SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
รายวิชา การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวิชา 2533310
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที่ 1
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
▪ ความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเชิงเศรษฐศาสตร ์และในเชิง
สังคม
▪ ในเชิงทฤษฎีปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวคิดที่แสดงแนวทางปฏิบัติตนในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับครัวเรือนไปจนถึงระดับรัฐ ทั้งนี้ แง่มุมของทฤษฎีอีกด้านหนึ่ง เป็ นการนาข้อสรุปจาก
ประสบการณ์จริง มาสร ้างเป็ นแนวคิดและหลักการ ความหมายจึงเน้นการนาไปใช ้ในกิจกรรมการ
ดารงชีวิตที่นาทุนทางสังคมมาใช ้ให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ2 ทาให้ลักษณะของทฤษฎีมี
การเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ (Paradigm Shift) หมายถึง การพัฒนาของตัวทฤษฎีเอง ทาให้เกิด
ลักษณะอีกอย่างหนึ่งขึ้นมาคือ การมองโลกในเชิงระบบที่มีพลวัตร (Dynamic) หรือการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา (Uncertainties) เนื่องจากมีการเชื่อมโยงกับกระแสโลกาภิวัฒน์ ทาให้ต้องพิจารณา
ปัจจัยต่างๆภายใต้กระแสดังกล่าว
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
▪ ทฤษฎีได้นาทฤษฎีพุทธเศรษฐศาสตร ์3มาเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดเพื่อใช ้เป็นแนวทางในการดาเนิน
ชีวิต และชี้ให้เห็นถึงลักษณะการใช ้ชีวิตที่ไม่เอารัดเอาเปรียบในเชิงเศรษฐศาสตร ์ซึ่งการเอารัดเอา
เปรียบดังกล่าว เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเศรษฐศาสตร ์ทุนนิยมกระแสหลัก พุทธเศรษฐศาสตร ์
จึงชี้แนะให้สร ้างความมีคุณธรรมและจริยธรรมขึ้นในสังคม ลักษณะดังกล่าว จึงเป็นลักษณะที่
แสดงออกในเชิงพฤติกรรมของคนในสังคมภายใต้ค่านิยมเชิงพุทธจึงสอดคล้องกับแนวทางพุทธ
เศรษฐศาสตร ์ที่มีลักษณะดังนี้
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
▪ 1. ความพอประมาณในที่นี้ไม่ได้หมายความว่าเมื่อบุคคลทากิจกรรมที่ได้รับผลของการกระทาใน
ระดับหนึ่งแล้วไม่กระทาต่อ แต่หมายถึงการรู้จักตัวเองว่ามีสถานภาพ ศักยภาพอย่างไร มีปัจจัย
อะไรบ้างที่สามารถนามาพิจารณาเพื่อการดาเนินกิจกรรมในการดารงชีวิต
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
▪ 2. ความมีเหตุผล เนื่องจากเมื่อรู้จักตัวเอง รู้ถึงสถานภาพของตนเองแล้ว บุคคลก็จะกระทา
กิจกรรมใดๆ อย่างมีเหตุผล คาว่าเหตุผลในที่นี้คือ การพิจารณาเหตุและผลของการกระทา
กิจกรรมการดาเนินชีวิตภายใต้เงื่อนไขซึ่งเรียกว่า ความระมัดระวัง ความรอบคอบ นาไปสู่การ
กระทาที่สามารถทาให้ตนเองและผู้อื่นพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างมั่นคงหรือเรียกว่า ความยั่งยืน
เนื่องจากสิ่งดังกล่าว จะสร ้างเงื่อนไขป้องกันความล้มเหลวในการประกอบกิจกรรมต่างๆได้หรือ
กล่าวอีกนัยหนึ่งว่าเป็น “ภูมิคุ้มกัน”
▪
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
▪ 3. เนื่องจากการดารงชีวิตตามแนวทางนี้ ไม่ไดมีความหมายในเชิงลบตามทัศนะของสังคมไทยชนบท
ที่มักเข้าใจคลาดเคลื่อนว่า การที่พุทธธรรมสอนให้รู ้จักการประมาณตนเอง เป็ นการไม่ไขว่คว้าสิ่งใด
รวมทั้งการไม่แสวงหาความรู ้ในสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดาเนินชีวิต จึงมักหยุดอยู่กับที่ไม่เกิดการ
พัฒนาเพราะมักคิดว่าชีวิตขึ้นอยู่กับโชคชะตา ตรงกันข้าม การดาเนินกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียงจาเป็ นต้องคิดอยู่ ตลอดเวลา เนื่องจากความจาเป็ นในการพิจารณา ปัจจัยภายใต้กระแสโลกา
ภิวัตน์ที่เปราะบาง ทาให้เกิดความคิดสร ้างสรรค์และเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสมเหตุสมผล สิ่งเหล่านี้
จะก่อให้เกิดนวัตกรรมทางความคิด การกระทาและผลที่ได้จากการดาเนินกิจกรรม
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
▪ ข้อสรุปของการให้ความหมายในเชิงทฤษฎีและสิ่งที่ได้จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จริงตาม
แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทาให้เกิดการพัฒนาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและเกิดการพัฒนาในตัวทฤษฎีเองประเด็นสาคัญของแนวคิดได้สร ้างแนวทางที่ทาให้เกิด
การพัฒนาตนเองอย่างสมเหตุสมผล สอดคล้องกับสภาพสังคมประชาธิปไตย การพัฒนาความ
สามารถของประชาชนและชุมชน5 รวมทั้งสอดคล้องกับการพัฒนาภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง
ของเศรษฐกิจและสังคมโลก
การยอมรับและการรับรู ้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่างประเทศ
เพื่อเป็ นพื้นฐานในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
▪ แนวความคิดการพึ่งพาตนเอง (Self-Sufficient) ในช่วงปี 1973 (2516)
▪ ชูมาร ์ค เกอร ์นาเสนอแนวคิดเศรษฐศาสตร ์เชิงพุทธผ่านงานเขียนชื่อ “จิ๋วแต่แจ๋ว” (Small Is
Beutiful, 1973)8
▪ องค์กรสหประชาชาติได้ ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาแบบยั่งยืนโดยออกเอกสารรายงาน ที่ชื่อว่า
Brundtland Report (1987) ซึ่งเป็นการยอมรับหลักการและทาให้คานิยามของคาว่าการพัฒนา
แบบยั่งยืนมีความชัดเจนยิ่งขึ้น9
การยอมรับและการรับรู ้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่าง
ประเทศเพื่อเป็ นพื้นฐานในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
▪ ตัวแทนจากประเทศไทยโดยคุณ สุวรรณี คามาน (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ (NESDB) ได้นาเสนอแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อองค์การ UNESSCO
เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2555 ที่ประเทศฝรั่งเศสและก่อนหน้านั้นในปี 2550 ประเทศไทยไดพยายาม
นาเสนอแนวคิดดังกล่าวต่อที่ประชุมสัมมนาของ UNDP ซึ่ง UNDP ได้นาหลักแนวคิดนี้ไปจัดทา
เป็นรายงานเผยแพร่ในระดับนานาชาติ โดยให้ความสาคัญต่อการนาไปพัฒนาคน
การยอมรับและการรับรู ้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่าง
ประเทศเพื่อเป็ นพื้นฐานในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
▪ การสัมมนาระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาชนบทแบบบูรณาการ (CIRDAP - Centre on
Integrated Rural Development for Asia and the Pacific) ของภูมิภาคอาเซียน–แปซิฟิก
11 มีการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาอภิปรายในที่ประชุมซึ่งก่อนหน้านี้ประเทศสมาชิกทั้งหลายได้
เคยศึกษาดูงานด้านการพัฒนาเศรษฐกิจการตามแนวทางเศรษฐกิจพอพียงในประเทศไทย
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาค
เอเชีย แนวความคิดและหลักการ
▪ 1) นานาทัศนะของนักเศรษฐศาสตร ์
▪ บุญชู เพ็ชรรักษ์ เกษตรกรผู้นาการปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง อภิชัย พันธเสน ผู้นาการ
ขับเคลื่อนแนวคิดการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พิพัฒน์ ยอดพฤตการณ์ ผู้จัดทา
โครงการแผนที่เดินทาง (Road Map) และการสร ้างเครือข่ายเศรษฐกิจพอเพียงระหว่างประเทศ จิกมี่ ทิน
เลย นายรัฐมนตรีประทศภูพาน ปีเตอร ์วอรร ์ศาสตราจารย์เศรษฐศาสตร ์ประจาองค์การอาหารและ
การเกษตร องค์การสหประชาชาติ ต่างมีความเห็นตรงกันว่าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นทางออกของ
ระบบทุนนิยมแต่ไม่ปฏิเสธเทคโนโลยเน้นศักยภาพของคนที่จะต้องสร ้างให้เกิดความ สามารถต่างๆ ได้แก่
ความเป็ นคนดีมีคุณธรรม การรู้จักตนเอง การเลือกใช ้และการใช ้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพตามความ
เป็ นจริง
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาค
เอเชีย แนวความคิดและหลักการ
▪ ความคิดเห็น ในหนังสือวรรณกรรมปริทัศน์ (2546)13ของบุคคลต่างๆ เช่น ณัฐพงศ์ทองภักดีและคณะ
(2542) แสดงความเห็นในเชิงเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ ชี้ให้เห็นถึงความได้เปรียบภายในประเทศ
รวมทั้งการนาหลักการของความรอบคอบระมัดระวังการรู้จักตน เองมาใช ้
▪ ปกรณ์ วิชยานนท์และยศ วัชระคุปต์ (2542) แสดงความเห็นต่อระบบภูมิคุ้มกันด้านการเงินซึ่งต้องมีการ
พึ่งพาตนเองให้มากขึ้น
▪ อดิศร ์อิศรางกร ณ อยุธยา(2542) นาเสนอในมุมมองของการพัฒนาและประยุกต์ทฤษฎีใหม่มาใช ้ในการ
พัฒนาการเกษตรตั้งแต่ผลผลิตการตลาดและการแข่งขันเป็ นต้น
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
แนวความคิดและหลักการ
▪ 2) นานาทัศนะของนักสังเคราะห์14
▪ ฉลองภพ สุสังกร ์กาญจน์ (2542) สมชัย จิตสุชน (2542) และสุเมธ ตันติเวชกุล (2542) เป็ นต้น สรุปได้
ว่า เศรษฐกิจพอเพียงก็คือพุทธเศรษฐศาสตร ์ที่ใช ้สาหรับการพัฒนาในหลายระดับ มีหลักการปฏิบัติที่
สอดคล้องต่อแนวคิดเศรษฐศาสตร ์กระแสหลัก แต่มีความเหนือกว่า ตรงที่มีกลไกควบคุมสิ่งต่างๆ โดยตัวผู้
ปฏิบัติเอง เช่น ความมีเหตุมีผล การรู้จักตนเอง การประมาณตนเอง ความระมัดระวังรอบคอบ ความ
ซื่อสัตย์การเรียนรู้ตลอดเวลาไม่หยุดอยู่กับที่ สิ่งเหล่านี้ ทาให้เกิดภูมิคุ้มกันจากความเสี่ยงทั้งหลาย จาก
ระบบตลาดทุนนิยมและจากกระแสการเปลี่ยนแปลง ทาให้การดาเนินชีวิตที่สามารถยืนอยู่ได้ท่ามกลาง
ความผันผวนของกระแสเศรษฐกิจ ทั้งยังสามารถผสานกลมกลืนเข้ากับสภาพแวดล้อมรอบตัวได้ ไม่ว่าจะ
เป็ นสภาพแวดล้อมด้านวัฒนธรรม ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและอื่นๆ
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
แนวความคิดและหลักการ
▪ 3) ความสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐศาสตร ์กระแสหลัก
▪ ภายใต้ความสอดคล้องต่อเศรษฐ ศาสตร ์กระแสหลักการพัฒนาการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ซึ่งพัฒนาต่อ
ยอดจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิโรจน์ ณ ระนอง (2542) เสนอแนวคิด ความเสี่ยงและภูมิคุ้มกันใน
ภาคเกษตรกรรม15 โดยจะมีความเสี่ยงทั้งความเสี่ยงด้านการผลิต ความเสี่ยงด้านการพึ่งพา ความเสี่ยง
จากธรรมชาติ ความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม เข่นเดียวกับ อัญญา สุวรรณคีรี (2542) ที่เสนอแนะการ
พัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืนตามแนวทางทฤษฎีใหม่ ขณะที่สุทธาภา อมรวิวัฒน์ (2542) เน้นการ
พัฒนาการพึ่งพาตนเองด้านทรัพยากรน้าของภาคการเกษตรนอกเหนือจากการพึ่งพาระบบชลประทาน
ของรัฐ โดยวิธีการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพและเป็ นธรรมของทั้งสองฝ่าย ทาให้ข้อเสนอดังกล่าว
สะท้อนภาพของการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช ้เป็ นแนวทางในการบริหารจัดการได้ค่อนข้าง
ชัดเจน
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
แนวความคิดและหลักการ
▪ แนวทางการพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม นิพนธ์พัวพงศกร (2542) ได้เสนอให้นาลักษณะอันเป็ นเงื่อนไข
การดาเนินชีวิตของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช ้ทั้งในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และ
อุตสาหกรรมขนาดเล็กโดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดย่อม (SME) ทั้งนี้สถาบันการเงินจะ เข้ามามีบทบาท
สา คัญต่อการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม โดยภาครัฐต้องสนับสนุนให้เกิดบรรยากาศที่มุ่งเน้นการสนับสนุน
ให้เกิดความเข้มแข็งทั้งสองฝ่าย
▪ ทั้งด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม สะท้อนถึงความสอดคล้องของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถี
เศรษฐกิจกระแสหลัก โดยไม่เกิดความขัดแย้ง แต่ลักษณะต่างๆที่เกิดขึ้นจะประสบผลหรือไม่นั้น
ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตามเงื่อนไขของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้ครบถ้วน
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
แนวความคิดและหลักการ
▪ 4) การประยุกต์ใช ้ในระดับมหภาค
▪ ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (Comparative Advantage) และทฤษฎีการผลิตเพื่อขยายการผลิตเสนอ
ว่า ควรมีความรู้ในการลงทุนทางการค้าระหว่างประเทศ การวิเคราะห์แนวโน้มของตลาดการค้า เนื่องจากสิ่ง
ดังกล่าว ต้องเผชิญกับความเสี่ยงสูง จึงจาเป็ นต้องมีความพอประมาณ รู้จักตนเอง มีเหตุและผลและมีความ
ยืดหยุ่น ความรอบคอบ สามารถลดความเสี่ยง และสามารถทาให้เกิดเปลี่ยนแปลงกิจกรรมได้ตาม
สภาพแวดล้อมของการแข่งขัน ความได้เปรียบที่แท้จริงคือ การแข่งขันระหว่างกันที่มีมากขึ้นเพื่อกระตุ้นให้
เกิดการพัฒนานวัตกรรม แต่ความได้เปรียบที่ไม่แท้จริงคือการ ส่งเสริมอุตสาหรรมขนาดใหญ่หรือการตั้ง
กาแพงภาษีที่ไม่ก่อให้เกิดความได้เปรียบที่แท้จริง
ทางเลือกในการพัฒนาสาหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย
แนวความคิดและหลักการ
▪ ความผันผวนทางการเงินในตลาดการเงินเป็ นสิ่งหนึ่งที่ทาให้เกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจในหลายประเทศทั่วโลก
ปกรณ์ วิชยนนท์ และ ยศ วัชรคปต์ (2542) เสนอแนะถึงภูมิคุ้มกันเพื่อลดความเสี่ยงในการบริหารการเงิน
ของประเทศ ไม่ให้เข้าสู่วิกฤติเศรษฐกิจ ขณะที่ อดิศร ์อิศรางกูล ณ อยธยา (2542) เสนอแนวทางทฤษฎี
ใหม่ เรียกว่าเศรษฐกิจพอเพียงระดับประเทศ โดยเสนอให้ตั้งเป้าที่แน่นอนของอัตราเงินเฟ้ อภายในประเทศ
ซึ่งก็คือหลักการพอประมาณและการรู้จักตนเอง
▪ การประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมหภาค โดยเงื่อนไขความพอประมาณ การรู้จักตนเอง ความ
มีเหตุมีผล ความรอบคอบตลอดจน การต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น จะทาให้เกิดภูมิคุ้มกันและ
ลดอัตราเสี่ยงต่อการบริหารเศรษฐกิจในระดับระหว่างประเทศได้เป็ นอย่างดี
สรุป
▪ ความหมายของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความหมายที่กว้างพอสมควร แม้ว่าโดยหัวใจสาคัญจะ
มีหลักการอยู่เพียงไม่กี่ประการก็ตาม หลักการและเงื่อนไขสาคัญของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้แก่
1) ความพอประมาณ การเดินอยู่ตรงกลางไม่สุดโต่งหรือที่เรียกว่าทางสายกลาง
2) การรู้จักตนเอง รู้ถึงศักยภาพและความสามารถรวมทั้งกาลังทรัพยากรที่มีอยู่ มีความ
รอบคอบ ความละเอียดถี่ถ้วนในการพิจารณาสิ่งต่างๆที่จะกระทา ทาให้เกิดลักษณะที่เรียกว่า การมีภูมิคุ้มกัน
3) ความมีเหตุผลต่อการกระทากิจกรรมที่เกี่ยวกับวิถีการดาเนินชีวิต ซึ่งทั้งสามประการข้างต้เป็ นเสมือน
หลักการสาคัญที่จาเป็ นต้องมีเงื่อนอีกสองประการ จึงจะสามารถทาให้แนวปฏิบัติเกิดผลสาเร็จ คือ
3.1) ความมีคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์ และยุติธรรมทั้งต่อตนเองและผู้ผู้อื่น
3.2) การมีและการแสวงหาความรอยู่เสมอ เพื่อนาไปใช ้ในกิจกรรมการดาเนินชีวิตและเพื่อสร ้างสิ่งใหม่ๆ
แบบฝึ กหัด
1. นักศึกษาอธิบายความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. นักศึกษาช่วยกันอภิปรายการประยุกต์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
3. จากทัศนะของนักเศรษฐศาสตร ์และนักสังเคราะห์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ให้นักศึกษาหยิบ
ยกตัวอย่างแนวทางปฏิบัติ จริงในปัจจุบันมาเปรียบเทียบกับทัศนะดังกล่าว
4. เศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวข้องกับพุทธเศรษฐศาสตร ์อย่างไรจงอธิบาย
5. นักศึกษาจะนาเงื่อนไขในการปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครัวเรือนและการดาเนินชีวิตของตน
อย่างไร จงอธิบาย
▪

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPhichit Kophon
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 

What's hot (15)

002
002002
002
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
Sufficiency economy
Sufficiency economySufficiency economy
Sufficiency economy
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2ratthirod
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Gritiga Soonthorn
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธKasetsart University
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
Se appl chapter 1
Se appl chapter 1Se appl chapter 1
Se appl chapter 1
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง