SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1
ชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
1. ชื่อชุมนุม โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
2. ผู้รับผิดชอบ นางสาวรัชศวรรณ มูลหา และคณะ
3. หลักการและเหตุผล
การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระผู้เรียนจาเป็นต้องใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์เป็นเครื่องมือ
ในการศึกษาหาความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ แต่จากผลการประเมินสถานศึกษาที่ผ่านการประเมิน
ภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาพบว่า มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณญาณ สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
อยู่ในระดับที่ควรเร่งปรับปรุงและพัฒนา ซึ่งปัญหาคุณภาพด้านการคิดวิเคราะห์ควรได้รับการแก้ไขและ
พัฒนาอย่างเร่งด่วนจริงจัง ด้วยเหตุนี้โรงเรียนวัดแสงสรรค์ จึงได้สรุปวิธีจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
ทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถใช้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวคิดให้ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม ทาให้ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ขั้นสูงได้
จากการศึกษาผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2549
พบว่า แนวคิด/ทฤษฎีที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ในการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่
นิยมใช้ในวงการศึกษาในช่วงปีพุทธศักราช 2535-2552 มี 3 ทฤษฎี ดังนี้
1)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism) 2) ทฤษฎีพหุปัญญา
(Theory of Multiple Intelligences) และ 3) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of
Cooperative or Collaborative Learning)
การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ข้างต้น ได้แก่ การสอนแบบโครงงาน การสอนแบบแก้ปัญหา
การสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ การสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่ม การสอนแบบร่วมมือ
โดยการสอนแบบโครงงานเป็นการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การค้นคว้า
การแสวงหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น เน้นทักษะการทางานเป็นกลุ่ม เลือกปฏิบัติในสิ่งที่ตนเองสนใจ
เป็นพื้นฐานของการสอนแบบโครงงานที่ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อันนามาซึ่ง
การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีระเบียบแบบแผนต่อไป
2
4. ปรัชญาและแนวคิด
การจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ให้ผู้เรียนทาได้ คิดเป็น ทาเป็น
โดยมีการฝึกทักษะโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์
การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้เรียนสามารถจัดทาโครงงานได้
จะทาให้ผู้เรียนมีทักษะ มีกระบวนการคิดสามารถเผชิญกับสถานการณ์จริง และสามารถแก้ปัญหาได้
5. วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
2 เพื่อให้มีทักษะในการจัดทาโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆได้
3 เพื่อประยุกต์ความรู้ความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการจัดทาโครงงานได้
อย่างเหมาะสม
6. โครงสร้างของหลักสูตร (รวม 40 ชั่วโมง )
ลาดับที่ สาระการเรียนรู้ เวลา
1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน 5 ชั่วโมง
2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อ และการเขียน
เค้าโครงของโครงงาน
ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอนาคต
ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5 ชั่วโมง
3 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน 10 ชั่วโมง
4 การเขียนรายงานโครงงาน 5 ชั่วโมง
5 การจัดทาแผงโครงงาน 10 ชั่วโมง
6 การนาเสนอและการประเมินโครงงาน 5 ชั่วโมง
7. แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. ทดสอบก่อนและหลังการประชุมปฏิบัติการ
3. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
4. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
6. การสรุปองค์ความรู้
7. การประเมินผลสรุปและรายงานผลการจัดการเรียนรู้
3
8. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
9. ระยะเวลาจัดกิจกรรม
40 ชั่วโมง
10. รูปแบบการจัดกิจกรรม
จัดการเรียนรู้ / ศึกษานิทรรศการรูปแบบ Walk Rally
11. การประเมินผล
1. รายการประเมิน
1) ความรู้ความเข้าใจ
2) ทักษะการจัดทาโครงงาน
3) การประยุกต์ความรู้และทักษะไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน
4) การมีส่วนร่วม
5) เวลาการปฏิบัติกิจกรรม
2. วิธีการประเมิน
1) การทดสอบ
2) สังเกตพฤติกรรม
3) การประเมินผลงาน
3. เครื่องมือ
1) แบบทดสอบ
2) แบบสังเกต
3) แบบประเมิน
4
12. รายละเอียดสาระการเรียนรู้
12.1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
การศึกษาและฝึกปฏิบัติทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน
2. เพื่อนาทักษะกระบวนการมาใช้ในการจัดทาโครงงาน
สาระการเรียนรู้
ทักษะกระบวนการที่จาเป็นในการทาโครงงาน
แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. ทดสอบก่อนและหลังการประชุมปฏิบัติการ
3. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
4. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
6. การสรุปองค์ความรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
การประเมินผล
รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
ความรู้ความเข้าใจ ประเมินผลงาน แบบประเมิน
ทักษะกระบวนการ 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต
2. ตรวจใบบันทึกกิจกรรม 2. แบบประเมินผลงาน
5
12.2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อและการเขียนเค้าโครงของโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมาย ความสาคัญในการจัดทาโครงงาน
ประเภทของโครงงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ประเภทของโครงงาน ขั้นตอนใน
การทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน
2. เพื่อให้จัดทาเค้าโครงของโครงงานได้
สาระการเรียนรู้
ความหมายของโครงงาน ความสาคัญในการจัดทาโครงงาน ประเภทของ
โครงงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน
แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การสรุปองค์ความรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
การประเมินผล
รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
ความรู้ความเข้าใจ ตรวจใบบันทึกกิจกรรม แบบประเมินผลงานหรือใบ
บันทึกกิจกรรม
การจัดทาเค้าโครงโครงงาน ประเมินเค้าโครงโครงงาน แบบประเมิน
6
12.3 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน จานวน 10 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
การฝึกปฏิบัติการทาโครงงานตามเค้าโครงของโครงงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้จัดทาโครงงานตามที่เขียนไว้ในเค้าโครงของโครงงานได้
สาระการเรียนรู้
การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน
แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การสรุปองค์ความรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
การประเมินผล
รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
การจัดทาโครงงาน 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต
2. ตรวจผลงาน 2. แบบประเมินผลงาน
7
12.4 การเขียนรายงานโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนรายงานโครงงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้เขียนรายงานโครงงานได้
สาระการเรียนรู้
การเขียนรายงานโครงงา
แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การสรุปองค์ความรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
การประเมินผล
สิ่งที่ประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
รายงานโครงงาน ประเมินผลงาน แบบประเมิน
8
12.5 การจัดทาแผงนาเสนอโครงงาน จานวน 10 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทาแผงนาเสนอโครงงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้จัดทาแผงนาเสนอโครงงานได้
สาระการเรียนรู้
การจัดทาแผงนาเสนอโครงงาน
แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การสรุปองค์ความรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
การประเมินผล
สิ่งที่ประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
แผงโครงงาน ประเมินผลงาน แบบประเมิน
9
12.6 การนาเสนอผลงาน และการประเมินโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการนาเสนอผลงานของโครงงานจากการจัดทารายงาน การจัดแผง
โครงงาน และการประเมินโครงงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้นาเสนอผลงานของโครงงานจากการจัดทารายงาน การจัดทาแผงโครงงาน และประเมิน
โครงงานได้
สาระการเรียนรู้
หลักเกณฑ์ในการเสนอผลงาน การนาเสนอผลงานของโครงงานและ
การประเมินโครงงาน
แนวการจัดกิจกรรม
1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้
2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT
3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5. การสรุปองค์ความรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. Power Point Presentation
3. ใบบันทึกกิจกรรม
4. ใบความรู้
5. ของจริง
6. เว็บไซต์
7. เครื่องมือประเมิน
การประเมินผล
รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ
การนาเสนอผลงาน 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต
2. ประเมินผลงาน 2. แบบประเมิน
10
แผนการจัดการเรียนรู้
ชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
1. เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 40 ชั่วโมง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน
2.2 เพื่อนาทักษะกระบวนการมาใช้ในการจัดทาโครงงานได้
2.3 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ประเภทของโครงงาน
ขั้นตอนในการทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน
2.4 เพื่อให้จัดทาเค้าโครงของโครงงานได้
2.5 เพื่อให้จัดทาโครงงานตามที่เขียนไว้ในเค้าโครงของโครงงานได้
2.6 เพื่อให้เขียนรายงานโครงงานได้
2.7 เพื่อให้จัดทาแผงนาเสนอโครงงานได้
2.8 เพื่อให้นาเสนอผลงานของโครงงานจากการจัดทารายงาน การจัดทาแผงโครงงาน
และประเมินโครงงานได้
2.9 เพื่อนาการคิดแก้ปัญหาอนาคตมาใช้ในโครงงานได้
2.10 เพื่อนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในโครงงานได้
3. สาระการเรียนรู้ ชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ ดังนี้
3.1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน
3.1.1 ทักษะกระบวนการที่จาเป็นในการทาโครงงาน ประกอบด้วย
1) ทักษะการสังเกต
2) ทักษะการวัด
3) ทักษะการคานวน
4) ทักษะการจาแนกประเภท
5) ทักษะการจัดทาและสื่อความหมาย
6) ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
7) ทักษะการตั้งสมมติฐาน
3.2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อ และการเขียนเค้าโครงของโครงงาน
3.2.1 ความหมาย ประเภทโครงงาน ความสาคัญในการทาโครงงาน
3.3.2 ขั้นตอนในการทาโครงงาน
1) คิดและเลือกหัวข้อในการทาโครงงาน
2) การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3) การเขียนเค้าโครงในการทาโครงงาน
4) การลงมือทาโครงงาน
5) การเขียนรายงาน
6) การจัดทาแผงโครงงาน
11
3.3.3 การคิดและเลือกหัวข้อโครงงานที่จะมาทาโครงงานจริง
3.3.4 การเขียนเค้าโครงของโครงงานที่จะมาทาโครงงานจริง
3.3 ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอนาคต
3.4 ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.5 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน ปฏิบัติจริง
3.6 การเขียนรายงานโครงงาน ปฏิบัติจริง
3.7 การจัดทาแผงโครงงาน ปฏิบัติจริง
3.8 การนาเสนอผลงาน และการประเมินโครงงาน ปฏิบัติจริง
4. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
4.1 ทดสอบก่อนเรียนโดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงงาน ประกอบด้วย
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จานวน 30 ข้อ
4.2 กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน
4.3 กิจกรรมฝึกปฏิบัติทักษะที่จาเป็นในการทาโครงงาน ประกอบด้วย
4.3.1 ฝึกปฏิบัติทักษะการสังเกต
4.3.2 ฝึกปฏิบัติทักษะการวัด
4.3.3 ฝึกปฏิบัติทักษะการคานวน
4.3.4 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดจาแนกประเภท โดยกาหนดสิ่งของไว้ในชุดฝึกปฏิบัติ
แล้วให้หาเกณฑ์ในการจาแนกและบันทึกไว้ในเอกสาร
4.3.5 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดทาและสื่อความหมาย
4.3.6 ฝึกปฏิบัติทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร ให้ดูจากเอกสารแล้วให้ตอบ
คาถามแล้วบันทึกในเอกสาร
4.3.7 ฝึกปฏิบัติทักษะการตั้งสมมติฐาน กาหนดรูปในชุดฝึกปฏิบัติให้ศึกษาแล้วให้
ตั้งสมมติฐาน
4.4 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
4.4.1 ศึกษาความหมายของโครงงาน ความสาคัญของโครงงาน การแก้ปัญหาอนาคต
และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้นักเรียน ศึกษาด้วยตัวเองในเอกสาร และให้ความรู้ โดยใช้
Power Point
4.4.2 ศึกษาขั้นตอนในการจัดทาโครงงาน โดยให้นักเรียนศึกษาด้วยตัวเองใน
เอกสาร และให้ความรู้ โดยใช้ Power Point
4.5 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการคิดและเลือกหัวในการทาโครงงาน โดยยกตัวอย่างโครงงานที่เคย
จัดทามาบรรยายโดยใช้ Power Point ให้คิดตาม แล้วคิดหัวข้อที่จะทาโครงงานแล้วบันทึกไว้
4.6 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน โดยเสนอหัวข้อที่จะเขียนเค้าโครง
โดย Power Point และให้คิดจุดประสงค์ของโครงงาน อุปกรณ์ที่ใช้ทาโครงงาน วางแผนและเขียน
ขั้นตอนในการทาโครงงาน บันทึกส่งครู
4.7 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการลงมือจัดทาโครงงาน โดยลงมือทาโครงงานตามแผนและขั้นตอนที่คิด
ไว้ และบันทึกข้อมูลเพื่อเก็บไว้เขียนรายงานโครงงาน
4.8 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานโครงงาน โดยการบรรยายของครูกล่าวถึงการเขียน
รายงาน ส่วนประกอบของรายงานโครงงานโดยใช้ Power Point และให้เขียนรายงานตามหัวข้อ
12
4.9 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาแผงโครงงาน แผงโครงงานใช้ฟิวเจอร์บอร์ด จานวน 3 แผ่น
ดังนี้ ขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 60 x 120 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่น และขนาด กว้าง x ยาว
เท่ากับ 60 x 60 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น
จัดแต่งแผงโครงงานให้สวยงามตามความเหมาะสม
4.10 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการรายงานปากเปล่า ให้ทุกกลุ่มอธิบายปากเปล่าข้อมูลในแผงโครงงาน
ให้ทุกคนรับทราบ ตามข้อมูลในแผงโครงงานทุกกลุ่ม
4.11 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการตัดสินโครงงานโดยให้ทุกคนเป็นกรรมการตัดสินว่าโครงงานไหนอยู่ใน
ความสนใจโดยให้ทุกคนเดินดูทุกโครงงานแล้วนาหัวใจกระดาษไปวางไว้หน้าโครงงานโครงงานไหนมีหัวใจ
กระดาษที่สุดแสดงว่าอยู่ในความสนใจมากที่สุด
4.12 ทดสอบหลังเรียนโดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงงงาน ประกอบด้วย
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จานวน 30 ข้อ
5. สื่อและอุปกรณ์
5.1 สื่อ Power Point
5.2 เอกสารประกอบการบรรยาย
5.3 อุปกรณ์การทาโครงงาน
6. วิธีวัดและประเมินผล
6.1 วิธีวัด
6.1.1 การทดสอบ
6.1.2 การวัดความสามารถในการทาโครงงาน
6.1.3 การสังเกตการทางานกลุ่มร่วมกัน
6.1.4 ประเมินผลการนาเสนผลงานของกลุ่ม
6.1.5 การตรวจผลงาน / ชิ้นงานของกลุ่ม
6.2 เครื่องมือที่ใช้วัด
6.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
6.2.2 แบบวัดความสามารถในการทาโครงงาน
6.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
6.2.4 แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม
6.2.5 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงานของกลุ่ม
6.3 เกณฑ์ในการวัด
ได้คะแนนร้อยละ 75 ขึ้นไปถือว่าผ่านการประเมิน
120 cm
60 cm
60 cm
60cm
60 cm
13
รายละเอียดขั้นตอนการจัดกิจกรรมชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
ปีการศึกษา 2560 จานวน 40 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวรัท ป้องเรืองดิลกและคณะ
เวลา ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล
00.30
ชั่วโมง
ทดสอบก่อนเรียน
ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความรู้
เกี่ยวกับโครงงาน
- แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียน
1
ชั่วโมง
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
กิจกรรมการต่อหลอดดูดน้าให้ตั้งได้เหมือนหอคอย
1.1สร้างความคุ้นเคยและแจ้งจุดประสงค์
1.2แบ่งกลุ่มโดยแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิกเป็นกลุ่ม กลุ่ม
ละ 5 คน
1.3 กลุ่มเลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม
1.4 ทุกกลุ่มทากิจกรรมกลุ่มต่อหลอดดูดน้าให้เป็น
หอคอย แข่งกันว่ากลุ่มใดต่อแล้วตั้งได้ และตั้งได้สูง
ที่สุด โดยกาหนดเวลา ให้ทั้งหมด 10 นาที
1.5 สะท้อนความคิดเห็นจากการทากิจกรรมต่อ
หลอดเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมฝึกปฏิบัติ
1. หลอดดูดน้าพลาสติก
จานวนกลุ่มละ25 หลอด
2. ด้าย
3. หลอดเล็ก
4. หนังยางรัดของ
3.30
ชั่วโมง
2.กิจกรรมการฝึกทักษะที่จาเป็นในการทาโครงงาน
ทั้ง 8 ทักษะ
2.1 ฝึกปฏิบัติทักษะการสังเกต โดยให้สังเกตกิ่งไม้
แล้วบันทึกข้อมูล
2.2 ฝึกปฏิบัติทักษะการวัด โดยวัดความยาวรอบ
รูปของรูปต่างๆที่มีในแบบฝึก
2.3 ฝึกปฏิบัติทักษะการคานวน โดยคานวณพื้นที่
ตามรูปที่กาหนดไว้ในแบบฝึก
2.4 ฝึกปฏิบัติทักษะระหว่างสเปสกับสเปส โดยให้
ปฏิบัติอุปกรณ์ที่กาหนด
2.5 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดจาแนกประเภท โดย
กาหนดสิ่งของไว้ในเอกสารแล้วให้หาเกณฑ์ในการ
จาแนกและบันทึกไว้ในเอกสาร
2.6 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดทาและสื่อความหมาย
2.7 ฝึกปฏิบัติทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
ให้ดูจากเอกสารแล้วให้ตอบคาถามแล้วบันทึกใน
เอกสาร
2.8 ฝึกปฏิบัติทักษะการตั้งสมมติฐาน กาหนดรูป
ในชุดฝึกปฏิบัติให้ศึกษาแล้วให้ตั้งสมมติฐาน
ทุกชุดฝึกทักษะฯจะใช้ Power Point ในการ
นาเสนอ
1. กิ่งไม้
2. อุปกรณ์สเปสกับสเปส
3. ด้าย
4. เหรียญ 10 บาท
5. ชุดฝึกปฏิบัติทักษะที่
จาเป็นในการทาโครงงาน
6. Power Point
1. สังเกตการณ์ทางาน
กลุ่ม
2. การประเมิน
นาเสนอของกลุ่ม
14
เวลา ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล
2
ชั่วโมง
3. กิจกรรมให้ความรู้ ประกอบด้วย
3.1 ศึกษาความหมายของโครงงานความสาคัญของ
โครงงาน โดยศึกษาด้วยตนเองในเอกสาร และให้
ความรู้ โดยใช้ Power Point
3.2 ศึกษาขั้นตอนในการจัดทาโครงงาน โดย
ให้ศึกษาด้วยตนเองในเอกสาร และให้ความรู้ โดยใช้
Power Point
3.3 ศึกษาการแก้ปัญหาอนาคต
3.4 ศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ชุดฝึกปฏิบัติการทา
โครงงาน
2. Power Point
3. Internet
1. การสังเกตการเข้า
ร่วมกิจกรรม/การศึกษา
ด้วยตนเอง
1
ชั่วโมง
4. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการคิดและเลือกหัวใน
การทาโครงงาน
ยกตัวอย่างโครงงานที่เคยจัดทามาบรรยายโดยใช้
Power Point ให้คิดตาม เลือกหัวข้อที่จะทา
โครงงานแล้วบันทึกไว้
1. ชุดฝึกปฏิบัติการทา
โครงงาน
2. Power Point
1. แบบวัด
ความสามารถในการคิด
และเลือกหัวข้อ
โครงงาน
2
ชั่วโมง
5. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาเค้าโครงของ
โครงงาน
เสนอหัวข้อที่จะเขียนเค้าโครงโดยPower Point
และให้คิดจุดประสงค์ของโครงงาน อุปกรณ์ที่ใช้ทา
โครงงาน และวางแผนและเขียนขั้นตอนในการทา
โครงงาน บันทึกส่งครู
1. ชุดฝึกปฏิบัติการทา
โครงงาน
2. Power Point
1. แบบวัด
ความสามารถในการ
เขียนเค้าโครงของ
โครงงาน
10
ชั่วโมง
6. กิจกรรมฝึกปฏิบัติทาโครงงาน
โดยลงมือทาโครงงานตามแผนและขั้นตอนที่คิดไว้
และบันทึกข้อมูลเพื่อเก็บไว้เขียนรายงานโครงงาน
1. วัสดุอุปกรณ์ที่แต่ละ
โครงงานต้องเตรียมมา
2. กระดาษ เอ 4
1. แบบวัด
ความสามารถในการลง
มือทาโครงงาน
5
ชั่วโมง
7. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานโครงงาน
โดยครูบรรยายส่วนประกอบของรายงานโครงงานโดย
ใช้ Power Point และให้เขียนรายงานตามหัวข้อ
1. กระดาษ เอ 4
2. กระดาษสี เอ 4
3. ปากกาเมจิกสีดา –
แดง
1. แบบวัด
ความสามารถในการ
เขียนรายงานโครงงาน
9.30
ชั่วโมง
8. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาแผงโครงงาน
แผงโครงงานใช้ฟิวเจอร์บอร์ด จานวน 3 แผ่นดังนี้
ขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 60 x 120
เซนติเมตร จานวน 1 แผ่น และขนาด กว้าง x
ยาว เท่ากับ 60 x 60 เซนติเมตร จานวน 2
แผ่น นามาติดกันดังรูป และใส่ข้อมูลตามหัวข้อดัง
รูป จัดแต่งแผงโครงงานให้สวยงามตามความ
เหมาะสม
1. กระดาษ เอ 4
2. กระดาษสี เอ 4
3. ปากกาเมจิกสีดา –
แดง
4. กระดากาว 2 นิ้ว
5. กระดาษกาว 2 หน้า
อย่างบาง
6. กาวลาเท็กซ์ กลุ่ม ละ
1 ขวด
7. ฟิวเจอร์บอร์ 3 แผ่น
ขนาดตามที่กาหนด
1. แบบวัด
ความสามารถในการ
จัดทาแผงโครงงาน
15
เวลา ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล
5
ชั่วโมง
9. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการนาเสนอผลงาน
ให้ทุกกลุ่มอธิบายปากเปล่าข้อมูลในแผงโครงงานให้
ทุกคนรับทราบ ตามข้อมูลในแผงโครงงานทุกกลุ่ม
10. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการประเมินตัดสินโครงงาน
โดยให้ทุกคนเป็นกรรมการตัดสินว่าโครงงานไหนอยู่
ในความสนใจโดยให้ทุกคนเดินดูทุกโครงงานแล้วนา
หลอดดูดน้าไปวางไว้หน้าโครงงานโครงงานไหนมี
หัวใจกระดาษมากที่สุดแสดงว่าอยู่ในความสนใจมาก
ที่สุด
1. แผงโครงงาน
2. หัวใจกระดาษ
1. แบบประเมินการ
นาเสนอผลงาน
00.30
ชั่วโมง
แบบทดสอบหลังเรียน
ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงงาน
1. แบบทดสอบ
16
โครงสร้างของหลักสูตรชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
(รวม 40 ชั่วโมง )
ลาดับที่ สาระการเรียนรู้ เวลา
1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 5 ชั่วโมง
2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อ
และการเขียนเค้าโครงของโครงงาน
ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอนาคต
ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5 ชั่วโมง
3 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 10 ชั่วโมง
4 การเขียนรายงานโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 5 ชั่วโมง
5 การจัดทาแผงโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 10 ชั่วโมง
6 การนาเสนอและการประเมินโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 5 ชั่วโมง
17
รายชื่อกิจกรรมตามชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ ประจาปีการศึกษา 2560
ที่ ชื่อกิจกรรม ชั้น ครูผู้รับผิดชอบ จานวน
นักเรียน
หมายเหตุ
1 สืบสานตานานไทย ป.1-ม.3 นายวรัท ป้องเรืองดิลก
2 การปลูกพืชสมุนไพร ป.1-ม.3 นางหนูรัตน์ อินทร์ตระกูล
3 การปลูกมะนาวในท่อ ป.1-ม.3 นายอนุศักดิ์ พรมโส
4 การทาอิฐบล็อค ป.1-ม.3 นายสมพร ดรละคร
5 การเลี้ยงปลาในบ่อปูน ป.1-ม.3 นางสมภาร ไสยสัตย์
6 การปลูกผักสวนครัว ป.1-ม.3 นางสาวกานต์ธิดา ดรละคร
7 การแปรรูปอาหาร ป.1-ม.3 นางสาวรัชศวรรณ มูลหา
8
9
10
ลงชื่อ................................................หัวหน้าครูที่ปรึกษาชุมนุม
( นายวรัท ป้องเรืองดิลก )
ลงชื่อ................................................
(...................................................)
หัวหน้ากิจกรรรมพัฒนาผู้เรียน
ลงชื่อ................................................
(นายประมวล อุ่นเรือน)
ผู้อานวยการโรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง
18
กิจกรรมชุมนุม โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ กิจกรรม...........................................
ครูที่ปรึกษา ...................................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน ................ คน
ที่ ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่ หมายเหตุ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
หมายเหตุ : สาเนาส่งครูที่ปรึกษา / ครูรัชศวรรณ มูลหา
19
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตารางบันทึกเวลาเรียน
กิจกรรมชุมนุม โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ กิจกรรม...........................................
ครูที่ปรึกษา ...................................................
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน ................ คน
ที่ ชื่อ-นามสกุล ชั้น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
ลงชื่อ................................................ครูที่ปรึกษาชุมนุม
(...............................................)
ลงชื่อ................................................
(...................................................)
หัวหน้ากิจกรรรมพัฒนาผู้เรียน
ลงชื่อ................................................
(นายประมวล อุ่นเรือน)
ผู้อานวยการโรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง

More Related Content

What's hot

หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะKruthai Kai
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokTophit Sampootong
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPrinting - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPloykarn Lamdual
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system EngineeringProject-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system EngineeringSanti Hutamarn
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมMickey Toon Luffy
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 

What's hot (19)

Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะ
 
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสารPrinting - กระบวนการการผลิตวารสาร
Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system EngineeringProject-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมการวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
การวางแผนปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
C and m
C and mC and m
C and m
 
Pca
PcaPca
Pca
 

Similar to โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ

เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...heemaa
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 

Similar to โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ (20)

R2R
R2RR2R
R2R
 
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
เน‚เธ„เธฃเธ‡เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธœเธ™เธเธฒเธฃเธˆเ...
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 

โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ

  • 1. 1 ชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 1. ชื่อชุมนุม โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 2. ผู้รับผิดชอบ นางสาวรัชศวรรณ มูลหา และคณะ 3. หลักการและเหตุผล การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระผู้เรียนจาเป็นต้องใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์เป็นเครื่องมือ ในการศึกษาหาความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ แต่จากผลการประเมินสถานศึกษาที่ผ่านการประเมิน ภายนอก จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาพบว่า มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณญาณ สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ อยู่ในระดับที่ควรเร่งปรับปรุงและพัฒนา ซึ่งปัญหาคุณภาพด้านการคิดวิเคราะห์ควรได้รับการแก้ไขและ พัฒนาอย่างเร่งด่วนจริงจัง ด้วยเหตุนี้โรงเรียนวัดแสงสรรค์ จึงได้สรุปวิธีจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริม ทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถใช้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวคิดให้ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม ทาให้ผู้เรียนมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ขั้นสูงได้ จากการศึกษาผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2549 พบว่า แนวคิด/ทฤษฎีที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ในการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่ นิยมใช้ในวงการศึกษาในช่วงปีพุทธศักราช 2535-2552 มี 3 ทฤษฎี ดังนี้ 1)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism) 2) ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) และ 3) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning) การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ข้างต้น ได้แก่ การสอนแบบโครงงาน การสอนแบบแก้ปัญหา การสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ การสอนโดยใช้ทักษะกระบวนการกลุ่ม การสอนแบบร่วมมือ โดยการสอนแบบโครงงานเป็นการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การค้นคว้า การแสวงหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น เน้นทักษะการทางานเป็นกลุ่ม เลือกปฏิบัติในสิ่งที่ตนเองสนใจ เป็นพื้นฐานของการสอนแบบโครงงานที่ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์ผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อันนามาซึ่ง การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีระเบียบแบบแผนต่อไป
  • 2. 2 4. ปรัชญาและแนวคิด การจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ให้ผู้เรียนทาได้ คิดเป็น ทาเป็น โดยมีการฝึกทักษะโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา โดยให้ผู้เรียนสามารถจัดทาโครงงานได้ จะทาให้ผู้เรียนมีทักษะ มีกระบวนการคิดสามารถเผชิญกับสถานการณ์จริง และสามารถแก้ปัญหาได้ 5. วัตถุประสงค์ 1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ 2 เพื่อให้มีทักษะในการจัดทาโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆได้ 3 เพื่อประยุกต์ความรู้ความเข้าใจที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการจัดทาโครงงานได้ อย่างเหมาะสม 6. โครงสร้างของหลักสูตร (รวม 40 ชั่วโมง ) ลาดับที่ สาระการเรียนรู้ เวลา 1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน 5 ชั่วโมง 2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อ และการเขียน เค้าโครงของโครงงาน ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอนาคต ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 ชั่วโมง 3 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน 10 ชั่วโมง 4 การเขียนรายงานโครงงาน 5 ชั่วโมง 5 การจัดทาแผงโครงงาน 10 ชั่วโมง 6 การนาเสนอและการประเมินโครงงาน 5 ชั่วโมง 7. แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. ทดสอบก่อนและหลังการประชุมปฏิบัติการ 3. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 4. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. การสรุปองค์ความรู้ 7. การประเมินผลสรุปและรายงานผลการจัดการเรียนรู้
  • 3. 3 8. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน 9. ระยะเวลาจัดกิจกรรม 40 ชั่วโมง 10. รูปแบบการจัดกิจกรรม จัดการเรียนรู้ / ศึกษานิทรรศการรูปแบบ Walk Rally 11. การประเมินผล 1. รายการประเมิน 1) ความรู้ความเข้าใจ 2) ทักษะการจัดทาโครงงาน 3) การประยุกต์ความรู้และทักษะไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน 4) การมีส่วนร่วม 5) เวลาการปฏิบัติกิจกรรม 2. วิธีการประเมิน 1) การทดสอบ 2) สังเกตพฤติกรรม 3) การประเมินผลงาน 3. เครื่องมือ 1) แบบทดสอบ 2) แบบสังเกต 3) แบบประเมิน
  • 4. 4 12. รายละเอียดสาระการเรียนรู้ 12.1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การศึกษาและฝึกปฏิบัติทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน 2. เพื่อนาทักษะกระบวนการมาใช้ในการจัดทาโครงงาน สาระการเรียนรู้ ทักษะกระบวนการที่จาเป็นในการทาโครงงาน แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. ทดสอบก่อนและหลังการประชุมปฏิบัติการ 3. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 4. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 5. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. การสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน การประเมินผล รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ ความรู้ความเข้าใจ ประเมินผลงาน แบบประเมิน ทักษะกระบวนการ 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต 2. ตรวจใบบันทึกกิจกรรม 2. แบบประเมินผลงาน
  • 5. 5 12.2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อและการเขียนเค้าโครงของโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความหมาย ความสาคัญในการจัดทาโครงงาน ประเภทของโครงงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ประเภทของโครงงาน ขั้นตอนใน การทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน 2. เพื่อให้จัดทาเค้าโครงของโครงงานได้ สาระการเรียนรู้ ความหมายของโครงงาน ความสาคัญในการจัดทาโครงงาน ประเภทของ โครงงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน การประเมินผล รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ ความรู้ความเข้าใจ ตรวจใบบันทึกกิจกรรม แบบประเมินผลงานหรือใบ บันทึกกิจกรรม การจัดทาเค้าโครงโครงงาน ประเมินเค้าโครงโครงงาน แบบประเมิน
  • 6. 6 12.3 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน จานวน 10 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การฝึกปฏิบัติการทาโครงงานตามเค้าโครงของโครงงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้จัดทาโครงงานตามที่เขียนไว้ในเค้าโครงของโครงงานได้ สาระการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน การประเมินผล รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ การจัดทาโครงงาน 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต 2. ตรวจผลงาน 2. แบบประเมินผลงาน
  • 7. 7 12.4 การเขียนรายงานโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนรายงานโครงงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้เขียนรายงานโครงงานได้ สาระการเรียนรู้ การเขียนรายงานโครงงา แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน การประเมินผล สิ่งที่ประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ รายงานโครงงาน ประเมินผลงาน แบบประเมิน
  • 8. 8 12.5 การจัดทาแผงนาเสนอโครงงาน จานวน 10 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทาแผงนาเสนอโครงงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้จัดทาแผงนาเสนอโครงงานได้ สาระการเรียนรู้ การจัดทาแผงนาเสนอโครงงาน แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน การประเมินผล สิ่งที่ประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ แผงโครงงาน ประเมินผลงาน แบบประเมิน
  • 9. 9 12.6 การนาเสนอผลงาน และการประเมินโครงงาน จานวน 5 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการนาเสนอผลงานของโครงงานจากการจัดทารายงาน การจัดแผง โครงงาน และการประเมินโครงงาน วัตถุประสงค์ เพื่อให้นาเสนอผลงานของโครงงานจากการจัดทารายงาน การจัดทาแผงโครงงาน และประเมิน โครงงานได้ สาระการเรียนรู้ หลักเกณฑ์ในการเสนอผลงาน การนาเสนอผลงานของโครงงานและ การประเมินโครงงาน แนวการจัดกิจกรรม 1. การชี้แจงวัตถุประสงค์รายวิชา และสาระการเรียนรู้ 2. การอภิปราย บรรยาย ศึกษาเอกสารและสื่อ ICT 3. การฝึกปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การสรุปองค์ความรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. Power Point Presentation 3. ใบบันทึกกิจกรรม 4. ใบความรู้ 5. ของจริง 6. เว็บไซต์ 7. เครื่องมือประเมิน การประเมินผล รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ การนาเสนอผลงาน 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต 2. ประเมินผลงาน 2. แบบประเมิน
  • 10. 10 แผนการจัดการเรียนรู้ ชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 1. เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 40 ชั่วโมง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน 2.2 เพื่อนาทักษะกระบวนการมาใช้ในการจัดทาโครงงานได้ 2.3 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ ประเภทของโครงงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน และการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน 2.4 เพื่อให้จัดทาเค้าโครงของโครงงานได้ 2.5 เพื่อให้จัดทาโครงงานตามที่เขียนไว้ในเค้าโครงของโครงงานได้ 2.6 เพื่อให้เขียนรายงานโครงงานได้ 2.7 เพื่อให้จัดทาแผงนาเสนอโครงงานได้ 2.8 เพื่อให้นาเสนอผลงานของโครงงานจากการจัดทารายงาน การจัดทาแผงโครงงาน และประเมินโครงงานได้ 2.9 เพื่อนาการคิดแก้ปัญหาอนาคตมาใช้ในโครงงานได้ 2.10 เพื่อนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในโครงงานได้ 3. สาระการเรียนรู้ ชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ ดังนี้ 3.1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงาน 3.1.1 ทักษะกระบวนการที่จาเป็นในการทาโครงงาน ประกอบด้วย 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการวัด 3) ทักษะการคานวน 4) ทักษะการจาแนกประเภท 5) ทักษะการจัดทาและสื่อความหมาย 6) ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร 7) ทักษะการตั้งสมมติฐาน 3.2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อ และการเขียนเค้าโครงของโครงงาน 3.2.1 ความหมาย ประเภทโครงงาน ความสาคัญในการทาโครงงาน 3.3.2 ขั้นตอนในการทาโครงงาน 1) คิดและเลือกหัวข้อในการทาโครงงาน 2) การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3) การเขียนเค้าโครงในการทาโครงงาน 4) การลงมือทาโครงงาน 5) การเขียนรายงาน 6) การจัดทาแผงโครงงาน
  • 11. 11 3.3.3 การคิดและเลือกหัวข้อโครงงานที่จะมาทาโครงงานจริง 3.3.4 การเขียนเค้าโครงของโครงงานที่จะมาทาโครงงานจริง 3.3 ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอนาคต 3.4 ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.5 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงาน ปฏิบัติจริง 3.6 การเขียนรายงานโครงงาน ปฏิบัติจริง 3.7 การจัดทาแผงโครงงาน ปฏิบัติจริง 3.8 การนาเสนอผลงาน และการประเมินโครงงาน ปฏิบัติจริง 4. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 4.1 ทดสอบก่อนเรียนโดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงงาน ประกอบด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จานวน 30 ข้อ 4.2 กิจกรรมนาเข้าสู่บทเรียน 4.3 กิจกรรมฝึกปฏิบัติทักษะที่จาเป็นในการทาโครงงาน ประกอบด้วย 4.3.1 ฝึกปฏิบัติทักษะการสังเกต 4.3.2 ฝึกปฏิบัติทักษะการวัด 4.3.3 ฝึกปฏิบัติทักษะการคานวน 4.3.4 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดจาแนกประเภท โดยกาหนดสิ่งของไว้ในชุดฝึกปฏิบัติ แล้วให้หาเกณฑ์ในการจาแนกและบันทึกไว้ในเอกสาร 4.3.5 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดทาและสื่อความหมาย 4.3.6 ฝึกปฏิบัติทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร ให้ดูจากเอกสารแล้วให้ตอบ คาถามแล้วบันทึกในเอกสาร 4.3.7 ฝึกปฏิบัติทักษะการตั้งสมมติฐาน กาหนดรูปในชุดฝึกปฏิบัติให้ศึกษาแล้วให้ ตั้งสมมติฐาน 4.4 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4.4.1 ศึกษาความหมายของโครงงาน ความสาคัญของโครงงาน การแก้ปัญหาอนาคต และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้นักเรียน ศึกษาด้วยตัวเองในเอกสาร และให้ความรู้ โดยใช้ Power Point 4.4.2 ศึกษาขั้นตอนในการจัดทาโครงงาน โดยให้นักเรียนศึกษาด้วยตัวเองใน เอกสาร และให้ความรู้ โดยใช้ Power Point 4.5 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการคิดและเลือกหัวในการทาโครงงาน โดยยกตัวอย่างโครงงานที่เคย จัดทามาบรรยายโดยใช้ Power Point ให้คิดตาม แล้วคิดหัวข้อที่จะทาโครงงานแล้วบันทึกไว้ 4.6 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน โดยเสนอหัวข้อที่จะเขียนเค้าโครง โดย Power Point และให้คิดจุดประสงค์ของโครงงาน อุปกรณ์ที่ใช้ทาโครงงาน วางแผนและเขียน ขั้นตอนในการทาโครงงาน บันทึกส่งครู 4.7 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการลงมือจัดทาโครงงาน โดยลงมือทาโครงงานตามแผนและขั้นตอนที่คิด ไว้ และบันทึกข้อมูลเพื่อเก็บไว้เขียนรายงานโครงงาน 4.8 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานโครงงาน โดยการบรรยายของครูกล่าวถึงการเขียน รายงาน ส่วนประกอบของรายงานโครงงานโดยใช้ Power Point และให้เขียนรายงานตามหัวข้อ
  • 12. 12 4.9 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาแผงโครงงาน แผงโครงงานใช้ฟิวเจอร์บอร์ด จานวน 3 แผ่น ดังนี้ ขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 60 x 120 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่น และขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 60 x 60 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น จัดแต่งแผงโครงงานให้สวยงามตามความเหมาะสม 4.10 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการรายงานปากเปล่า ให้ทุกกลุ่มอธิบายปากเปล่าข้อมูลในแผงโครงงาน ให้ทุกคนรับทราบ ตามข้อมูลในแผงโครงงานทุกกลุ่ม 4.11 กิจกรรมฝึกปฏิบัติการตัดสินโครงงานโดยให้ทุกคนเป็นกรรมการตัดสินว่าโครงงานไหนอยู่ใน ความสนใจโดยให้ทุกคนเดินดูทุกโครงงานแล้วนาหัวใจกระดาษไปวางไว้หน้าโครงงานโครงงานไหนมีหัวใจ กระดาษที่สุดแสดงว่าอยู่ในความสนใจมากที่สุด 4.12 ทดสอบหลังเรียนโดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงงงาน ประกอบด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จานวน 30 ข้อ 5. สื่อและอุปกรณ์ 5.1 สื่อ Power Point 5.2 เอกสารประกอบการบรรยาย 5.3 อุปกรณ์การทาโครงงาน 6. วิธีวัดและประเมินผล 6.1 วิธีวัด 6.1.1 การทดสอบ 6.1.2 การวัดความสามารถในการทาโครงงาน 6.1.3 การสังเกตการทางานกลุ่มร่วมกัน 6.1.4 ประเมินผลการนาเสนผลงานของกลุ่ม 6.1.5 การตรวจผลงาน / ชิ้นงานของกลุ่ม 6.2 เครื่องมือที่ใช้วัด 6.2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 6.2.2 แบบวัดความสามารถในการทาโครงงาน 6.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 6.2.4 แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม 6.2.5 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงานของกลุ่ม 6.3 เกณฑ์ในการวัด ได้คะแนนร้อยละ 75 ขึ้นไปถือว่าผ่านการประเมิน 120 cm 60 cm 60 cm 60cm 60 cm
  • 13. 13 รายละเอียดขั้นตอนการจัดกิจกรรมชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ ปีการศึกษา 2560 จานวน 40 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวรัท ป้องเรืองดิลกและคณะ เวลา ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล 00.30 ชั่วโมง ทดสอบก่อนเรียน ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความรู้ เกี่ยวกับโครงงาน - แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน 1 ชั่วโมง 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน กิจกรรมการต่อหลอดดูดน้าให้ตั้งได้เหมือนหอคอย 1.1สร้างความคุ้นเคยและแจ้งจุดประสงค์ 1.2แบ่งกลุ่มโดยแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิกเป็นกลุ่ม กลุ่ม ละ 5 คน 1.3 กลุ่มเลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม 1.4 ทุกกลุ่มทากิจกรรมกลุ่มต่อหลอดดูดน้าให้เป็น หอคอย แข่งกันว่ากลุ่มใดต่อแล้วตั้งได้ และตั้งได้สูง ที่สุด โดยกาหนดเวลา ให้ทั้งหมด 10 นาที 1.5 สะท้อนความคิดเห็นจากการทากิจกรรมต่อ หลอดเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมฝึกปฏิบัติ 1. หลอดดูดน้าพลาสติก จานวนกลุ่มละ25 หลอด 2. ด้าย 3. หลอดเล็ก 4. หนังยางรัดของ 3.30 ชั่วโมง 2.กิจกรรมการฝึกทักษะที่จาเป็นในการทาโครงงาน ทั้ง 8 ทักษะ 2.1 ฝึกปฏิบัติทักษะการสังเกต โดยให้สังเกตกิ่งไม้ แล้วบันทึกข้อมูล 2.2 ฝึกปฏิบัติทักษะการวัด โดยวัดความยาวรอบ รูปของรูปต่างๆที่มีในแบบฝึก 2.3 ฝึกปฏิบัติทักษะการคานวน โดยคานวณพื้นที่ ตามรูปที่กาหนดไว้ในแบบฝึก 2.4 ฝึกปฏิบัติทักษะระหว่างสเปสกับสเปส โดยให้ ปฏิบัติอุปกรณ์ที่กาหนด 2.5 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดจาแนกประเภท โดย กาหนดสิ่งของไว้ในเอกสารแล้วให้หาเกณฑ์ในการ จาแนกและบันทึกไว้ในเอกสาร 2.6 ฝึกปฏิบัติทักษะการจัดทาและสื่อความหมาย 2.7 ฝึกปฏิบัติทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร ให้ดูจากเอกสารแล้วให้ตอบคาถามแล้วบันทึกใน เอกสาร 2.8 ฝึกปฏิบัติทักษะการตั้งสมมติฐาน กาหนดรูป ในชุดฝึกปฏิบัติให้ศึกษาแล้วให้ตั้งสมมติฐาน ทุกชุดฝึกทักษะฯจะใช้ Power Point ในการ นาเสนอ 1. กิ่งไม้ 2. อุปกรณ์สเปสกับสเปส 3. ด้าย 4. เหรียญ 10 บาท 5. ชุดฝึกปฏิบัติทักษะที่ จาเป็นในการทาโครงงาน 6. Power Point 1. สังเกตการณ์ทางาน กลุ่ม 2. การประเมิน นาเสนอของกลุ่ม
  • 14. 14 เวลา ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล 2 ชั่วโมง 3. กิจกรรมให้ความรู้ ประกอบด้วย 3.1 ศึกษาความหมายของโครงงานความสาคัญของ โครงงาน โดยศึกษาด้วยตนเองในเอกสาร และให้ ความรู้ โดยใช้ Power Point 3.2 ศึกษาขั้นตอนในการจัดทาโครงงาน โดย ให้ศึกษาด้วยตนเองในเอกสาร และให้ความรู้ โดยใช้ Power Point 3.3 ศึกษาการแก้ปัญหาอนาคต 3.4 ศึกษาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ชุดฝึกปฏิบัติการทา โครงงาน 2. Power Point 3. Internet 1. การสังเกตการเข้า ร่วมกิจกรรม/การศึกษา ด้วยตนเอง 1 ชั่วโมง 4. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการคิดและเลือกหัวใน การทาโครงงาน ยกตัวอย่างโครงงานที่เคยจัดทามาบรรยายโดยใช้ Power Point ให้คิดตาม เลือกหัวข้อที่จะทา โครงงานแล้วบันทึกไว้ 1. ชุดฝึกปฏิบัติการทา โครงงาน 2. Power Point 1. แบบวัด ความสามารถในการคิด และเลือกหัวข้อ โครงงาน 2 ชั่วโมง 5. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาเค้าโครงของ โครงงาน เสนอหัวข้อที่จะเขียนเค้าโครงโดยPower Point และให้คิดจุดประสงค์ของโครงงาน อุปกรณ์ที่ใช้ทา โครงงาน และวางแผนและเขียนขั้นตอนในการทา โครงงาน บันทึกส่งครู 1. ชุดฝึกปฏิบัติการทา โครงงาน 2. Power Point 1. แบบวัด ความสามารถในการ เขียนเค้าโครงของ โครงงาน 10 ชั่วโมง 6. กิจกรรมฝึกปฏิบัติทาโครงงาน โดยลงมือทาโครงงานตามแผนและขั้นตอนที่คิดไว้ และบันทึกข้อมูลเพื่อเก็บไว้เขียนรายงานโครงงาน 1. วัสดุอุปกรณ์ที่แต่ละ โครงงานต้องเตรียมมา 2. กระดาษ เอ 4 1. แบบวัด ความสามารถในการลง มือทาโครงงาน 5 ชั่วโมง 7. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานโครงงาน โดยครูบรรยายส่วนประกอบของรายงานโครงงานโดย ใช้ Power Point และให้เขียนรายงานตามหัวข้อ 1. กระดาษ เอ 4 2. กระดาษสี เอ 4 3. ปากกาเมจิกสีดา – แดง 1. แบบวัด ความสามารถในการ เขียนรายงานโครงงาน 9.30 ชั่วโมง 8. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการจัดทาแผงโครงงาน แผงโครงงานใช้ฟิวเจอร์บอร์ด จานวน 3 แผ่นดังนี้ ขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 60 x 120 เซนติเมตร จานวน 1 แผ่น และขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 60 x 60 เซนติเมตร จานวน 2 แผ่น นามาติดกันดังรูป และใส่ข้อมูลตามหัวข้อดัง รูป จัดแต่งแผงโครงงานให้สวยงามตามความ เหมาะสม 1. กระดาษ เอ 4 2. กระดาษสี เอ 4 3. ปากกาเมจิกสีดา – แดง 4. กระดากาว 2 นิ้ว 5. กระดาษกาว 2 หน้า อย่างบาง 6. กาวลาเท็กซ์ กลุ่ม ละ 1 ขวด 7. ฟิวเจอร์บอร์ 3 แผ่น ขนาดตามที่กาหนด 1. แบบวัด ความสามารถในการ จัดทาแผงโครงงาน
  • 15. 15 เวลา ขั้นตอนการจัดกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์ การวัดและประเมินผล 5 ชั่วโมง 9. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการนาเสนอผลงาน ให้ทุกกลุ่มอธิบายปากเปล่าข้อมูลในแผงโครงงานให้ ทุกคนรับทราบ ตามข้อมูลในแผงโครงงานทุกกลุ่ม 10. กิจกรรมฝึกปฏิบัติการประเมินตัดสินโครงงาน โดยให้ทุกคนเป็นกรรมการตัดสินว่าโครงงานไหนอยู่ ในความสนใจโดยให้ทุกคนเดินดูทุกโครงงานแล้วนา หลอดดูดน้าไปวางไว้หน้าโครงงานโครงงานไหนมี หัวใจกระดาษมากที่สุดแสดงว่าอยู่ในความสนใจมาก ที่สุด 1. แผงโครงงาน 2. หัวใจกระดาษ 1. แบบประเมินการ นาเสนอผลงาน 00.30 ชั่วโมง แบบทดสอบหลังเรียน ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโครงงาน 1. แบบทดสอบ
  • 16. 16 โครงสร้างของหลักสูตรชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (รวม 40 ชั่วโมง ) ลาดับที่ สาระการเรียนรู้ เวลา 1 ทักษะกระบวนการในการทาโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 5 ชั่วโมง 2 ความรู้เกี่ยวกับโครงงาน การคิดและเลือกหัวข้อ และการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาอนาคต ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5 ชั่วโมง 3 การฝึกปฏิบัติการทาโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 10 ชั่วโมง 4 การเขียนรายงานโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 5 ชั่วโมง 5 การจัดทาแผงโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 10 ชั่วโมง 6 การนาเสนอและการประเมินโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ 5 ชั่วโมง
  • 17. 17 รายชื่อกิจกรรมตามชุมนุมโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ ประจาปีการศึกษา 2560 ที่ ชื่อกิจกรรม ชั้น ครูผู้รับผิดชอบ จานวน นักเรียน หมายเหตุ 1 สืบสานตานานไทย ป.1-ม.3 นายวรัท ป้องเรืองดิลก 2 การปลูกพืชสมุนไพร ป.1-ม.3 นางหนูรัตน์ อินทร์ตระกูล 3 การปลูกมะนาวในท่อ ป.1-ม.3 นายอนุศักดิ์ พรมโส 4 การทาอิฐบล็อค ป.1-ม.3 นายสมพร ดรละคร 5 การเลี้ยงปลาในบ่อปูน ป.1-ม.3 นางสมภาร ไสยสัตย์ 6 การปลูกผักสวนครัว ป.1-ม.3 นางสาวกานต์ธิดา ดรละคร 7 การแปรรูปอาหาร ป.1-ม.3 นางสาวรัชศวรรณ มูลหา 8 9 10 ลงชื่อ................................................หัวหน้าครูที่ปรึกษาชุมนุม ( นายวรัท ป้องเรืองดิลก ) ลงชื่อ................................................ (...................................................) หัวหน้ากิจกรรรมพัฒนาผู้เรียน ลงชื่อ................................................ (นายประมวล อุ่นเรือน) ผู้อานวยการโรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง
  • 18. 18 กิจกรรมชุมนุม โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ กิจกรรม........................................... ครูที่ปรึกษา ................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน ................ คน ที่ ชื่อ-นามสกุล ชั้น เลขที่ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 หมายเหตุ : สาเนาส่งครูที่ปรึกษา / ครูรัชศวรรณ มูลหา
  • 19. 19 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตารางบันทึกเวลาเรียน กิจกรรมชุมนุม โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ กิจกรรม........................................... ครูที่ปรึกษา ................................................... ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน ................ คน ที่ ชื่อ-นามสกุล ชั้น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ลงชื่อ................................................ครูที่ปรึกษาชุมนุม (...............................................) ลงชื่อ................................................ (...................................................) หัวหน้ากิจกรรรมพัฒนาผู้เรียน ลงชื่อ................................................ (นายประมวล อุ่นเรือน) ผู้อานวยการโรงเรียนโสกแคนหนองหญ้าปล้อง