SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แผนบริหารการสอนประจํารายวิชา
รายวิชา การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา 2533310
Local and Community Development with Sufficiency Economy
Approaches
จํานวนหน่วยกิต 3 (3 – 0 – 6)
เวลาเรียน 45 ชั่วโมง/ภาคเรียน
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจความหมายของการพัฒนา
เศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่นตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง องค์กรในการพัฒนารวมทั้งแนวคิด
ของกลยุทธ์ในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยมุ่งเน้นการทําความเข้าใจในกระบวนการ
สร้างพลังอํานาจของชุมชน การสร้างความเข้มแข็งการสร้างผู้นําแก่ชุมชนและท้องถิ่นและการ
ประเมินผลการพัฒนากล่าว
จุดมุ่งหมายรายวิชา
1. นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีพัฒนาเศรษฐกิจ ทฤษฎี
การพัฒนาเศรษฐกิจความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่น
2. นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในองค์กรในการพัฒนารวมทั้งแนวคิดของกลยุทธ์ใน
การสนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนกระบวนการสร้างพลังอํานาจของชุมชน การสร้างความ
เข้มแข็งการสร้างผู้นําแก่ชุมชนและท้องถิ่นและการประเมินผลการพัฒนา
3. นักศึกษามีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลต่อ
ความเข้าใจกระบวนการขั้นตอนและวิธีการต่างๆ ในการพัฒนาภายใต้พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
4. นักศึกษามีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยา มีพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทาง
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง มีความขยันหมั่นเพียร อดทน มีความเอื้อเฟื้อเสียสละ มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงใน
การทํางาน การศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(22)
5. นักศึกษามีทักษะในการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสมเพื่อการศึกษาค้นคว้าหา
ข้อมูลประกอบการทํางานมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุน
การทํางานเช่น การค้นคว้าการนําเสนอ การโต้ตอบ แสดงความคิดเห็น ประสานการทํางาน การรับ-ส่งงาน การ
ซักถามข้อสงสัย
เนื้อหา
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 1 3 ชั่วโมง
ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การยอมรับและการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่างประเทศเพื่อเป็นพื้นฐาน
ในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์
ทางเลือกในการพัฒนาสําหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย แนวความคิดและหลักการ
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 2 3 ชั่วโมง
ความหมายในเชิงทฤษฎีของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ กรอบแนวคิด
คุณลักษะ คำนิยาม เงื่อนไข แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดว่าจะได้รับและข้อสรุป
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 3 3 ชั่วโมง
แนวความคิดพุทธเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร์
- แนวคิดเศรษฐศาสตร์มนุษยนิยมกับแนวคิดแบบพุทธ
- ทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธเศรษฐศาสตร์
- จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
- พุทธเศรษฐศาสตร์กับแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
(23)
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 4 3 ชั่วโมง
ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีใหม่กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- แนวคิดทฤษฎีใหม่ตามกระแสพระราชดํารัส
- ความสัมพันธ์ระหว่างแนวพระราชดําริเรื่องทฤษฎีใหม่กับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
- แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่
- ลักษณะสําคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่
- การเปรียบเทียบเกษตรทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง
- การเปรียบเทียบทฤษฎีใหม่ขั้นต่าง ๆ และเศรษฐกิจพอเพียงแบบต่าง
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 5 3 ชั่วโมง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเศรษฐกิจส่วนรวม
- กรอบนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 11
- การสร้างและปลูกจิตสํานึกในภาคประชาชน
- คุณธรรมและจริยธรรมในภาครัฐและภาคเอกชนหลักและแนวคิดธรรมมาภิบาล
ทั้งภาครัฐและเอกชน
- หลักทศพิธราชธรรมในภาครัฐ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 6 3 ชั่วโมง
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรายสาขา
- การเมืองการปกครอง
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต วัฒนธรรมในชุมชนและท้องถิ่น
- ตัวอย่างการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เศรษฐกิจและสังคม
รายสาขา เช่น ด้านสังคม การเมืองการปกครอง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
- การประยุกต์ใช้กับวิถีชีวิต วัฒนธรรมในชุมชนและท้องถิ่น
(24)
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 7 3 ชั่วโมง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชุมชน
- ความหมายจากประสบการณ์ของชุมชน
- ความหมายต่อแนวคิดที่สะท้อนจากชุมชนการปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อโลกาภิวัตน์
- ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
- เป้าหมายในแต่ละภาค
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 8 3 ชั่วโมง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความสอดคล้องต่อวิถีชุมชน
- ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความสอดคล้องต่อวิถีและกิจกรรมของชุมชนและ
ท้องถิ่นทั้งในระดับ จิตสํานึก ระดับปฏิบัติและระดับปฏิเวธ
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 9 3 ชั่วโมง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในมิติต่าง ๆ
องค์ประกอบและแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
- ความพอประมาณ
-ความมีเหตุผล
-การมีภูมิคุ้มกันในตัว
-เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
-การเชื่อมโยงองค์ประกอบสามประการเข้ากับเงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
-ตัวอย่างการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและภาคีการพัฒนา
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 10 3 ชั่วโมง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในภาคประชาชน
- กรณีตัวอย่าง การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาค
ประชาชนและชุมชน
-การสังเคราะห์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงจากกรณีตัวอย่าง
(25)
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 11 3 ชั่วโมง
การศึกษาในเชิงเศรษฐกิจพอเพียงและการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- กรณีศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยบนพื้นฐานปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงทั้งในภาครัฐและเอกชน
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 12 3 ชั่วโมง
การแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติภายใต้
กรอบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- การแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หลักการ กรอบของแผนและแนวทาง
ในการแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติภายใต้กรอบ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 13 3 ชั่วโมง
ระบบเครือข่ายทุนทางสังคมและการวางแผนชุมชน
- แนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่ายทุนทางสังคมจากกรณีศึกษา
โครงการพัฒนาข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่ายทุนทางสังคมพอเพียง
-แนวคิดการสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาในการจัดทําแผนชุมชน
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 14 3 ชั่วโมง
ภาคีการพัฒนาและเครือข่ายการพัฒนาในระดับพื้นที่บนพื้นฐานของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- การสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
และการดำเนินการเพื่อขยายเครือข่ายการพัฒนาในระดับพื้นที่บนพื้นฐาน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 15 3 ชั่วโมง
บทบาทภาครัฐในการพัฒนาภาคการเกษตรภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- แผนพัฒนาด้านการเกษตรของภาครัฐ
- การกําหนดวิสัยทัศน์
- กระบวนการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติและ
- นโยบายและมาตรการภาครัฐที่สนับสนุนการดําเนินงานด้านการเกษตร
(26)
วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ใช้วิธีการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การบรรยาย ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
ผู้เรียนค้นคว้าหรือทําความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง รวมทั้งให้เสริมทักษะ
ด้วยการให้ผู้เรียนทํา Workshop
2. การมอบหมายงานกลุ่มเพื่อการระดมสมอง เพื่อเป็นการฝึกทักษะ ศึกษาค้นคว้า การ
วิเคราะห์และการสังเคราะห์ การจัดทํารายงานและการอภิปรายนําเสนองานที่ได้รับ
มอบหมาย
4. การจัดการเรียนการสอนเน้นการวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนา
ค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปรายนําเสนอและการศึกษาจาก
สถานที่จริง
5. การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ได้นํา
รูปแบบการเรียนการ สอนแบบต่างๆเพื่อทําให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ทักษะในการ
คิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหามีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ
สื่อการเรียนการสอน
1. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อต่างๆ เช่น บรรยาย Power Point media
2. การใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง การฝึกปฏิบัติ
3. การศึกษาค้นคว้าเอกสาร ตํารา เอกสารการสอน สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ เว็บไซด์
การวัดและการประเมินผล
1. การวัดผล
กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมิน
1 ทํางานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 สอบกลางภาค 8 30%
3 สอบปลายภาค 13 40%
2. การประเมินผล
การประเมินผลจะใช้ทั้งสองแบบคือ ใช้เกณฑ์การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ และแบบอิงกลุ่ม
(T – Score)
(27)
การวัดผลแบบอิงเกณฑ์
ระดับคะแนน ค่าร้อยละ ค่าระดับคะแนน
A 90 -100 4.00
B+ 85 - 89 3.50
B 75 -84 3.00
C+ 70 - 74 2.50
C 60 - 59 2.00
D+ 55 - 59 1.50
D 50 - 54 1.00
E 0 - 49 0.00

More Related Content

What's hot

วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02Tam Taam
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3thanaetch
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...Kroo Keng
 

What's hot (10)

วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02วารสาร วิจัย 02
วารสาร วิจัย 02
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
หนัง3
หนัง3หนัง3
หนัง3
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านทักษะในการฏิบัติงาน กล...
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...Weerachat Martluplao
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆการเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆthanakit553
 
Hype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerHype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerLuminary Labs
 

Viewers also liked (6)

Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
 
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ช่วงชั้นที่ 4
 
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆการเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนนที่แบบต่างๆ
 
Hype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI ExplainerHype vs. Reality: The AI Explainer
Hype vs. Reality: The AI Explainer
 

Similar to Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน

กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงtalktomongkol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกาTaraya Srivilas
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22teerawut123
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยKanyarat Sirimathep
 
Develop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdfDevelop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdfPattie Pattie
 

Similar to Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน (20)

ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
20
2020
20
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
 
Develop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdfDevelop Buddhist Teacher.pdf
Develop Buddhist Teacher.pdf
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 

Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน

  • 1. แผนบริหารการสอนประจํารายวิชา รายวิชา การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา 2533310 Local and Community Development with Sufficiency Economy Approaches จํานวนหน่วยกิต 3 (3 – 0 – 6) เวลาเรียน 45 ชั่วโมง/ภาคเรียน คําอธิบายรายวิชา ศึกษาแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจความหมายของการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่นตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง องค์กรในการพัฒนารวมทั้งแนวคิด ของกลยุทธ์ในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนโดยมุ่งเน้นการทําความเข้าใจในกระบวนการ สร้างพลังอํานาจของชุมชน การสร้างความเข้มแข็งการสร้างผู้นําแก่ชุมชนและท้องถิ่นและการ ประเมินผลการพัฒนากล่าว จุดมุ่งหมายรายวิชา 1. นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีพัฒนาเศรษฐกิจ ทฤษฎี การพัฒนาเศรษฐกิจความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและท้องถิ่น 2. นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในองค์กรในการพัฒนารวมทั้งแนวคิดของกลยุทธ์ใน การสนับสนุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนกระบวนการสร้างพลังอํานาจของชุมชน การสร้างความ เข้มแข็งการสร้างผู้นําแก่ชุมชนและท้องถิ่นและการประเมินผลการพัฒนา 3. นักศึกษามีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลต่อ ความเข้าใจกระบวนการขั้นตอนและวิธีการต่างๆ ในการพัฒนาภายใต้พื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. นักศึกษามีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยา มีพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง มีความขยันหมั่นเพียร อดทน มีความเอื้อเฟื้อเสียสละ มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงใน การทํางาน การศึกษา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  • 2. (22) 5. นักศึกษามีทักษะในการใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสมเพื่อการศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูลประกอบการทํางานมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ในการสื่อสารเพื่อสนับสนุน การทํางานเช่น การค้นคว้าการนําเสนอ การโต้ตอบ แสดงความคิดเห็น ประสานการทํางาน การรับ-ส่งงาน การ ซักถามข้อสงสัย เนื้อหา แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 1 3 ชั่วโมง ความหมายและแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การยอมรับและการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเวทีระหว่างประเทศเพื่อเป็นพื้นฐาน ในการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์ ทางเลือกในการพัฒนาสําหรับการพัฒนาประเทศในภูมิภาคเอเชีย แนวความคิดและหลักการ แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 2 3 ชั่วโมง ความหมายในเชิงทฤษฎีของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ กรอบแนวคิด คุณลักษะ คำนิยาม เงื่อนไข แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดว่าจะได้รับและข้อสรุป แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 3 3 ชั่วโมง แนวความคิดพุทธเศรษฐศาสตร์กับทฤษฎีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - แนวคิดและความหมายของพุทธเศรษฐศาสตร์ - แนวคิดเศรษฐศาสตร์มนุษยนิยมกับแนวคิดแบบพุทธ - ทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธเศรษฐศาสตร์ - จริยธรรมเชิงพุทธกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม - พุทธเศรษฐศาสตร์กับแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
  • 3. (23) แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 4 3 ชั่วโมง ความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีใหม่กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - แนวคิดทฤษฎีใหม่ตามกระแสพระราชดํารัส - ความสัมพันธ์ระหว่างแนวพระราชดําริเรื่องทฤษฎีใหม่กับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง - แนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่ - ลักษณะสําคัญของเกษตรทฤษฎีใหม่ - การเปรียบเทียบเกษตรทฤษฎีใหม่กับเศรษฐกิจพอเพียง - การเปรียบเทียบทฤษฎีใหม่ขั้นต่าง ๆ และเศรษฐกิจพอเพียงแบบต่าง แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 5 3 ชั่วโมง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารเศรษฐกิจส่วนรวม - กรอบนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 - การสร้างและปลูกจิตสํานึกในภาคประชาชน - คุณธรรมและจริยธรรมในภาครัฐและภาคเอกชนหลักและแนวคิดธรรมมาภิบาล ทั้งภาครัฐและเอกชน - หลักทศพิธราชธรรมในภาครัฐ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 6 3 ชั่วโมง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมรายสาขา - การเมืองการปกครอง - การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต วัฒนธรรมในชุมชนและท้องถิ่น - ตัวอย่างการประยุกต์เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ เศรษฐกิจและสังคม รายสาขา เช่น ด้านสังคม การเมืองการปกครอง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - การประยุกต์ใช้กับวิถีชีวิต วัฒนธรรมในชุมชนและท้องถิ่น
  • 4. (24) แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 7 3 ชั่วโมง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชุมชน - ความหมายจากประสบการณ์ของชุมชน - ความหมายต่อแนวคิดที่สะท้อนจากชุมชนการปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อโลกาภิวัตน์ - ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง - เป้าหมายในแต่ละภาค แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 8 3 ชั่วโมง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความสอดคล้องต่อวิถีชุมชน - ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับความสอดคล้องต่อวิถีและกิจกรรมของชุมชนและ ท้องถิ่นทั้งในระดับ จิตสํานึก ระดับปฏิบัติและระดับปฏิเวธ แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 9 3 ชั่วโมง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในมิติต่าง ๆ องค์ประกอบและแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน - ความพอประมาณ -ความมีเหตุผล -การมีภูมิคุ้มกันในตัว -เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม -การเชื่อมโยงองค์ประกอบสามประการเข้ากับเงื่อนไขความรู้และคุณธรรม -ตัวอย่างการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและภาคีการพัฒนา แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 10 3 ชั่วโมง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในภาคประชาชน - กรณีตัวอย่าง การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาค ประชาชนและชุมชน -การสังเคราะห์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงจากกรณีตัวอย่าง
  • 5. (25) แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 11 3 ชั่วโมง การศึกษาในเชิงเศรษฐกิจพอเพียงและการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - กรณีศึกษาการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยบนพื้นฐานปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงทั้งในภาครัฐและเอกชน แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 12 3 ชั่วโมง การแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติภายใต้ กรอบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - การแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หลักการ กรอบของแผนและแนวทาง ในการแปลงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปสู่การปฏิบัติภายใต้กรอบ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 13 3 ชั่วโมง ระบบเครือข่ายทุนทางสังคมและการวางแผนชุมชน - แนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่ายทุนทางสังคมจากกรณีศึกษา โครงการพัฒนาข้อมูลข่าวสารและระบบเครือข่ายทุนทางสังคมพอเพียง -แนวคิดการสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาในการจัดทําแผนชุมชน แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 14 3 ชั่วโมง ภาคีการพัฒนาและเครือข่ายการพัฒนาในระดับพื้นที่บนพื้นฐานของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - การสนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และการดำเนินการเพื่อขยายเครือข่ายการพัฒนาในระดับพื้นที่บนพื้นฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แผนการสอนประจําสัปดาห์ที่ 15 3 ชั่วโมง บทบาทภาครัฐในการพัฒนาภาคการเกษตรภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - แผนพัฒนาด้านการเกษตรของภาครัฐ - การกําหนดวิสัยทัศน์ - กระบวนการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติและ - นโยบายและมาตรการภาครัฐที่สนับสนุนการดําเนินงานด้านการเกษตร
  • 6. (26) วิธีการสอนและกิจกรรม 1. ใช้วิธีการสอนเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การบรรยาย ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ผู้เรียนค้นคว้าหรือทําความเข้าใจประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง รวมทั้งให้เสริมทักษะ ด้วยการให้ผู้เรียนทํา Workshop 2. การมอบหมายงานกลุ่มเพื่อการระดมสมอง เพื่อเป็นการฝึกทักษะ ศึกษาค้นคว้า การ วิเคราะห์และการสังเคราะห์ การจัดทํารายงานและการอภิปรายนําเสนองานที่ได้รับ มอบหมาย 4. การจัดการเรียนการสอนเน้นการวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนา ค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการอภิปรายนําเสนอและการศึกษาจาก สถานที่จริง 5. การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้ได้นํา รูปแบบการเรียนการ สอนแบบต่างๆเพื่อทําให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ทักษะในการ คิดอย่างมีระบบ และการวิจัยและการแก้ปัญหามีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ สื่อการเรียนการสอน 1. จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อต่างๆ เช่น บรรยาย Power Point media 2. การใช้กรณีศึกษา การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง การฝึกปฏิบัติ 3. การศึกษาค้นคว้าเอกสาร ตํารา เอกสารการสอน สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ เว็บไซด์ การวัดและการประเมินผล 1. การวัดผล กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมิน 1 ทํางานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30% 2 สอบกลางภาค 8 30% 3 สอบปลายภาค 13 40% 2. การประเมินผล การประเมินผลจะใช้ทั้งสองแบบคือ ใช้เกณฑ์การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ และแบบอิงกลุ่ม (T – Score)
  • 7. (27) การวัดผลแบบอิงเกณฑ์ ระดับคะแนน ค่าร้อยละ ค่าระดับคะแนน A 90 -100 4.00 B+ 85 - 89 3.50 B 75 -84 3.00 C+ 70 - 74 2.50 C 60 - 59 2.00 D+ 55 - 59 1.50 D 50 - 54 1.00 E 0 - 49 0.00