SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
รายวิชา การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนว
เศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวิชา 2533310
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
สัปดาห์ที่ 7 - 8
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชุมชน
▪ ความหมายจากประสบการณ์ของชุมชน
▪ ความหมายระดับปัจเจก ระดับครัวเรือน ชุมชนและท้องถิ่น
ได้ครอบคลุมลักษณะเชิงโครงสร ้างทางการผลิตที่ถือว่าการ
ผลิตไม่ว่าจะเป็นการเกษตร ปศุสัตว์หรือแม้แต่อุตสาหกรรม
ครัวเรือนและอุตสาหกรรมของชุมชนและท้องถิ่น
▪
นิยามดังกล่าวแบ่งได้เป็น 3 ประเด็นหลักได้แก่
1) กิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ที่ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อมแต่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนอย่างคุ้มค่า ด้วยการหมุนเวียนทุน
ธรรมชาติภายในพื้นที่ และด้วยวิธีการทาเกษตร ที่เน้นปลูกเพื่อกินเองก่อน ที่ผ่านมาชุมชนได้ทากิจกรรมต่างๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น
กิจกรรมการทาปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผักและข้าวที่ปลอดสารพิษ การทาสวนสมุนไพรของชุมชน การคิดค้นสารไล่แมลงสมุนไพรทาถ่านชีวภาพ การ
รวมกลุ่มขยายพันธุ์ปลา การแปรรูปผลผลิตและการทาการ เกษตรผสมผสาน เป็นต้น
2) การรวมกลุ่มกันเพื่อทากิจกรรมร่วมกันของสมาชิกในชุมชน ด้วยทุนทางสังคมที่มีอยู่ ชุมชนได้รวมตัวกันทากิจกรรมต่างๆ ที่เกิดจากความรัก
และความเอื้ออาทรของสมาชิกในชุมชน เช่น กิจกรรมต่อต้านยาเสพย์ติด การนมัสการพระให้มาช่วยสอนจริยธรรมและศีลธรรมในโรงเรียนของ
ชุมชน กิจกรรมการรวมกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านศูนย์การเรียนรู้หรือโรงเรียนเกษตรกรในหมู่บ้าน การร่วมมือร่วมใจของสมาชิกในชุมชนทา
กิจกรรมต่างๆภายในวัด การจัดตั้งร้านค้าที่เป็นของชุมชนเอง การจัดทาแผนแม่บทชุมชน การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ การ
รวมกลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการผลิตของกลุ่มต่างๆ เช่น การรวมกลุ่มทาขนมของแม่บ้าน หรือรวมกลุ่มเพื่อปลูก
พืชผักสวนครัว นอกจากนี้ชุมชน ยังได้ตั้งกองทุนข้าวสารร่วมกับชุมชนอื่นๆในต่างภูมิภาค เพื่อค้าขายหรือผลิตระหว่างกัน รวมทั้งเพื่อการเรียนรู้
แลกเปลี่ยนประสบการณ์และขยายผลการพัฒนาไปยังเครือข่ายชุมชนอื่นๆ
3) กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จิตสานึกท้องถิ่น ส่งเสริมวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนได้เริ่มกิจกรรม ที่มุ่งปลูกฝัง
จริยธรรมความดีงามและจิตสานึกรักท้องถิ่นให้เกิดขึ้นแก่สมาชิกของชุมชน เช่น กิจกรรมที่ปลูกฝังสมาชิกในชุมชนให้มีความเอื้ออาทรต่อกันมากกว่า
คานึงถึงตัวเงินหรือวัตถุเป็นพื้นฐานความสัมพันธ์ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้สมาชิกทาบัญชีอย่างโปร่งใสและสุจริต กิจกรรมการพัฒนาครูในชุมชนให้มี
คุณภาพและมีจิตผูกพันกับท้องถิ่นเป็นสาคัญ รวมทั้งกิจกรรมที่ส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนพึ่งตนเองก่อนที่จะพึ่งหรือขอความช่วยเหลือจากคนอื่น
การปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อโลกาภิวัตน์
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงในอีกแง่มุมหนึ่งคือ2 ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาค ใน
การผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้เป็น
เจ้าของ เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้
จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผน
และดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของ
รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมที่จะรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น
อย่างดี
การประยุกต์เพื่อปรับใช้ในยุคของการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์
1) ความมีวินัย เช่น วินัยทางการเงิน วินัยในการออม เพื่ออนาคต ระมัดระวังไม่ในการใช้จ่ายเพื่อไม่ให้
เกิดหนี้สินเกินความสามารถและต้องไม่โลภ
2) ใฝ่รู้ขวนขวายตามหลักการสาคัญของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเนื่องจากในปัจจุบันคือ ยุคแห่งการ
เรียนรู้ และสามารถสืบค้นข้อมูลต่างๆ โดยผ่านเว็บไซด์เพื่อหาข้อมูลที่ต้องการ หรือเพื่อการอ่านข้อมูล
ข่าวสารต่างๆ ทั้งยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โปรแกรมสนทนา
3) การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom)
4) การถนอมใช้ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสภาพแวดล้อม
5) การปลูกฝังจริยธรรมและคุณธรรม
ทั้งนี้ การปฏิสัมพันธ์ในระดับภูมิภาคหรือระดับระหว่างประเทศ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ใน
ปัจจุบัน โดยเฉพาะการปฏิสัมพันธ์ในด้านเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรม
ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
1) ปัจจัยด้านทุนทางสังคมทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ได้แก่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา นวัตกรรมเทคโนโลยี ความเอื้ออาทรต่อ
กัน ความสัมพันธ์และความไว้วางใจซึ่งกันและกันเป็นต้น
จากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของชุมชนพบว่า การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านทุนทางสังคมคือกระบวนการการ
แก้ไขปัญหาร่วมกันโดยมีเป้าหมายของผลประโยชน์ร่วมกัน สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาสิ่งต่างๆ เรียกว่า
กระบวนการขับเคลื่อนทุนทางสังคม
ปัญหา สานึก กระบวนการ
มาตรการ
การคานึงถึง
ผลประโยชน์ร่วมกันการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือกันในการพัฒนา
กระบวนการขับเคลื่อนทุนทางสังคม
▪ 2) ปัจจัยด้านการรวมกลุ่มและการเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นการรวมกลุ่มเพื่อประกอบกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมร่วมกันของคนในชุมชนและระหว่างชุมชน ด้วยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ
เรียนรู้ถึงความสาเร็จและความล้มเหลวของการประกอบกิจกรรม กระบวนการสาคัญของปัจจัยด้าน
การรวมกลุ่มและการเป็นชุมชนที่เข้มแข็งคือ ภาวะผู้นาของกลุ่ม การเลือกตัวแทนผู้นาคนเดิม การ
ถ่ายทอดภูมิปัญญา ความรู้และเทคโนโลยี และการเรียนรู้โดยวิธีการค้นหาชุมชนเข้มแข็งหลัก
ชุมชนเข้มแข็งรองและชุมชนเงาเพื่อการถ่ายทอดและเป็นแกนหลักของเครือข่ายเพื่อการถ่ายทอด
การเรียนรู้ประสบการณ์ที่สาคัญคือการแสวงหาแหล่งเงินทุนในการดาเนินการดังกล่าว
▪ 3) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เนื่องจากความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่มีอยู่และเป็นข้อได้เปรียบต่อการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆและสามารถพัฒนา
ไปสู่การปฏิสัมพันธ์ในเชิงโลกาภิวัตน์ ดังนั้นการดารงรักษาปัจจัยดังกล่าวจึงเป็ นสิ่งสาคัญ แนวคิด
จากประสบการณ์ของชุมชนต่อแนวคิดดังกล่าว คือกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้วย
การสร ้างจิตสานึกต่อการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร ้างองค์ความรู้รวมทั้งการทา
ความเข้าใจต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมการรวมกลุ่มการเรียนรู้แก่คนรุ่นใหม่ การมี
มาตรการในการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน มาตรการในการดารงดูแลรักษา ท้ายที่สุดคือการ
ส่งเสริมการอนุรักษ์การฟื้นฟูในสิ่งที่ถูกทาลายไปให้กลับมาใช ้ประโยชน์ได้
▪ 4) ปัจจัยด้านนโยบาย เป็นปัจจัยด้านการกาหนดในระดับ ธรรมนูญการปกครอง นโยบายการพัฒนา
ซึ่งกาหนดไว้ใน รัฐธรรมนูญของประเทศ นโยบายการพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม กฎหมาย
ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
• เป้าหมายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการจัดกระทาในระดับภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค
ตะวันออก ภาคตะวันออกและตะวันตกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ทั้งนี้ การดาเนิน การขับเคลื่อน
เศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวกระทาภายใต้พื้นฐานแนวคิดดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น กล่าวคือเน้นเป้าหมายในกิจกรรม
ที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากความสาเร็จและความล้มเหลว รวมถึงการปลูกฝัง
จิตสานึกเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนในภูมิภาคต่างๆ โดยการดึงทุนทางสังคมออกมาเป็นกลไกในการ
ขับเคลื่อนสิ่งดังกล่าว
เป้ าหมายการขับเคลื่อนในแต่ละภาค
ความสอดคล้องต่อวิถีและกิจกรรมของชุมชนและท้องถิ่น
การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ
1) ระดับจิตสานึก เพื่อให้เกิดการสร้างจิตสานึกและปรับทัศนคติสู่การพึ่งตนเอง โดย
1.1) สร้างความรู้ความเข้าใจ ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้
1.2) ประเมินตนเอง เพื่อให้รู้จักตนเอง รู้ศักยภาพของตนเอง รู้ปัญหาหรือวิกฤตที่ประสบอย
1.3) เกิดความคิด “พึ่งตนเอง” โดยใช้ศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหา
1.4) ตั้งใจที่จะใช้ชีวิต “อยู่อย่างพึ่งตนเอง” พึ่งตนเองให้ได้โดยลดความต้องการ (กิเลส)
และทาประโยชน์แก่ส่วนรวมมากขึ้น
การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ
▪ 2.1) อยู่อย่างพึ่งตนเองในระดับครอบครัว โดยสมาชิกต้องรู้จักพึ่งตนเอง ด้วยการ
ร่วมกันทากิจกรรมลดรายจ่าย เช่น ลด ละ เลิกอบายมุข ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่
สร ้างหนี้ ลดรายจ่าย/ลดต้นทุนการผลิต เช่น ผลิตปุ๋ ยชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีใน
การเกษตร ปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ขนาดเล็กไว้บริโภค โดยยึดหลัก
“ปลูกทุกอย่างที่กิน/กินทุกอย่างที่ปลูก และใช้ทุกอย่างที่ทา/ทาทุกอย่างที่ใช้ปลูก
พืชสมุนไพรเพื่อใช้รักษาโรคและรู้จักการเก็บออม เป็ นต้น”
▪ 2.2) มีวิถีชีวิตอยู่อย่างพอเพียง โดยดาเนินชีวิตด้วยการเดินทางสายกลางไม่
เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม เช่น ทาเกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรผสมผสาน ไร่นาสวนผสม วนเกษตร เกษตรอินทรีย์เกษตรชีวภาพ เกษตร
ไร ้สารพิษ เกษตรธรรมชาติ สวนสมุนไพรชุมชน แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเข้า
ร่วมเป็ นสมาชิกกลุ่มต่าง ๆ ด้านทุน ด้านอาชีพ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสวัสดิการ
เป็ นต้น
2.3) รวมกลุ่มในสังคม “อยู่ร่วมกันอย่างเอื้ออาทร” ด้วยการมีความคิดที่จะแจกจ่าย แบ่งปันให้กับ
ผู้อื่น ซึ่งจะทาให้ได้เพื่อนและเกิดวัฒนธรรมที่ดี ลดความเห็นแก่ตัว โดยจะเห็นได้ว่าในชุมชนที่
เข้มแข็งจะมีการรวมกลุ่มกันหลากหลาย และกลุ่มต่าง ๆ เหล่านั้น ถือได้ว่าเป็ น “ทุนทางสังคมที่
สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อการช่วยเหลือตนเอง” ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในลักษณะของความ
เอื้ออาทร เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
(OTOP) และกลุ่มอนุรักษ์แหล่งน้าและป่ าไม้ชุมชน เป็ นต้น
• นอกจากนี้ยังพบว่า ในแต่ละชุมชนมีการรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่แตกต่าง
กันไปตามความพร้อม เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน ทั้งในด้านวัตถุและจิตใจอื่น ๆ
อีก เช่น กลุ่มสวัสดิการ กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ กองทุนสงเคราะห์ผู้ยากไร้ และกลุ่ม
อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี
การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ
การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ
3) ระดับปฏิเวธหรือระดับการบังเกิดและรับผลจากการปฏิบัติ โดยผลจากการปฏิบัติ ก่อประโยชน์โดยตรงแก่ผู้เกี่ยวข้องใน
ทุกระดับให้แก่บุคคล ครัวเรือน กลุ่ม/องค์กร และชุมชน เช่น
3.1) ความพอเพียงในครอบครัว เช่น ครัวเรือนที่มีความเป็นอยู่ที่พึ่งตนเองได้อย่างมีความสุขและทางกายและ
ทางใจ ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ไม่มีภาระด้านหนี้สินของตนเองและครอบครัว สามารถหาปัจจัยสี่มาเลี้ยงตนเองและ
ครอบครัว มีส่วนเหลือเป็นเงินออมของครอบครัว มีส่วนเหลือเป็นเงินออมของครอบครัว และยกระดับรายได้พ้นความ
ยากจน เป็นต้น
3.2) ความพอเพียงในระดับชุมชน เช่น มีการรวมกลุ่มทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม บริหารทรัพยากรในชุมชนให้
สามารถนาไปดาเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องสมดุล เพื่อให้เกิดความเป็นอยู่ที่พอเพียงของชุมชนโดยรวมและชุมชนอยู่เย็นเป็น
สุข เป็นต้น
3.3) ความพอเพียงในระดับกลุ่ม เช่น การรวมกลุ่มของชุมชนหลาย ๆ แห่งที่มีความพอเพียง ร่วมแลกเปลี่ยน
ความรู้ สืบทอดภูมิปัญญา และร่วมกันพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างชุมชนแห่ง
ความพอเพียง เกิดเป็นชุมชนแห่งความพอเพียงในที่สุด เป็นต้น
สรุป
▪ ความสอดคล้องต่อวิถีชุมชนของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการดึงธรรมชาติของชุมชนและ
ท้องถิ่นออกมาเพื่อใช ้เป็นกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในลักษณะการสร ้างเสริม และ
สร ้างสรรค์เพื่อให้ชุมชนและท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็งและสามารถปรับตัวต่อการปฏิสัมพันธ์ในเชิง
โลกาภิวัตน์ได้
▪ ดังนั้น สิ่งสาคัญซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญคือทุนทางสังคมและอัตลักษณ์ของชุมชนด้านอื่นๆรวมถึงจุดเด่น
ของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายทางสังคม
นอกจากนั้น การเสริมสร ้างให้เกิดความเข้มแข็งดังกล่าวยังไห้ความสาคัญต่อการถ่ายทอดไปสู่คนรุ่น
ใหม่ ในทุกๆ ด้านรวมถึงด้านจริยธรรมและคุณธรรม
▪ อย่างไรก็ตาม การเชื่อมต่อให้เกิดการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น และการถ่ายทอด
การเรียนรู้ด้านอื่นๆ ยังมีอุปสรรคปัญหาต่อคนรุ่นใหม่อยู่มาก โดยเฉพาะปัจจัยด้านค่านิยมของระบบ
เศรษฐกิจกระแสหลักที่เน้นการบริโภคนิยม

More Related Content

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
pronprom11
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Jiraprapa Suwannajak
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
Daungthip Pansomboon
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
jirapom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
banlangkhao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Kanyakon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Kowin Butdawong
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6 (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
M11 3
M11 3M11 3
M11 3
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุปบ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 6

  • 2. สัปดาห์ที่ 7 - 8 ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
  • 3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชุมชน ▪ ความหมายจากประสบการณ์ของชุมชน ▪ ความหมายระดับปัจเจก ระดับครัวเรือน ชุมชนและท้องถิ่น ได้ครอบคลุมลักษณะเชิงโครงสร ้างทางการผลิตที่ถือว่าการ ผลิตไม่ว่าจะเป็นการเกษตร ปศุสัตว์หรือแม้แต่อุตสาหกรรม ครัวเรือนและอุตสาหกรรมของชุมชนและท้องถิ่น ▪
  • 4. นิยามดังกล่าวแบ่งได้เป็น 3 ประเด็นหลักได้แก่ 1) กิจกรรมการผลิต โดยเฉพาะในภาคการเกษตร ที่ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อมแต่ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนอย่างคุ้มค่า ด้วยการหมุนเวียนทุน ธรรมชาติภายในพื้นที่ และด้วยวิธีการทาเกษตร ที่เน้นปลูกเพื่อกินเองก่อน ที่ผ่านมาชุมชนได้ทากิจกรรมต่างๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น กิจกรรมการทาปุ๋ยชีวภาพ การปลูกผักและข้าวที่ปลอดสารพิษ การทาสวนสมุนไพรของชุมชน การคิดค้นสารไล่แมลงสมุนไพรทาถ่านชีวภาพ การ รวมกลุ่มขยายพันธุ์ปลา การแปรรูปผลผลิตและการทาการ เกษตรผสมผสาน เป็นต้น 2) การรวมกลุ่มกันเพื่อทากิจกรรมร่วมกันของสมาชิกในชุมชน ด้วยทุนทางสังคมที่มีอยู่ ชุมชนได้รวมตัวกันทากิจกรรมต่างๆ ที่เกิดจากความรัก และความเอื้ออาทรของสมาชิกในชุมชน เช่น กิจกรรมต่อต้านยาเสพย์ติด การนมัสการพระให้มาช่วยสอนจริยธรรมและศีลธรรมในโรงเรียนของ ชุมชน กิจกรรมการรวมกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านศูนย์การเรียนรู้หรือโรงเรียนเกษตรกรในหมู่บ้าน การร่วมมือร่วมใจของสมาชิกในชุมชนทา กิจกรรมต่างๆภายในวัด การจัดตั้งร้านค้าที่เป็นของชุมชนเอง การจัดทาแผนแม่บทชุมชน การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ การ รวมกลุ่มอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการผลิตของกลุ่มต่างๆ เช่น การรวมกลุ่มทาขนมของแม่บ้าน หรือรวมกลุ่มเพื่อปลูก พืชผักสวนครัว นอกจากนี้ชุมชน ยังได้ตั้งกองทุนข้าวสารร่วมกับชุมชนอื่นๆในต่างภูมิภาค เพื่อค้าขายหรือผลิตระหว่างกัน รวมทั้งเพื่อการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และขยายผลการพัฒนาไปยังเครือข่ายชุมชนอื่นๆ 3) กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จิตสานึกท้องถิ่น ส่งเสริมวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนได้เริ่มกิจกรรม ที่มุ่งปลูกฝัง จริยธรรมความดีงามและจิตสานึกรักท้องถิ่นให้เกิดขึ้นแก่สมาชิกของชุมชน เช่น กิจกรรมที่ปลูกฝังสมาชิกในชุมชนให้มีความเอื้ออาทรต่อกันมากกว่า คานึงถึงตัวเงินหรือวัตถุเป็นพื้นฐานความสัมพันธ์ กิจกรรมที่ส่งเสริมให้สมาชิกทาบัญชีอย่างโปร่งใสและสุจริต กิจกรรมการพัฒนาครูในชุมชนให้มี คุณภาพและมีจิตผูกพันกับท้องถิ่นเป็นสาคัญ รวมทั้งกิจกรรมที่ส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนพึ่งตนเองก่อนที่จะพึ่งหรือขอความช่วยเหลือจากคนอื่น
  • 5. การปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อโลกาภิวัตน์ ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงในอีกแง่มุมหนึ่งคือ2 ความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศ หรือภูมิภาค ใน การผลิตสินค้าและบริการทุกชนิดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้เป็น เจ้าของ เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบ ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผน และดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของ รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมที่จะรองรับการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็น อย่างดี
  • 6. การประยุกต์เพื่อปรับใช้ในยุคของการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์ 1) ความมีวินัย เช่น วินัยทางการเงิน วินัยในการออม เพื่ออนาคต ระมัดระวังไม่ในการใช้จ่ายเพื่อไม่ให้ เกิดหนี้สินเกินความสามารถและต้องไม่โลภ 2) ใฝ่รู้ขวนขวายตามหลักการสาคัญของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเนื่องจากในปัจจุบันคือ ยุคแห่งการ เรียนรู้ และสามารถสืบค้นข้อมูลต่างๆ โดยผ่านเว็บไซด์เพื่อหาข้อมูลที่ต้องการ หรือเพื่อการอ่านข้อมูล ข่าวสารต่างๆ ทั้งยังสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โปรแกรมสนทนา 3) การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local Wisdom) 4) การถนอมใช้ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสภาพแวดล้อม 5) การปลูกฝังจริยธรรมและคุณธรรม ทั้งนี้ การปฏิสัมพันธ์ในระดับภูมิภาคหรือระดับระหว่างประเทศ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ใน ปัจจุบัน โดยเฉพาะการปฏิสัมพันธ์ในด้านเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรม
  • 7. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 1) ปัจจัยด้านทุนทางสังคมทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ได้แก่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา นวัตกรรมเทคโนโลยี ความเอื้ออาทรต่อ กัน ความสัมพันธ์และความไว้วางใจซึ่งกันและกันเป็นต้น จากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ของชุมชนพบว่า การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านทุนทางสังคมคือกระบวนการการ แก้ไขปัญหาร่วมกันโดยมีเป้าหมายของผลประโยชน์ร่วมกัน สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาสิ่งต่างๆ เรียกว่า กระบวนการขับเคลื่อนทุนทางสังคม ปัญหา สานึก กระบวนการ มาตรการ การคานึงถึง ผลประโยชน์ร่วมกันการสร้างเครือข่าย ความร่วมมือกันในการพัฒนา กระบวนการขับเคลื่อนทุนทางสังคม
  • 8. ▪ 2) ปัจจัยด้านการรวมกลุ่มและการเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นการรวมกลุ่มเพื่อประกอบกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคมร่วมกันของคนในชุมชนและระหว่างชุมชน ด้วยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ เรียนรู้ถึงความสาเร็จและความล้มเหลวของการประกอบกิจกรรม กระบวนการสาคัญของปัจจัยด้าน การรวมกลุ่มและการเป็นชุมชนที่เข้มแข็งคือ ภาวะผู้นาของกลุ่ม การเลือกตัวแทนผู้นาคนเดิม การ ถ่ายทอดภูมิปัญญา ความรู้และเทคโนโลยี และการเรียนรู้โดยวิธีการค้นหาชุมชนเข้มแข็งหลัก ชุมชนเข้มแข็งรองและชุมชนเงาเพื่อการถ่ายทอดและเป็นแกนหลักของเครือข่ายเพื่อการถ่ายทอด การเรียนรู้ประสบการณ์ที่สาคัญคือการแสวงหาแหล่งเงินทุนในการดาเนินการดังกล่าว ▪ 3) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เนื่องจากความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่มีอยู่และเป็นข้อได้เปรียบต่อการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆและสามารถพัฒนา ไปสู่การปฏิสัมพันธ์ในเชิงโลกาภิวัตน์ ดังนั้นการดารงรักษาปัจจัยดังกล่าวจึงเป็ นสิ่งสาคัญ แนวคิด จากประสบการณ์ของชุมชนต่อแนวคิดดังกล่าว คือกระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้วย การสร ้างจิตสานึกต่อการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร ้างองค์ความรู้รวมทั้งการทา ความเข้าใจต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมการรวมกลุ่มการเรียนรู้แก่คนรุ่นใหม่ การมี มาตรการในการใช ้ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน มาตรการในการดารงดูแลรักษา ท้ายที่สุดคือการ ส่งเสริมการอนุรักษ์การฟื้นฟูในสิ่งที่ถูกทาลายไปให้กลับมาใช ้ประโยชน์ได้ ▪ 4) ปัจจัยด้านนโยบาย เป็นปัจจัยด้านการกาหนดในระดับ ธรรมนูญการปกครอง นโยบายการพัฒนา ซึ่งกาหนดไว้ใน รัฐธรรมนูญของประเทศ นโยบายการพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม กฎหมาย ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
  • 9. • เป้าหมายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการจัดกระทาในระดับภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ภาคกลาง ภาค ตะวันออก ภาคตะวันออกและตะวันตกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ทั้งนี้ การดาเนิน การขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวกระทาภายใต้พื้นฐานแนวคิดดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น กล่าวคือเน้นเป้าหมายในกิจกรรม ที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากความสาเร็จและความล้มเหลว รวมถึงการปลูกฝัง จิตสานึกเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนในภูมิภาคต่างๆ โดยการดึงทุนทางสังคมออกมาเป็นกลไกในการ ขับเคลื่อนสิ่งดังกล่าว เป้ าหมายการขับเคลื่อนในแต่ละภาค
  • 10. ความสอดคล้องต่อวิถีและกิจกรรมของชุมชนและท้องถิ่น การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ 1) ระดับจิตสานึก เพื่อให้เกิดการสร้างจิตสานึกและปรับทัศนคติสู่การพึ่งตนเอง โดย 1.1) สร้างความรู้ความเข้าใจ ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้ 1.2) ประเมินตนเอง เพื่อให้รู้จักตนเอง รู้ศักยภาพของตนเอง รู้ปัญหาหรือวิกฤตที่ประสบอย 1.3) เกิดความคิด “พึ่งตนเอง” โดยใช้ศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหา 1.4) ตั้งใจที่จะใช้ชีวิต “อยู่อย่างพึ่งตนเอง” พึ่งตนเองให้ได้โดยลดความต้องการ (กิเลส) และทาประโยชน์แก่ส่วนรวมมากขึ้น
  • 11. การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ ▪ 2.1) อยู่อย่างพึ่งตนเองในระดับครอบครัว โดยสมาชิกต้องรู้จักพึ่งตนเอง ด้วยการ ร่วมกันทากิจกรรมลดรายจ่าย เช่น ลด ละ เลิกอบายมุข ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่ สร ้างหนี้ ลดรายจ่าย/ลดต้นทุนการผลิต เช่น ผลิตปุ๋ ยชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีใน การเกษตร ปลูกพืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ขนาดเล็กไว้บริโภค โดยยึดหลัก “ปลูกทุกอย่างที่กิน/กินทุกอย่างที่ปลูก และใช้ทุกอย่างที่ทา/ทาทุกอย่างที่ใช้ปลูก พืชสมุนไพรเพื่อใช้รักษาโรคและรู้จักการเก็บออม เป็ นต้น” ▪ 2.2) มีวิถีชีวิตอยู่อย่างพอเพียง โดยดาเนินชีวิตด้วยการเดินทางสายกลางไม่ เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม เช่น ทาเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน ไร่นาสวนผสม วนเกษตร เกษตรอินทรีย์เกษตรชีวภาพ เกษตร ไร ้สารพิษ เกษตรธรรมชาติ สวนสมุนไพรชุมชน แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเข้า ร่วมเป็ นสมาชิกกลุ่มต่าง ๆ ด้านทุน ด้านอาชีพ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสวัสดิการ เป็ นต้น
  • 12. 2.3) รวมกลุ่มในสังคม “อยู่ร่วมกันอย่างเอื้ออาทร” ด้วยการมีความคิดที่จะแจกจ่าย แบ่งปันให้กับ ผู้อื่น ซึ่งจะทาให้ได้เพื่อนและเกิดวัฒนธรรมที่ดี ลดความเห็นแก่ตัว โดยจะเห็นได้ว่าในชุมชนที่ เข้มแข็งจะมีการรวมกลุ่มกันหลากหลาย และกลุ่มต่าง ๆ เหล่านั้น ถือได้ว่าเป็ น “ทุนทางสังคมที่ สามารถขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อการช่วยเหลือตนเอง” ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในลักษณะของความ เอื้ออาทร เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) และกลุ่มอนุรักษ์แหล่งน้าและป่ าไม้ชุมชน เป็ นต้น • นอกจากนี้ยังพบว่า ในแต่ละชุมชนมีการรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่แตกต่าง กันไปตามความพร้อม เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกัน ทั้งในด้านวัตถุและจิตใจอื่น ๆ อีก เช่น กลุ่มสวัสดิการ กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ กองทุนสงเคราะห์ผู้ยากไร้ และกลุ่ม อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ
  • 13. การนาแนวคิดไปปฏิบัติได้ใน 3 ระดับ 3) ระดับปฏิเวธหรือระดับการบังเกิดและรับผลจากการปฏิบัติ โดยผลจากการปฏิบัติ ก่อประโยชน์โดยตรงแก่ผู้เกี่ยวข้องใน ทุกระดับให้แก่บุคคล ครัวเรือน กลุ่ม/องค์กร และชุมชน เช่น 3.1) ความพอเพียงในครอบครัว เช่น ครัวเรือนที่มีความเป็นอยู่ที่พึ่งตนเองได้อย่างมีความสุขและทางกายและ ทางใจ ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ไม่มีภาระด้านหนี้สินของตนเองและครอบครัว สามารถหาปัจจัยสี่มาเลี้ยงตนเองและ ครอบครัว มีส่วนเหลือเป็นเงินออมของครอบครัว มีส่วนเหลือเป็นเงินออมของครอบครัว และยกระดับรายได้พ้นความ ยากจน เป็นต้น 3.2) ความพอเพียงในระดับชุมชน เช่น มีการรวมกลุ่มทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม บริหารทรัพยากรในชุมชนให้ สามารถนาไปดาเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องสมดุล เพื่อให้เกิดความเป็นอยู่ที่พอเพียงของชุมชนโดยรวมและชุมชนอยู่เย็นเป็น สุข เป็นต้น 3.3) ความพอเพียงในระดับกลุ่ม เช่น การรวมกลุ่มของชุมชนหลาย ๆ แห่งที่มีความพอเพียง ร่วมแลกเปลี่ยน ความรู้ สืบทอดภูมิปัญญา และร่วมกันพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างชุมชนแห่ง ความพอเพียง เกิดเป็นชุมชนแห่งความพอเพียงในที่สุด เป็นต้น
  • 14. สรุป ▪ ความสอดคล้องต่อวิถีชุมชนของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการดึงธรรมชาติของชุมชนและ ท้องถิ่นออกมาเพื่อใช ้เป็นกลไกในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในลักษณะการสร ้างเสริม และ สร ้างสรรค์เพื่อให้ชุมชนและท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็งและสามารถปรับตัวต่อการปฏิสัมพันธ์ในเชิง โลกาภิวัตน์ได้ ▪ ดังนั้น สิ่งสาคัญซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญคือทุนทางสังคมและอัตลักษณ์ของชุมชนด้านอื่นๆรวมถึงจุดเด่น ของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และความหลากหลายทางสังคม นอกจากนั้น การเสริมสร ้างให้เกิดความเข้มแข็งดังกล่าวยังไห้ความสาคัญต่อการถ่ายทอดไปสู่คนรุ่น ใหม่ ในทุกๆ ด้านรวมถึงด้านจริยธรรมและคุณธรรม ▪ อย่างไรก็ตาม การเชื่อมต่อให้เกิดการเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมท้องถิ่น และการถ่ายทอด การเรียนรู้ด้านอื่นๆ ยังมีอุปสรรคปัญหาต่อคนรุ่นใหม่อยู่มาก โดยเฉพาะปัจจัยด้านค่านิยมของระบบ เศรษฐกิจกระแสหลักที่เน้นการบริโภคนิยม