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
› เศรษฐศาสตร ์ที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีพัฒนาการจากองค์
ความรู้ด้านนิเวศน์วิทยา นอกจากจะมีการพัฒนาองค์ความรู้ไปสู่เศรษฐศาสตร ์
ทรัพยากรธรรมชาติและนิเวศน์วิทยาแล้วยังพัฒนาไปสู่องค์ความรู้ด้านการจัดการ
สาธารณะ โดยถือว่าเป็ นหน้าที่สาธารณะของภาครัฐที่ต้องมีการจัดการและเป็ นส่วน
หนึ่งที่จะต้องให้การบริการแก่ภาคสาธารณะ
› เศรษฐศาสตร ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติ เช่น อากาศ น้า ดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ การใช้ประโยชน์จากระบบ
นิเวศน์ เช่น การล่าสัตว์ทั้งการนามาเป็ นอาหารและการกีฬา การใช้ประโยชน์จาก
ระบบชีวภาพเพื่อการผลิตผลลิตด้านการเกษตร ด้านสุขภาพอนามัย เป็ นต้น
จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
› การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ จนเกินความสมดุล เป็ นเหตุทาให้เกิดความสูญเสียและการทาลายสิ่ง
ดังกล่าว ดังนั้นเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเป็ นองค์ความรู้ที่เป็ นแนวทางการจัดการให้เกิดการใช้
ประโยชน์อย่างคุ้มค่าและเป็ นแนวทางต่อการดารงรักษาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดารงอยู่เพื่อการใช้ประโยชน์ให้
ได้นานที่สุดเท่าที่จะทาได้
› แนวคิดเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากตะวันตก เน้นในด้านการกระจายและการจัดสรรมากกว่าการ
ดารงรักษาอย่างแท้จริง จะเห็นได้จากการใช้ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์มาใช้ในการคานวณเพื่อการจัดสรรและการกระจาย แทน
การใช้กลไกของจิตสานึกของมนุษย์และให้ความหมายต่อคาว่า จริยธรรม คุณธรรมจากจานวนตัวเลขที่ทาการกระจายและการ
จัดสรร8 ซึ่งเรียกว่า จริยธรรมแบบอรรถประโยชน์ ที่นาไปสู่ความยุติธรรมในการจัดสรรและการกระจายบนพื้นฐานของ
ความหมายในเชิง “ความเสมอภาค”
จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
- สิ่งที่ปรากฏออกมาจากระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมในปัจจุบันคือ
› ความขัดแย้งที่เกิดจากแนวคิดเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยจะพบว่า
การเรียกร้องของผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านลบต่อผู้ผลิตซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จนทาให้เกิดผลเสียต่อการดาเนินชีวิตของผู้เรียกร้องมีอยู่
มากมายและมีหลายกรณีเกิดจากแนวคิดการจัดสรรและการกระจายที่เกี่ยวข้องกับการคานวณ
ถึงการชดเชยตามหลักเศรษฐศาสตร์ตะวันตกที่ใช้กลไกเชิงปฏิฐานนิยมในการคานวณและ
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของประโยชน์ส่วนตัว
› การบริหารสาธารณะซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจ นักการเมืองที่เข้ามาบริหารประเทศ
ร่วมกับข้าราชการประจาซึ่งจะก่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการบริหารของ
นักการการเมือง และมักจะเกิดปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาความขัดแย้งสาธารณะอยู่
เสมอ
จุดยืนของจริยธรรมธรรมชาตินิยม
› แนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์มีจุดยืนของจริยธรรมธรรมชาตินิยม หรือนิเวศวิทยาแนว
ลึก (Deep Ecology) เน้นความเป็ นสมดุลตามธรรมชาติ แนวคิดนี้ทาให้มนุษย์ไม่มี
สิทธิก้าวล่วงต่อธรรมชาติ ตรงกันข้าม มนุษย์ต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลงและ
ยอมรับความเป็ นจริงของธรรมชาติ9 ดังนั้น ประเด็นของความยั่งยืน จึงไม่ได้เป็ น
ประเด็นที่สาคัญของพุทธเศรษฐศาสตร์ หากแต่ให้ความสาคัญต่อการใช้ประโยชน์
สูงสุดจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มนุษย์จะต้องไม่เน้นประโยชน์ส่วน
บุคคล ไม่กอบโกยผลประโยชน์เพื่อความสุขส่วนตน ไม่เน้นการนาทรัพย์สิน
ส่วนรวมมาเป็ นใช้เพื่อประโยชน์สุขส่วนตน
พุทธเศรษฐศาสตร ์กับแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
› แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นส่วนสาคัญของพุทธเศรษฐศาสตร์ พื้นฐานของพุทธ
เศรษฐศาสตร์เน้นจริยธรรมธรรมชาตินิยม จึงเท่ากับว่า เศรษฐกิจพอเพียงยอมรับการ
เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ พื้นฐานแนวคิดเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงในระดับฐานรากเป็ นสิ่ง
สาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ระดับฐานรากได้แก่ ชนบท สังคมการเกษตรที่ยังมีระดับ
ความยากจนค่อนข้างสูง และเชื่อมั่นว่า การกระจายรายได้ให้เกิดความมั่นคงเป็ นผลดีต่อ
เศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศ
พุทธเศรษฐศาสตร ์กับแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
› นัยของความหมายที่สอดคล้องกันระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธเศรษฐศาสตร์ จึงเป็นแนวคิดที่
สามารถเข้าใจได้ง่ายตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กล่าวคือ มีความพอประมาณหรือการยึดหลักทางสาย
กลาง ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีความซื่อตรง มีจริยธรรม มีคุณธรรม ดังนั้น คาว่า อรรถประโยชน์ในแง่
เศรษฐศาสตร์จากแนวคิดข้างต้นจึงเป็น “อรรถประโยชน์” ที่ปราศจากกิเลส หรือแนวคิดที่อยู่บนพื้นฐานของ
การตัดสินใจเพื่อการใช้ประโยชน์ในสิ่งต่างๆ อย่างแท้จริง มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลสูงสุด สิ่งที่
ตรงกันข้ามกับแนวคิดขางต้นคือ “อรรถประโยชน์” ในความหมายของเศรษฐศาสตร์ตะวันตก ซึ่งเน้นความ
พึงพอใจสูงสุดไม่เน้นการใช้ประโยชน์ที่แท้จริงแต่เน้นความพึงพอใจในการบริโภคเป็นหลักไม่ว่าสิ่งที่
นามาใช้ในการบริโภคจะคุ้มค่าหรือไม่ก็ตาม
การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง
› หลักการของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง สอดคล้องกับพุทธเศรษฐศาสตร ์ใน
หลักการต่างๆ หลายประการ ได้แก่
› ประการที่สอง หลักความไม่ประมาท เป็ นหลักของความ
กระตือรือร้น ขวนขวายอยู่เสมอ ไม่เพิกเฉยต่อสภาพแวดล้อม
รอบตัว เอาใจใส่ เตรียมความพร้อมตลอดเวลา ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่งบกพร่องของตนเองอย่างสม่าเสมอ
เพื่อให้บรรลุประโยชน์ท่ามกลางระบบเศรษฐกิจปัจจุบันที่มี
ความเสี่ยงสูง ทั้งนี้ จะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความไม่
ประมาทหรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นหลักความไม่โลภ
เนื่องจากความโลภนาไปสู่ความประมาท
ประการแรก หลักการพึ่งพาตนเอง ซึ่งถือเป็ นหลักการที่ใช้
ในการลดหรือเลี่ยงการพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากเกินไป
และในบางขณะก็ไมสามารถควบคุมปัจจัยภายนอกเหล่าน
นั้นได้ อีกทั้งยังสามารถสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ มี
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
ของตนให้เกิดขึ้น สิ่งดังกล่าวเรียกว่า “ความสามารถใน
การพึ่งพาตนเอง”
ประการที่สาม หลักอหิงสธรรมหรือหลักการไม่เบียดเบียนกันและกัน รวมถึงการให้ความเมตตากรุณา เอื้ออาทรซึ่งกันและ
กันทั้งในระดับปัจเจกชนและระดับบังคมส่วนรวมหรือระดับรัฐบาล ในระดับปัจเจกเช่น การหลีกเลี่ยงการละเว้นการละเมิด
ลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่น การลอกเลียนแบบสินค้า การคอรัปชั่น การคดโกงฉ้อฉล การไม่นาสิ่งของของบุคคลอื่นมาเป็ นของ
ตนไม่ว่าจะด้วยการถือเอาโดยใช้กฎหมายเป็ นเครื่องมือฉกฉวยแล้วถือเป็ นความชอบธรรม หรือการหลีกเลี่ยงเพื่อฉกฉวย
ผลประโยชน์จากช่องว่างของระเบียบกฎเกณฑ์
ประการที่สี่ หลักสัมมาอาชีวะ
› หลักการประกอบอาชีพที่มีเจตนาให้เกิดประโยชน์และความสุข
ของทุกคน ไม่หวังผลทางเศรษฐกิจแบบสุดโต่ง หรือการผลิตเพื่อ
การหวังผลกาไรสูงสุดโดยลดต้นทุนการผลิตให้ได้ต่าที่สุดจนทา
ให้การผลิตก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสังคมหรือมีผลกระทบ
ด้านลบต่อสภาพแวดล้อม ดังนั้น คาว่าคุณภาพของผลผลิตจึงมี
ความสาคัญต่อหลักสัมมาอาชีวะ ไม่ว่าจะเป็ นผลผลิตที่เป็ น
สิ่งของหรือผลผลิตที่มีรูปแบบของการให้บริการ
› ประการที่ห้า หลักการไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น คือหลัก
ซึ่งไม่เน้นผลประโยชน์ส่วนตน แต่เน้นผลประโยชน์สวนรวม
ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่นเช่น การลักลอบทิ้งสารเคมีหรือ
ของเสียซึ่งเป็ นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม จนมีผลกระทบต่อการ
ดาเนินชีวิของคนในชุมชน การลักลอบทิ้งขยะ การเผาทาลาย
ป่ าเพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินจนเป็ นเหตุให้เกิดไฟป่ ามีผลต่อ
มลภาวะและการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนั้น
หลักการไม่เบียดเบียนผู้อื่นยังรวมหมายถึงการประกอบอาชีพ
ที่ไม่ก่อความเดือดร้อนทั้งตนเองและผู้อื่น เช่น การทุจริตต่อ
หน้าที่การทางาน การก่ออาชญากรรม การก่อความเดือดร้อน
ต่อสังคมด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การลักลอบแข่ง
รถจักรยานยนต์หรือรถยนต์บนท้องถนนสาธารณะ
ประการที่ห้า หลักการไม่เบียดเบียนตนเอง
ความพอดีในการทาหน้าที่หรือการประมาณตนเอง เช่น การทางานมากจน
เกิดความเครียดเนื่องจากต้องการรายได้สนองความต้องการในการบริโภค
จนทาให้เกิดความเหนื่อยล้ามีผลต่อสุขภาพร่างกายทั้งในระยะสั้นและ
ระยะยาว
ประการที่หกหลักการละกิเลส
และความโลภ
› หมายถึงการพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความ
เสี่ยงต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เช่น การ
ใช ้บัตรเครดิตเพื่อการบริโภคเกินความ
จาเป็ น การใช ้ทรัพยากรเงินเพื่อการบริโภค
สิ่งของตามความต้องการของตนเองมาก
เกินกว่าทุนทรัพย์ที่มีอยู่ การกระทาดังกล่าว
นอกจากจะสร ้างความไม่มั่นคงทาง
เศรษฐกิจให้กับตัวเองแล้ว ยังอาจนาไปสู่
ความเสียหายทางเศรษฐกิจส่วนรวมได้อีก
ด้วย
ประการที่เจ็ด ความซื่อสัตย์สุจริต
› เน้นความสัมพันธ์ทางการตลาดที่ไม่เอารัด
เอาเปรียบระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภคซึ่งจะ
ไม่เกิดความขัดแย้งในระบบเศรษฐกิจ
ผู้ผลิต ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
และใช ้ประโยชน์ได้จริง ผู้บริโภคมีความพึง
พอใจในการบริโภคเพื่อประโยชน์หรือสนอง
ความต้องการที่แท้จริงของตน ไม่บริโภค
เพื่อสนองความต้องการสูงสุดหรือความ
ต้องการเทียมซึ่งหมายถึงกิเลส หรือความ
โลภ
สรุป
› หลักการสาคัญของพุทธเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง สามารถนามาประยุกต์ในสภาวะความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจสังคม ซึ่งถูกครอบงา
จากแนวคิดกระแสหลัก ด้วยวิธีการเข้าถึงและพยายามปลูกฝังจิตสานึกซึ่งจะมีผลต่อพฤติกรรมการ
แสดงออกของบทบาททั้งในระดับปัจเจกและในระดับสังคมหรือสาธารณะ โดยการผสานเข้ากับ
พื้นฐานวัฒนธรรมที่มีและดารงอยู่ภายในสังคมนั้น
› กลไกทางสังคมภายใต้พื้นฐานที่ดารงอยู่อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “ทุนทางสังคม” และเมื่อ
ผสมผสานเข้ากับหลักสาคัญข้างต้น จะทาให้ขั้นตอนการประยุกต์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเป็นไป
ได้อย่างประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
สบู่
สบู่สบู่
สบู่
 
Microsoft word บรรณานุกรม
Microsoft word   บรรณานุกรมMicrosoft word   บรรณานุกรม
Microsoft word บรรณานุกรม
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3

เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
Kasetsart University
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
Sutasinee Phu-on
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2
ratthirod
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
Sarawut Messi Single
 
สุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงามสุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงาม
หมา หลิว
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
JeenNe915
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
thanaporn
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
krusuparat01
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
krunimsocial
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
Yingjira Panomai
 
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3 (19)

เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2
 
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPUบทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
บทที่ 05 พฤติกรรมผู้บริโภค รวมอธิบาย จาก วิฑูรย์ DBA 09 SPU
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
สุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงามสุขภาพและความงาม
สุขภาพและความงาม
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์
 
Market
MarketMarket
Market
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (19)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 
Microsoft word ภาคผนวก
Microsoft word   ภาคผนวกMicrosoft word   ภาคผนวก
Microsoft word ภาคผนวก
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3

  • 2. แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์ › แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์ – พุทธเศรษฐศาสตร ์เป็นแนวคิดที่เริ่มจากการพิจารณาสังคมเกษตร วัฒนธรรมทางสังคม และการมี พุทธศาสนาเป็นรากฐานสาคัญ โดยการประยุกต์หลักการทางศาสนาเข้ากับกิจกรรมทางการ เกษตรซึ่งถือเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลักของประเทศไทย – การพัฒนาทางเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมยังได้นาหลักสาคัญของพุทธศาสนา 3 ประการ (เสนะ อูนากูล, 2530) 1 มาประยุกต์เข้ากับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เช่น หลักการใช ้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (งดความชั่ว หรือการคอรัปชั่น) การพัฒนาเชิงคุณภาพมากกว่า เชิงปริมาณ (ความดี หรือ การคานึงถึงผลิตและผลลัพธ์ที่มีคุณภาพตอบสนองต่อสังคม) และลด อัตราเร่งของการพัฒนาทางวัตถุที่อาจก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม (ทาจิตให้ผ่องใส)
  • 3. แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์ แนวคิดของพุทธเศรษฐศาสตร ์ได้ขยาย ความไปสู่ › แนวคิดทางการตลาด2 เช่น คาว่า มูลค่า (Value) การบริโภค (Consumption) ความพอประมาณ (Moderation) การไม่ บริโภค Non – Consumption) ความ สันโดษ (Contentment) การทางาน (Work) การผลิตหรือไม่ผลิต (Production and Non – Production) การแข่งขันและความร่วมมือ (Competition and Cooperation) โอกาสที่จะเลือก (Choice) และทัศนคติ ของชีวิต (Life View) ขึ้นอยู่กับการพิจารณาด้วยปัญญา › ปัญญาในที่นี้หมายถึง การรู้เท่าทันถึง ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่เห็นแก่ประโยชน์ของ ตนมากเกินไป ไม่ตกทาสของความ ต้องการหรือเรียกว่า กิเลสและตัณหา ทางพุทธศาสนาเรียกว่า อวิชชา การ รู้เท่าทันคือการคานึงถึงการกระทาเพื่อ ประโยชน์ทั้งตนเองและผู้อื่น ซึ่งจะ นาไปสู่การมีชีวิตที่ดี (Well – Being) เรียกว่า ความมีฉันทะ
  • 4. แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร ์ การพัฒนา (Development) ในด้านหนึ่ง คือ เหตุแห่งความ ยุ่งเหยิง อาจหมายถึง การถอยหลัง หรือเดินหน้า โดยเฉพาะ การพัฒนาความก้าวหน้าตามระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คือการทาให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นั่นหมายถึง กิจกรรมทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น ทั้งด้านการผลิต การบริโภค เกิดการหมุนเวียนของเงินตรา ซึ่ง เป็ นพฤติกรรมในการเพิ่ม ความโลภ ตัณหาความอยากและนาไปสู่ความล้มเหลวของ ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมหลายครั้งหลายคราว
  • 5. การพัฒนา (DEVELOPMENT) › ทฤษฎีปฎิฐานเศรษฐศาสตร ์4 (Piboonsravut, 1997) ซึ่งพัฒนาจาก พื้นฐานแนวคิดทฤษฎี ปทัสถาน (Normative Theory) และทฤษฎีปฏิฐาน (Positive Theory) กล่าวถึงธรรมชาติของ มนุษย์2 ประการคือ ความไม่สมบูรณ์ของ ความรู้และการไม่มีความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจเจกชนกับสิ่งอื่นๆ และหากทาให้เกิด ความรู้ความเข้าใจในทั้งสองประการ จะทาให้ เกิดการปลดเปลื้องความทุกข์ของตนเองและ จะไม่ทาให้ผู้อื่นเกิดทุกข์ ทั้งนี้ภายใต้หลักการ ของความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และการประพฤติ ปฏิบัติที่เป็ นไปตามครรลองคลองธรรม ใช ้ ชีวิตด้วยความมีสติและการใช้ปัญญา คาว่า การพัฒนาที่แท้จริงโดย พิจารณาจากมาตรฐานของพุทธ ธรรม คือ ความเรียบง่าย การ บริโภคให้น้อยลง แบ่งปันมากขึ้น การแบ่งปันในที่นี้ไม่ใช่การทาบุญ หรือทากุศล แต่เป็นการแบ่งปันใน วิถีการดาเนินชีวิตและโครงสร ้าง ทางสังคมที่ดารงอยู่ (Parnwell, 1996) 3
  • 6. แนวคิดเศรษฐศาสตร์มนุษยนิยม กับแนวคิดแบบพุทธและ ทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธ เศรษฐศาสตร์ จุดยืนของวิถีการผลิตแบบพุทธ คือ การวิเคราะห์ปัญหาทุกอย่าง ซึ่งอาจ เริ่มจากความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบสามส่วน คือ ปัจจัย นาเข้า กระบวนการผลิต ผลผลิตและ ของเสีย ผลผลิต ของเสีย ปัจจัยนำเข้ำ กระบวนกำรผลิต แนวคิดของกระบวนการผลิต ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตั้งแต่กระบวนการนาเข้าทรัพยากร ซึ่งต้องมีการพิจารณา ถึงคุณค่าในการใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิต และ แน่นอนว่าผลจากกระบวนการผลิตย่อมต้องได้มาซึ่ง ผลผลิตและของเสียจากกระบวนการผลิตดังกล่าว ดังนั้น กระบวนการผลิตจึงจาเป็ นต้องพิจารณาถึงการใช้ ประโยชน์ที่แท้จริงของสิ่งที่เป็ นปัจจัยนาเข้าสู่ กระบวนการผลิตที่ต้องคานึงถึงการนาปัจจัยด้านการผลิต มาใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่เหมาะสมกับผลผลิตที่ ออกมา นอกจากนั้น ยังต้องมีความจาเป็ นในการพิจารณาของเสียจาก กระบวนการผลิตเพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ และคานึงถึง ผลกระทบต่อวิถีการดารงชีวิต ทั้งทางตรงและทางอ้อม แนวคิด ของความสัมพันธ์ขององค์ประกอบด้านกระบวนการผลิตจึงเป็ น แนวคิดที่เศรษฐศาสตร์สมัยใหม่เรียกว่า ความมีประสิทธิภาพ
  • 7. จุดยืนของกระบวนการ ผลิตแบบพุทธ เน้นความเป็ นจริงตาม ธรรมชาติ โดยให้น้าหนักไปที่ ทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากถือ ว่า มนุษย์เป็ นทั้งทรัพยากร ผู้สร้างทรัพยากร เช่น ทุน เทคโนโลยี และผู้ที่นา ทรัพยากรจากธรรมชาติมาใช้ ในกระบวนการการผลิต เช่น พลังงาน วัตถุดิบที่ได้มาจาก ธรรมชาติ การสร้างผลผลิต และการบริโภคภายใต้ระบบเศรษฐกิจเสรี นิยมตะวันตก จาเป็ นต้องอาศัยหลักการ 5 ประการ ที่นามา จากหลักพุทธศาสตร์ (ขันธ์ 5) คือการที่ต้องรับรู้ทั้งโลก ภายนอกและความรู้สึกของตนเอง ได้แก่ ประการแรก รูปธรรมทั้งหมด (Corporeality) ประการที่สอง ความรู้สึก ทุกข์สุข (Filling or Sensation) ประการที่สาม ความหมาย และการกาหนดความหมาย (Perception) ส่วนปรุงแต่งให้ เกิดความรู้สึกที่ดีหรือไม่ดี (ดีหรือชั่ว; Mental Formation)) ประการที่ห้า รูปรส กลิ่นเสียง (Consciousness)
  • 8. ขันธ์ 5 ประการแรก คือการพิจารณาของ ผู้ผลิตในเชิงรูปธรรม โดยพิจารณา จากความเป็ นจริงที่ปรากฏ เช่น ขีด ความสามารถ ความต้องการของ ผู้บริโภคและสังคม ความจาเป็ น รูปแบบที่ต้องการ ข้อจากัดของ ทรัพยากรและข้อจากัดอื่นๆ ผลที่จะ ได้จากการผลิต สภาพแวดล้อมที่ เป็ นจริง ผู้บริโภค จาเป็ นต้อง พิจารณาถึงการบริโภคผลผลิต เช่นกัน รูปธรรมหรือลักษณะที่ สามารถมองเห็นได้ของผลผลิต คุณภาพของผลผลิต ข้อจากัดของ ตนเองหรือเรียกว่ากาลังการบริโภค (เรียกว่า รูปขันธ์) 7 ประการที่สอง คือการพิจารณาถึงความรู้สึกเป็ นสุขเมื่อได้ผลิต สิ่งของของผู้ผลิตเพื่อสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภค ความรู้สึกเป็ นสุขที่ได้บริโภคผลผลิตเพื่อสนองตอบความจาเป็ น ของผู้บริโภคตามกาลังและความสามารถของตน (เรียกว่า เวทนา) ประการที่สาม คือการพิจารณาถึงความหมายของผลผลิต กล่าวคือ การสื่อ ความหมายให้เกิดการรับรู้ถึงคุณภาพ วิธีการสนองตอบความต้องการที่ เหมาะสม ทั้งด้านราคาและคุณภาพที่ผู้บริโภคต้องการ ผู้บริโภคจะเรียนรู้ถึง ประสบการณ์จากการใช้ประโยชนจากผลผลิตดังกล่าว ทั้งยังมีความต้องการ ข่าวสาร เพื่อการเปรียบเทียบ ความรู้ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความสอดคล้อง ต่อวิถีการดารงชีวิตและความสอดคล้องต่อความต้องการที่เหมาะสม (เรียกว่า สัญญา)
  • 9. ขันธ์ 5 ประการที่สี่ คือการพิจารณาความดีความ ไม่ดี หรือการพิจารณาคุณภาพ การ กาหนดราคา การผลิตที่กาหนดให้เกิดผล กระทบน้อยที่สุดต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อม ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคโดยการ กาหนดราคาสูงเพื่อให้ได้กาไรมากเกิน ความเป็ นจริง คุณภาพของผลผลิตที่ได้ มาตรฐานสามารถใช้ประโยชน์ได้จริง ผู้ผลิตสามารถดารงอยู่และพัฒนาผลผลิต ของตนเองได้ตามศักยภาพ ขณะเดียวกัน ผู้บริโภคจะพิจารณาสิ่งดังกล่าวเพื่อการ บริโภคที่มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมตาม ความเหมาะสม ความเหมาะสมในที่นี้คือ ต่อกาลังทรัพย์ที่มีอยู่ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ทั้งตนเองและผู้อื่นเพียงเพื่อความอยากได้ อยากมีหรือเพื่อความทัดเทียมกับผู้ที่มี กาลังการบริโภคที่เหนือกว่า หรือความ ต้องการที่ไม่มีสิ้นสุด เป็ นต้น (เรียกว่า สังขาร) ประการที่ห้า คือความรู้สึก อารมณ์ รูป รส กลิ่นและเสียง เป็ น การพิจารณาสิ่งที่เป็ นรูปธรรมของผลผลิตที่ผลิต ซึ่งในทาง เศรษฐศาสตร์การตลาด สิ่งดังกล่าวจะถูกใช้เป็ นเครื่องมือใน การจาหน่ายผลผลิต ผู้บริโภคจะใช้สิ่งดังกล่าวเป็ นเครื่องมือใน การตัดสินใจเพื่อการบริโภคเช่นกัน ในประการที่ห้า ทั้งผู้ผลิต และผู้บริโภคจาเป็ นต้องมีคุณสมบัติทั้งสี่ประการข้างต้นเพื่อ ประกอบในการตัดสินใจ (เรียกว่า วิญญาณ)
  • 10. จุดยืนแบบพุทธและทรัพยากรมนุษย์ › ภายใต้เศรษฐกิจแนวคิดกระแสหลัก การนาหลักเศรษฐกิจแบบพุทธมาปรับใช้ไม่จาเพาะเจาะจงว่าจะเป็ นหลักขันธ์ 5 แต่หลัก พุทธธรรมอื่นๆ สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อทาให้เกิดสังคมที่ดี(ธรรมาภิบาล) เกิดความเอื้ออาทร ไม่เอารัดเอาเปรียบ เกิด ความรู้เท่าทันจากการศึกษาข่าวสาร เกิดความยับยั้งชั่งใจ เกิดปัญญาจากการศึกษาข้อมูลต่างๆ ก่อนการตัดสินใจด้วยความ ไม่ประมาท › เหตุผลที่ หลักเศรษฐศาสตร์แนวพุทธเน้นในด้านทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากเห็นความสาคัญของการใช้ปัญญา ซึ่งการนาขันธ์ 5 มาเป็ นเงื่อนไขการดารงชีวิตจะก่อให้เกิดปัญญา อภิชัย พันธเสน เสนอว่า “ การไม่มีอัตตา การมีสุขภาพกายและจิตเพื่อ สัมผัสที่สมบูรณ์ การมีสติที่มั่นคง สามารถจับยึดสิ่งที่ผ่านเข้ามาเพื่อการตรวจสอบได้ มีการให้ความหมายของสิ่งนั้นๆ ตาม ความเป็ นจริงและในที่สุดจะต้องไม่มีการปรุงแต่งสิ่งเหล่านั้นนอกเหนือไปจากความเป็ นจริง” › ดังนั้น คาว่าปัญญาตามหลักพุทธเศรษฐศาสตร์ คือวิธีการดารงชีวิตอย่างระมัดระวังรอบคอบ มีสติในการกระทาสิ่งต่างๆ คานึงถึง คุณธรรม จริยธรรม และสภาพแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็ น การบริโภค การผลิต
  • 11. จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม › เศรษฐศาสตร ์ที่เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีพัฒนาการจากองค์ ความรู้ด้านนิเวศน์วิทยา นอกจากจะมีการพัฒนาองค์ความรู้ไปสู่เศรษฐศาสตร ์ ทรัพยากรธรรมชาติและนิเวศน์วิทยาแล้วยังพัฒนาไปสู่องค์ความรู้ด้านการจัดการ สาธารณะ โดยถือว่าเป็ นหน้าที่สาธารณะของภาครัฐที่ต้องมีการจัดการและเป็ นส่วน หนึ่งที่จะต้องให้การบริการแก่ภาคสาธารณะ › เศรษฐศาสตร ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็ นเรื่องที่เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติ เช่น อากาศ น้า ดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ การใช้ประโยชน์จากระบบ นิเวศน์ เช่น การล่าสัตว์ทั้งการนามาเป็ นอาหารและการกีฬา การใช้ประโยชน์จาก ระบบชีวภาพเพื่อการผลิตผลลิตด้านการเกษตร ด้านสุขภาพอนามัย เป็ นต้น
  • 12. จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม › การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ จนเกินความสมดุล เป็ นเหตุทาให้เกิดความสูญเสียและการทาลายสิ่ง ดังกล่าว ดังนั้นเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงเป็ นองค์ความรู้ที่เป็ นแนวทางการจัดการให้เกิดการใช้ ประโยชน์อย่างคุ้มค่าและเป็ นแนวทางต่อการดารงรักษาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดารงอยู่เพื่อการใช้ประโยชน์ให้ ได้นานที่สุดเท่าที่จะทาได้ › แนวคิดเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากตะวันตก เน้นในด้านการกระจายและการจัดสรรมากกว่าการ ดารงรักษาอย่างแท้จริง จะเห็นได้จากการใช้ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์มาใช้ในการคานวณเพื่อการจัดสรรและการกระจาย แทน การใช้กลไกของจิตสานึกของมนุษย์และให้ความหมายต่อคาว่า จริยธรรม คุณธรรมจากจานวนตัวเลขที่ทาการกระจายและการ จัดสรร8 ซึ่งเรียกว่า จริยธรรมแบบอรรถประโยชน์ ที่นาไปสู่ความยุติธรรมในการจัดสรรและการกระจายบนพื้นฐานของ ความหมายในเชิง “ความเสมอภาค”
  • 13. จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม - สิ่งที่ปรากฏออกมาจากระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมในปัจจุบันคือ › ความขัดแย้งที่เกิดจากแนวคิดเศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยจะพบว่า การเรียกร้องของผู้ที่ได้รับผลกระทบด้านลบต่อผู้ผลิตซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จนทาให้เกิดผลเสียต่อการดาเนินชีวิตของผู้เรียกร้องมีอยู่ มากมายและมีหลายกรณีเกิดจากแนวคิดการจัดสรรและการกระจายที่เกี่ยวข้องกับการคานวณ ถึงการชดเชยตามหลักเศรษฐศาสตร์ตะวันตกที่ใช้กลไกเชิงปฏิฐานนิยมในการคานวณและ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของประโยชน์ส่วนตัว › การบริหารสาธารณะซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจ นักการเมืองที่เข้ามาบริหารประเทศ ร่วมกับข้าราชการประจาซึ่งจะก่อให้เกิดผลลัพธ์อย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการบริหารของ นักการการเมือง และมักจะเกิดปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะปัญหาความขัดแย้งสาธารณะอยู่ เสมอ
  • 14. จุดยืนของจริยธรรมธรรมชาตินิยม › แนวคิดพุทธเศรษฐศาสตร์มีจุดยืนของจริยธรรมธรรมชาตินิยม หรือนิเวศวิทยาแนว ลึก (Deep Ecology) เน้นความเป็ นสมดุลตามธรรมชาติ แนวคิดนี้ทาให้มนุษย์ไม่มี สิทธิก้าวล่วงต่อธรรมชาติ ตรงกันข้าม มนุษย์ต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลงและ ยอมรับความเป็ นจริงของธรรมชาติ9 ดังนั้น ประเด็นของความยั่งยืน จึงไม่ได้เป็ น ประเด็นที่สาคัญของพุทธเศรษฐศาสตร์ หากแต่ให้ความสาคัญต่อการใช้ประโยชน์ สูงสุดจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มนุษย์จะต้องไม่เน้นประโยชน์ส่วน บุคคล ไม่กอบโกยผลประโยชน์เพื่อความสุขส่วนตน ไม่เน้นการนาทรัพย์สิน ส่วนรวมมาเป็ นใช้เพื่อประโยชน์สุขส่วนตน
  • 15. พุทธเศรษฐศาสตร ์กับแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง › แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นส่วนสาคัญของพุทธเศรษฐศาสตร์ พื้นฐานของพุทธ เศรษฐศาสตร์เน้นจริยธรรมธรรมชาตินิยม จึงเท่ากับว่า เศรษฐกิจพอเพียงยอมรับการ เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ พื้นฐานแนวคิดเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงในระดับฐานรากเป็ นสิ่ง สาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ระดับฐานรากได้แก่ ชนบท สังคมการเกษตรที่ยังมีระดับ ความยากจนค่อนข้างสูง และเชื่อมั่นว่า การกระจายรายได้ให้เกิดความมั่นคงเป็ นผลดีต่อ เศรษฐกิจส่วนรวมของประเทศ
  • 16. พุทธเศรษฐศาสตร ์กับแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง › นัยของความหมายที่สอดคล้องกันระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธเศรษฐศาสตร์ จึงเป็นแนวคิดที่ สามารถเข้าใจได้ง่ายตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กล่าวคือ มีความพอประมาณหรือการยึดหลักทางสาย กลาง ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีความซื่อตรง มีจริยธรรม มีคุณธรรม ดังนั้น คาว่า อรรถประโยชน์ในแง่ เศรษฐศาสตร์จากแนวคิดข้างต้นจึงเป็น “อรรถประโยชน์” ที่ปราศจากกิเลส หรือแนวคิดที่อยู่บนพื้นฐานของ การตัดสินใจเพื่อการใช้ประโยชน์ในสิ่งต่างๆ อย่างแท้จริง มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลสูงสุด สิ่งที่ ตรงกันข้ามกับแนวคิดขางต้นคือ “อรรถประโยชน์” ในความหมายของเศรษฐศาสตร์ตะวันตก ซึ่งเน้นความ พึงพอใจสูงสุดไม่เน้นการใช้ประโยชน์ที่แท้จริงแต่เน้นความพึงพอใจในการบริโภคเป็นหลักไม่ว่าสิ่งที่ นามาใช้ในการบริโภคจะคุ้มค่าหรือไม่ก็ตาม
  • 17. การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง › หลักการของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง สอดคล้องกับพุทธเศรษฐศาสตร ์ใน หลักการต่างๆ หลายประการ ได้แก่ › ประการที่สอง หลักความไม่ประมาท เป็ นหลักของความ กระตือรือร้น ขวนขวายอยู่เสมอ ไม่เพิกเฉยต่อสภาพแวดล้อม รอบตัว เอาใจใส่ เตรียมความพร้อมตลอดเวลา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่งบกพร่องของตนเองอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้บรรลุประโยชน์ท่ามกลางระบบเศรษฐกิจปัจจุบันที่มี ความเสี่ยงสูง ทั้งนี้ จะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักความไม่ ประมาทหรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นหลักความไม่โลภ เนื่องจากความโลภนาไปสู่ความประมาท ประการแรก หลักการพึ่งพาตนเอง ซึ่งถือเป็ นหลักการที่ใช้ ในการลดหรือเลี่ยงการพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากเกินไป และในบางขณะก็ไมสามารถควบคุมปัจจัยภายนอกเหล่าน นั้นได้ อีกทั้งยังสามารถสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ มี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ของตนให้เกิดขึ้น สิ่งดังกล่าวเรียกว่า “ความสามารถใน การพึ่งพาตนเอง” ประการที่สาม หลักอหิงสธรรมหรือหลักการไม่เบียดเบียนกันและกัน รวมถึงการให้ความเมตตากรุณา เอื้ออาทรซึ่งกันและ กันทั้งในระดับปัจเจกชนและระดับบังคมส่วนรวมหรือระดับรัฐบาล ในระดับปัจเจกเช่น การหลีกเลี่ยงการละเว้นการละเมิด ลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่น การลอกเลียนแบบสินค้า การคอรัปชั่น การคดโกงฉ้อฉล การไม่นาสิ่งของของบุคคลอื่นมาเป็ นของ ตนไม่ว่าจะด้วยการถือเอาโดยใช้กฎหมายเป็ นเครื่องมือฉกฉวยแล้วถือเป็ นความชอบธรรม หรือการหลีกเลี่ยงเพื่อฉกฉวย ผลประโยชน์จากช่องว่างของระเบียบกฎเกณฑ์
  • 18. ประการที่สี่ หลักสัมมาอาชีวะ › หลักการประกอบอาชีพที่มีเจตนาให้เกิดประโยชน์และความสุข ของทุกคน ไม่หวังผลทางเศรษฐกิจแบบสุดโต่ง หรือการผลิตเพื่อ การหวังผลกาไรสูงสุดโดยลดต้นทุนการผลิตให้ได้ต่าที่สุดจนทา ให้การผลิตก่อให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสังคมหรือมีผลกระทบ ด้านลบต่อสภาพแวดล้อม ดังนั้น คาว่าคุณภาพของผลผลิตจึงมี ความสาคัญต่อหลักสัมมาอาชีวะ ไม่ว่าจะเป็ นผลผลิตที่เป็ น สิ่งของหรือผลผลิตที่มีรูปแบบของการให้บริการ › ประการที่ห้า หลักการไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น คือหลัก ซึ่งไม่เน้นผลประโยชน์ส่วนตน แต่เน้นผลประโยชน์สวนรวม ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่นเช่น การลักลอบทิ้งสารเคมีหรือ ของเสียซึ่งเป็ นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม จนมีผลกระทบต่อการ ดาเนินชีวิของคนในชุมชน การลักลอบทิ้งขยะ การเผาทาลาย ป่ าเพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินจนเป็ นเหตุให้เกิดไฟป่ ามีผลต่อ มลภาวะและการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากนั้น หลักการไม่เบียดเบียนผู้อื่นยังรวมหมายถึงการประกอบอาชีพ ที่ไม่ก่อความเดือดร้อนทั้งตนเองและผู้อื่น เช่น การทุจริตต่อ หน้าที่การทางาน การก่ออาชญากรรม การก่อความเดือดร้อน ต่อสังคมด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การลักลอบแข่ง รถจักรยานยนต์หรือรถยนต์บนท้องถนนสาธารณะ ประการที่ห้า หลักการไม่เบียดเบียนตนเอง ความพอดีในการทาหน้าที่หรือการประมาณตนเอง เช่น การทางานมากจน เกิดความเครียดเนื่องจากต้องการรายได้สนองความต้องการในการบริโภค จนทาให้เกิดความเหนื่อยล้ามีผลต่อสุขภาพร่างกายทั้งในระยะสั้นและ ระยะยาว
  • 19. ประการที่หกหลักการละกิเลส และความโลภ › หมายถึงการพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดความ เสี่ยงต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เช่น การ ใช ้บัตรเครดิตเพื่อการบริโภคเกินความ จาเป็ น การใช ้ทรัพยากรเงินเพื่อการบริโภค สิ่งของตามความต้องการของตนเองมาก เกินกว่าทุนทรัพย์ที่มีอยู่ การกระทาดังกล่าว นอกจากจะสร ้างความไม่มั่นคงทาง เศรษฐกิจให้กับตัวเองแล้ว ยังอาจนาไปสู่ ความเสียหายทางเศรษฐกิจส่วนรวมได้อีก ด้วย ประการที่เจ็ด ความซื่อสัตย์สุจริต › เน้นความสัมพันธ์ทางการตลาดที่ไม่เอารัด เอาเปรียบระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภคซึ่งจะ ไม่เกิดความขัดแย้งในระบบเศรษฐกิจ ผู้ผลิต ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน และใช ้ประโยชน์ได้จริง ผู้บริโภคมีความพึง พอใจในการบริโภคเพื่อประโยชน์หรือสนอง ความต้องการที่แท้จริงของตน ไม่บริโภค เพื่อสนองความต้องการสูงสุดหรือความ ต้องการเทียมซึ่งหมายถึงกิเลส หรือความ โลภ
  • 20. สรุป › หลักการสาคัญของพุทธเศรษฐศาสตร์ที่มีต่อแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถนามาประยุกต์ในสภาวะความเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจสังคม ซึ่งถูกครอบงา จากแนวคิดกระแสหลัก ด้วยวิธีการเข้าถึงและพยายามปลูกฝังจิตสานึกซึ่งจะมีผลต่อพฤติกรรมการ แสดงออกของบทบาททั้งในระดับปัจเจกและในระดับสังคมหรือสาธารณะ โดยการผสานเข้ากับ พื้นฐานวัฒนธรรมที่มีและดารงอยู่ภายในสังคมนั้น › กลไกทางสังคมภายใต้พื้นฐานที่ดารงอยู่อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า “ทุนทางสังคม” และเมื่อ ผสมผสานเข้ากับหลักสาคัญข้างต้น จะทาให้ขั้นตอนการประยุกต์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเป็นไป ได้อย่างประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล