SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
บทที่ 2
ความหมายในเชิงทฤษฎีของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• คานิยามในเชิงทฤษฎี ให้ความหมายของเศรษฐกิจเพียงพอว่าเป็ นปรัชญา ที่ชี้ถึงแนวทาง
ในการดารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึงระดับประเทศ
เมื่อใช ้คาว่า “ชี้ถึง” ทาให้สามารถเข้าใจได้ว่าเป็ นสิ่งที่มีอยู่แล้วนั่นเองแต่ยังไม่มีใครสนใจ
หรือนามาใช ้
• เศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็ นปรัชญาในการดารงชีวิตและการปฏิบัติที่สามารถสร ้างและ
พัฒนา ด้วยตนเองได้ อยู่ที่การปฏิบัติของตัวบุคคล1 เพิ่มจุดแสดงหัวข้อย่อยที่สามของคุณ
ที่นี่
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• นิยามที่ได้ให้ไว้เป็นนิยามที่เป็นกรอบนาไปสู่การพัฒนาทฤษฎีเศรษฐศาสตร ์ซึ่งมีส่วนประกอบ
สาคัญ 5 ส่วนได้แก่
1. กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดเป็นสิ่งซึ่งใช ้เป็นกรอบ และเป็นแนวทางในการดารงชีวิตหรือการดารงวิถีทางการ
ปฏิบัติกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทุกระดับ โดยชี้ในสิ่งที่ควรจะเป็นและสามารถนาไปประยุกต์ใช ้ในความ
เป็ นจริงได้(Existence of empirical evidence) และประยุกต์ได้ตลอดเวลา มองในเชิงระบบซึ่งมีความเป็นพล
วัตต์สูง (dynamic) มีเป้ าประสงค์และการหวังผลทั้งในระยะสั่นและระยะยาว ทาให้เกิดลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่
ถาวรและมั่นคง หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความยั่งยืนที่สาคัญโดยตัวของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมี
ลักษณะเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาได้ตลอดเวลา (Paradigm Shift) ทั้งนี้ มาจากการที่ผู้นาไปประยุกต์ปฏิบัติ
จาเป็ นต้องแสวงหาความรู้อยู่เสมอเพื่อนาไปใช ้ในการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของระบบและสภาพแวดล้อม
ต่างๆในเชิงสถาน การณ์ จึงจาเป็ นต้องแสวงหาวิธีการประยุกต์ปฏิบัติให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ตลอด เวลา
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2 คุณลักษะ พื้นฐานแนวคิดที่ปรากฏในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาจากการมองเห็นวิถีการ
ดารงชีวิตแบบดั้งเดิมที่ให้คุณประโยชน์ ทั้งวิถีความคิดและวิถีการดารงชีวิต โดยผนวกแนวคิดจากพุทธ
ธรรมที่มาจากพุทธเศรษฐศาสตร ์ที่กล่าวถึงการเดินสายกลาง (Middle Path) ที่เป็ นหัวใจสาคัญของการ
นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช ้ในการพัฒนา
การนามาใช ้ให้สอดคล้องต่อเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือกระแสหลัก จาเป็ นต้องเข้าใจวิธีการที่ พระธรรมปิฎก
(ป.อ.ปยฺตโต) อธิบายความหมายในเชิงเศรษฐศาสตร ์ขององค์ประกอบต่างๆไว้ใน A Middle Way for Market
Place 2 เช่น คาว่ามูลค่า การบริโภค ความพอประมาณ การบริโภค การผลิต ความร่วมมือและการแข่งขัน
ความสอดคล้องต่อเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่มองเห็นได้ชัดในปัจจุบันคือ ความร่วมมือระหว่างประ เทศในการผลิตและ
การดาเนินวิถีการตลาด
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• ความสาคัญของคาว่าทางสายกลาง ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญหรือ คีย์เวิร ์ด (Key Word) ของปรัชญา
ของเศรษฐกิจ พอเพียง ครอบคลุมลักษณะและเงื่อนต่างๆที่สามารถนาไปใช ้ปฏิบัติได ไดแก่
1) การให้ความสาคัญต่อความสมดุล (สมตา) ที่พุทธศาสนาเรียกว่า กฎธรรมชาติ ทุกอย่างย่อม
ต้องมีสมดุล
2) ความพอเพียง เป็นการกระทากิจกรรมตามความจาเป็นไม่ใช่การตอบสนองความอยาก
3) การใช ้ปัญญาแก้ปัญหา ไม่งมงายหรือยึดถือหลักการใดหลักการหนึ่งตายตัว มีความยืดหยุ่น
4) สติ (สมาธิ) เป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างอารมณ์และเหตุผล เป็นการคิดที่มีความรอบคอบจะสามารถ
ผูกเข้ากับปัญญาได้ทาให้บุคคลกระทากิจกรรมการดาเนินชีวิตด้วยความมีเหตุมีผล ถือได้ว่า
ความรอบคอบและการใช ้สติปัญญา คือการใช ้สิ่งที่เป็นสมดุลระหว่างศรัทธาและปัญญา
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3) คานิยาม ข้อสรุปนิยามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นนิยามที่กาหนดไว้เพื่อเป็ น
แนวทางอย่างแท้จริง (Working Definition) ทั้งนี้ นิยามดังกล่าว เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึง
แนวทางในการดารงชีวิตและการปฏิบัติตนของประชาชน ตั้งแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึง
ระดับประเทศ โดยนิยามดังกล่าว ได้ให้ความหมายของความพอเพียงว่า หมายถึง ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ภายใต้เงื่อนไข ความรู้คู่คุณธรรม4
• นิยามของคาว่าเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถตั้งแต่ระดับปัจเจกจนถึงระดับภูมิภาค ผลิตเพื่อ
เลี้ยงสังคม โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยที่สังคมนั้นไม่ได้เป็ นเจ้าของ5ซึ่งเป็ นการให้นิยามของแต่ละภาคส่วน จะมี
ลักษณะและแนวทางที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน และขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช ้ตามลักษณะเฉพาะของแต่ละ
ภาคส่วนและ/หรือหน่วยงาน ที่ต้องการนาไปใช ้ให้เกิดประโยชน์
หลักสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
เงื่อนไขสองประการ
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• คานิยามและลักษณะของนิยาดังกล่าว ทาให้ลักษณะของความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีดังนี้
3.1) ความไม่สุดโต่ง มีความเป็ นสมดุลในการดาเนินชีวิต ไม่เอนเอียงไปในทางใดทางหนึ่ง
3.2) มีลักษณะที่สามารถปรับใช ้ได้ในทุกระดับ และทุกภาคส่วน เนื่องจากสามารถปรับให้เกิดความยืดหยุ่น และ
เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมของสภาพต่างๆ ของหน่วยงาน พื้นที่ชุมชนและสังคม
3.3) มีลักษณะไม่หยุดนิ่ง มีการพัฒนาอยู่เสมอภายใต้กรอบแนวคิดดังกล่าว ทาให้การทากิจ กรรมทางเศรษฐกิจและ
กิจกรรมการดาเนินภายใต้กรอบนี้ จาเป็ นต้องแสวงหาความรู ้อยู่เสมอและจาเป็ นต้องกระทาอย่างรอบคอบ การตัดสินใจใดๆ
ต้องใช้ความรู้และเหตุผล ไม่ใช้อารมณ์
3.4) เป็ นการดาเนินกิจกรรมในการดาเนินชีวิตและกิจกรรมทางเศรษฐกิจด้วยลักษณะความมีคุณธรรมและมีศีลธรรมไป
พร ้อมกัน และถือว่าเป็ นสิ่งที่จาเป็ น
3.5) เป็ นแนวทางที่จะทาให้เกิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงที่มั่นคงเนื่องด้วยการดาเนินกิจกรรมต่างๆ กระทาตาม
ลักษณะข้างต้น ทาให้เกิดรากฐานของการเปลี่ยนแปลงที่มั่นคงเพราะสิ่งดังกล่าวเป็ นสิ่งที่ป้ องกันความล้มเหลวหรือที่เรียกว่า
เป็ นภูมิคุ้มกันและนาไปสู่การพัฒนาที่ความยั่งยืน
•
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 4) เงื่อนไขปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 4.1 ความรู้หมายถึง ความรอบรู้ในสิ่งต่างๆ (Stock of all relevant Knowledge) หรือความ
รู้รอบด้าน เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน นวัตกรรมด้านความรู้เทคโนโลยีทั้ง
ด้านสังคม เศรษฐกิจและวิทยาศาสตร ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าอยู่เสมอ แนวทาง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงเน้นถึงความเปลี่ยนแปลง และเน้นย้าถึงการแสวงหาความรู้อยู่
เสมอ นอกจากการแสวงหาความรู้อยู่เสมอแล้ว ยังจาเป็นต้องนาความรู้ดังกล่าวมาใช ้ให้เกิด
ประโยชน์เพื่อสร ้างความคิดสร ้างสรรค์และสร ้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้น ดังนั้น สิ่งสาคัญในประเด็น
นี้คือ การเชื่อมโยงความรู้สู่การปฏิบัติในแต่ละขั้นตอน (Connectivity of all Acquired
Knowledge)
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 4.2 แม้ว่าจะมีการแสวงหาความรู้อยู่เสมอและสามารถนาความรู้ไปใช ้ประโยชน์แล้ว สิ่งที่จาเป็ นอีกประการ
หนึ่งที่ต้องมีคือ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบโลก ซึ่งมีการ
แข่งขันกันอย่างมาก ทาให้การดาเนินกิจกรรมตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง จาต้องกระทา อย่าง
ระมัดระวังและความรอบคอบ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และรู้เท่าทันสิ่งต่างๆเพื่อความได้เปรียบ
ทางการแข่งขัน ซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขันในที่นี้ ไม่ไดหมายความว่า การชิงความได้เปรียบเพื่อการ
ทาให้คู่แข่งขันล่มสลาย แต่เป็ นความได้เปรียบเชิงสร ้างสรรค์ เชิงการแลกเปลี่ยนและความร่วมมือ ดัง
ตัวอย่างของการแลกเปลี่ยนความร่วมมือด้านความรู้และการสร ้างนวัตกรรมใหม่ๆ ของประเทศจีนและ
ประเทศญี่ปุ่น
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• 4.3 เงื่อนไขประการสุดท้าย คือความมีคุณธรรม (Ethic Qualifications) เน้นด้านจิตใจและปัญญา ซึ่งคา ว่า
ปัญญาในที่นี้ คือความเข้าใจธรรมชาติของความเป็นจริงของชีวิต ความสามารถในการแยกแยะ วิเคราะห์เพื่อ
แก้ไขปัญญาได้ลุล่วง การไม่ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมในการดาเนินวิถีกิจกรรมอยู่
เสมอ เนื่องจากจะไม่ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในทางพุทธธรรม คือการป้ องกันตัวเองไม่ให้เกิดความโลภมากเกินไป
ซึ่งความโลภอาจทาให้เกิดความล้มเหลวของวิถีกิจกรรมในการดาเนินชีวิต
• สิ่งที่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเน้นก็คือ การทาให้เกิดความมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น การสร ้างความสมดุลของ
การดาเนินวิถีชีวิต ทั้งนี้ เพื่อสร ้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เกิดความโลภ ความหลงใหลในสิ่งต่างๆ ที่อาจทาให้เกิดความ
ล้มเหลวของการดาเนินชีวิต ความอดทน ความอดกลั้น และความพยายาม พากเพียร หรือหากจะกล่าวตาม
ประโยคที่ใช ้กันมายาวนาน และถ่ายทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น ก็สามารถกล่าวได้ว่า “ความขยันหมั่นเพียร มานะอดทน
ในอุปสรรคต่างๆ” จะนาไปสู่ความสาเร็จในการดาเนินชีวิต
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5) แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดว่าจะได้รับ7
• การแปรผลในเชิงปฏิบัติ และการตั้งเป้ าหมายของการทากิจกรรมซึ่งเป็ นผลมาจากการประยุกต์ใช้
แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นการสร ้างความพร ้อมให้กับตนเอง เพื่อสร ้าง
ความสามารถในการตั้งรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในเชิงระบบ สังคม วัฒนธรรมและ
เศรษฐกิจของโลก
• การประยุกต์ใช ้เป็ นแนวทางปฏิบัติ จาเป็ นต้องมีการจัดทาแผนเป็ นขั้นตอนซึ่งจะทาให้เกิดวิถีการ
พัฒนา (Development Path) ที่สมดุล และพร ้อมรับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น แผนหรือขั้นตอน
ดังกล่าวจึงประกอบไปด้วยส่วนที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างวิธีการและเป้ าหมาย (Internal
Consistency Between Means and Ends) วิธีการคือ ขั้นตอนที่ สร ้างขึ้นตามวิถีทางของ
ความพอเพียง จะทาให้เกิดเกราะป้ องกันไม่ให้เกิดความล้มเหลว
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
• คาว่า “สมดุล” ในที่นี้ หมายถึงการสร ้างความพร ้อมทั้งทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ครอบคลุมถึงการใช ้ทรัพยากรต่างๆในการดาเนินกิจกรรมตามแนวทางการประยุกต์
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ้ทั้งที่เป็ นทรัพยากรที่มีอยู่ในสังคม เรียกว่า ทุนทางสังคม
เช่น ความไว้เนื้อเชื่อใจระเบียบกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ในสังคมนั้น เป็ นต้น นอกจากทุนทางสังคม
ที่เป็ นนามธรรมแล้ว จาเป็ นต้องพิจารณาทุนทาง สังคมที่เป็ นรูปธรรม เช่นทรัพยากรที่มี
อยู่ ไม่ว่าจะเป็ นทรัพยากรทางเศรษฐกิจ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนที่เป็ นภูมิปัญญาและหรือ
ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งจะนาไปสู่ความสามารถจัดการให้เกิดการใช ้อย่างมีประสิทธิภาพ มี
ประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน ความยืดหยุ่น(Flexible) และการปรับตัวเองได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ (Adaptation) เป็ นสิ่งที่ต้องสร ้างให้เกิดขึ้นในตนเอง ชุมชนและสังคม การมี
ความยืดหยุ่นและการมีคุณสมบัติในการปรับตัวเองจะทาให้เกิดการ ตั้งรับสิ่งที่เป็ น
ผลกระทบจากสิ่งภายนอกได้ เช่น ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลกระทบด้านวัฒนธรรม
ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมและผลกระทบด้านวัตถุ
สรุป
• ความหมายในเชิงทฤษฏีของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือการนาองค์ประกอบ 4
ประการที่เรียกว่า สามห่วงสองเงื่อนไขมาเป็ นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดสมดุลของ
การดาเนินชีวิตและเกิดสมดุลในการพัฒนาและเพื่อสร ้างความพร ้อมทั้งในเชิงสังคม
วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม

More Related Content

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2

บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsapay
 

Similar to การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2 (20)

001
001001
001
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2

  • 2. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • คานิยามในเชิงทฤษฎี ให้ความหมายของเศรษฐกิจเพียงพอว่าเป็ นปรัชญา ที่ชี้ถึงแนวทาง ในการดารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึงระดับประเทศ เมื่อใช ้คาว่า “ชี้ถึง” ทาให้สามารถเข้าใจได้ว่าเป็ นสิ่งที่มีอยู่แล้วนั่นเองแต่ยังไม่มีใครสนใจ หรือนามาใช ้ • เศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็ นปรัชญาในการดารงชีวิตและการปฏิบัติที่สามารถสร ้างและ พัฒนา ด้วยตนเองได้ อยู่ที่การปฏิบัติของตัวบุคคล1 เพิ่มจุดแสดงหัวข้อย่อยที่สามของคุณ ที่นี่
  • 3. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • นิยามที่ได้ให้ไว้เป็นนิยามที่เป็นกรอบนาไปสู่การพัฒนาทฤษฎีเศรษฐศาสตร ์ซึ่งมีส่วนประกอบ สาคัญ 5 ส่วนได้แก่ 1. กรอบแนวคิด กรอบแนวคิดเป็นสิ่งซึ่งใช ้เป็นกรอบ และเป็นแนวทางในการดารงชีวิตหรือการดารงวิถีทางการ ปฏิบัติกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทุกระดับ โดยชี้ในสิ่งที่ควรจะเป็นและสามารถนาไปประยุกต์ใช ้ในความ เป็ นจริงได้(Existence of empirical evidence) และประยุกต์ได้ตลอดเวลา มองในเชิงระบบซึ่งมีความเป็นพล วัตต์สูง (dynamic) มีเป้ าประสงค์และการหวังผลทั้งในระยะสั่นและระยะยาว ทาให้เกิดลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่ ถาวรและมั่นคง หรือกล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความยั่งยืนที่สาคัญโดยตัวของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมี ลักษณะเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาได้ตลอดเวลา (Paradigm Shift) ทั้งนี้ มาจากการที่ผู้นาไปประยุกต์ปฏิบัติ จาเป็ นต้องแสวงหาความรู้อยู่เสมอเพื่อนาไปใช ้ในการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของระบบและสภาพแวดล้อม ต่างๆในเชิงสถาน การณ์ จึงจาเป็ นต้องแสวงหาวิธีการประยุกต์ปฏิบัติให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตลอด เวลา
  • 4. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 คุณลักษะ พื้นฐานแนวคิดที่ปรากฏในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาจากการมองเห็นวิถีการ ดารงชีวิตแบบดั้งเดิมที่ให้คุณประโยชน์ ทั้งวิถีความคิดและวิถีการดารงชีวิต โดยผนวกแนวคิดจากพุทธ ธรรมที่มาจากพุทธเศรษฐศาสตร ์ที่กล่าวถึงการเดินสายกลาง (Middle Path) ที่เป็ นหัวใจสาคัญของการ นาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช ้ในการพัฒนา การนามาใช ้ให้สอดคล้องต่อเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือกระแสหลัก จาเป็ นต้องเข้าใจวิธีการที่ พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยฺตโต) อธิบายความหมายในเชิงเศรษฐศาสตร ์ขององค์ประกอบต่างๆไว้ใน A Middle Way for Market Place 2 เช่น คาว่ามูลค่า การบริโภค ความพอประมาณ การบริโภค การผลิต ความร่วมมือและการแข่งขัน ความสอดคล้องต่อเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่มองเห็นได้ชัดในปัจจุบันคือ ความร่วมมือระหว่างประ เทศในการผลิตและ การดาเนินวิถีการตลาด
  • 5. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • ความสาคัญของคาว่าทางสายกลาง ซึ่งเป็นหัวใจสาคัญหรือ คีย์เวิร ์ด (Key Word) ของปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง ครอบคลุมลักษณะและเงื่อนต่างๆที่สามารถนาไปใช ้ปฏิบัติได ไดแก่ 1) การให้ความสาคัญต่อความสมดุล (สมตา) ที่พุทธศาสนาเรียกว่า กฎธรรมชาติ ทุกอย่างย่อม ต้องมีสมดุล 2) ความพอเพียง เป็นการกระทากิจกรรมตามความจาเป็นไม่ใช่การตอบสนองความอยาก 3) การใช ้ปัญญาแก้ปัญหา ไม่งมงายหรือยึดถือหลักการใดหลักการหนึ่งตายตัว มีความยืดหยุ่น 4) สติ (สมาธิ) เป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างอารมณ์และเหตุผล เป็นการคิดที่มีความรอบคอบจะสามารถ ผูกเข้ากับปัญญาได้ทาให้บุคคลกระทากิจกรรมการดาเนินชีวิตด้วยความมีเหตุมีผล ถือได้ว่า ความรอบคอบและการใช ้สติปัญญา คือการใช ้สิ่งที่เป็นสมดุลระหว่างศรัทธาและปัญญา
  • 6. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) คานิยาม ข้อสรุปนิยามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นนิยามที่กาหนดไว้เพื่อเป็ น แนวทางอย่างแท้จริง (Working Definition) ทั้งนี้ นิยามดังกล่าว เป็ นปรัชญาที่ชี้ถึง แนวทางในการดารงชีวิตและการปฏิบัติตนของประชาชน ตั้งแต่ระดับครัวเรือนไปจนถึง ระดับประเทศ โดยนิยามดังกล่าว ได้ให้ความหมายของความพอเพียงว่า หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน ภายใต้เงื่อนไข ความรู้คู่คุณธรรม4 • นิยามของคาว่าเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความสามารถตั้งแต่ระดับปัจเจกจนถึงระดับภูมิภาค ผลิตเพื่อ เลี้ยงสังคม โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัยที่สังคมนั้นไม่ได้เป็ นเจ้าของ5ซึ่งเป็ นการให้นิยามของแต่ละภาคส่วน จะมี ลักษณะและแนวทางที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน และขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช ้ตามลักษณะเฉพาะของแต่ละ ภาคส่วนและ/หรือหน่วยงาน ที่ต้องการนาไปใช ้ให้เกิดประโยชน์
  • 8. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • คานิยามและลักษณะของนิยาดังกล่าว ทาให้ลักษณะของความหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีดังนี้ 3.1) ความไม่สุดโต่ง มีความเป็ นสมดุลในการดาเนินชีวิต ไม่เอนเอียงไปในทางใดทางหนึ่ง 3.2) มีลักษณะที่สามารถปรับใช ้ได้ในทุกระดับ และทุกภาคส่วน เนื่องจากสามารถปรับให้เกิดความยืดหยุ่น และ เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมของสภาพต่างๆ ของหน่วยงาน พื้นที่ชุมชนและสังคม 3.3) มีลักษณะไม่หยุดนิ่ง มีการพัฒนาอยู่เสมอภายใต้กรอบแนวคิดดังกล่าว ทาให้การทากิจ กรรมทางเศรษฐกิจและ กิจกรรมการดาเนินภายใต้กรอบนี้ จาเป็ นต้องแสวงหาความรู ้อยู่เสมอและจาเป็ นต้องกระทาอย่างรอบคอบ การตัดสินใจใดๆ ต้องใช้ความรู้และเหตุผล ไม่ใช้อารมณ์ 3.4) เป็ นการดาเนินกิจกรรมในการดาเนินชีวิตและกิจกรรมทางเศรษฐกิจด้วยลักษณะความมีคุณธรรมและมีศีลธรรมไป พร ้อมกัน และถือว่าเป็ นสิ่งที่จาเป็ น 3.5) เป็ นแนวทางที่จะทาให้เกิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงที่มั่นคงเนื่องด้วยการดาเนินกิจกรรมต่างๆ กระทาตาม ลักษณะข้างต้น ทาให้เกิดรากฐานของการเปลี่ยนแปลงที่มั่นคงเพราะสิ่งดังกล่าวเป็ นสิ่งที่ป้ องกันความล้มเหลวหรือที่เรียกว่า เป็ นภูมิคุ้มกันและนาไปสู่การพัฒนาที่ความยั่งยืน •
  • 9. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 4) เงื่อนไขปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 4.1 ความรู้หมายถึง ความรอบรู้ในสิ่งต่างๆ (Stock of all relevant Knowledge) หรือความ รู้รอบด้าน เนื่องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน นวัตกรรมด้านความรู้เทคโนโลยีทั้ง ด้านสังคม เศรษฐกิจและวิทยาศาสตร ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าอยู่เสมอ แนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงเน้นถึงความเปลี่ยนแปลง และเน้นย้าถึงการแสวงหาความรู้อยู่ เสมอ นอกจากการแสวงหาความรู้อยู่เสมอแล้ว ยังจาเป็นต้องนาความรู้ดังกล่าวมาใช ้ให้เกิด ประโยชน์เพื่อสร ้างความคิดสร ้างสรรค์และสร ้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้น ดังนั้น สิ่งสาคัญในประเด็น นี้คือ การเชื่อมโยงความรู้สู่การปฏิบัติในแต่ละขั้นตอน (Connectivity of all Acquired Knowledge)
  • 10. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 4.2 แม้ว่าจะมีการแสวงหาความรู้อยู่เสมอและสามารถนาความรู้ไปใช ้ประโยชน์แล้ว สิ่งที่จาเป็ นอีกประการ หนึ่งที่ต้องมีคือ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของระบบโลก ซึ่งมีการ แข่งขันกันอย่างมาก ทาให้การดาเนินกิจกรรมตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง จาต้องกระทา อย่าง ระมัดระวังและความรอบคอบ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และรู้เท่าทันสิ่งต่างๆเพื่อความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน ซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขันในที่นี้ ไม่ไดหมายความว่า การชิงความได้เปรียบเพื่อการ ทาให้คู่แข่งขันล่มสลาย แต่เป็ นความได้เปรียบเชิงสร ้างสรรค์ เชิงการแลกเปลี่ยนและความร่วมมือ ดัง ตัวอย่างของการแลกเปลี่ยนความร่วมมือด้านความรู้และการสร ้างนวัตกรรมใหม่ๆ ของประเทศจีนและ ประเทศญี่ปุ่น
  • 11. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 4.3 เงื่อนไขประการสุดท้าย คือความมีคุณธรรม (Ethic Qualifications) เน้นด้านจิตใจและปัญญา ซึ่งคา ว่า ปัญญาในที่นี้ คือความเข้าใจธรรมชาติของความเป็นจริงของชีวิต ความสามารถในการแยกแยะ วิเคราะห์เพื่อ แก้ไขปัญญาได้ลุล่วง การไม่ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมในการดาเนินวิถีกิจกรรมอยู่ เสมอ เนื่องจากจะไม่ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในทางพุทธธรรม คือการป้ องกันตัวเองไม่ให้เกิดความโลภมากเกินไป ซึ่งความโลภอาจทาให้เกิดความล้มเหลวของวิถีกิจกรรมในการดาเนินชีวิต • สิ่งที่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเน้นก็คือ การทาให้เกิดความมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น การสร ้างความสมดุลของ การดาเนินวิถีชีวิต ทั้งนี้ เพื่อสร ้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เกิดความโลภ ความหลงใหลในสิ่งต่างๆ ที่อาจทาให้เกิดความ ล้มเหลวของการดาเนินชีวิต ความอดทน ความอดกลั้น และความพยายาม พากเพียร หรือหากจะกล่าวตาม ประโยคที่ใช ้กันมายาวนาน และถ่ายทอดกันจากรุ่นสู่รุ่น ก็สามารถกล่าวได้ว่า “ความขยันหมั่นเพียร มานะอดทน ในอุปสรรคต่างๆ” จะนาไปสู่ความสาเร็จในการดาเนินชีวิต
  • 12. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) แนวทางปฏิบัติและผลที่คาดว่าจะได้รับ7 • การแปรผลในเชิงปฏิบัติ และการตั้งเป้ าหมายของการทากิจกรรมซึ่งเป็ นผลมาจากการประยุกต์ใช้ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นการสร ้างความพร ้อมให้กับตนเอง เพื่อสร ้าง ความสามารถในการตั้งรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในเชิงระบบ สังคม วัฒนธรรมและ เศรษฐกิจของโลก • การประยุกต์ใช ้เป็ นแนวทางปฏิบัติ จาเป็ นต้องมีการจัดทาแผนเป็ นขั้นตอนซึ่งจะทาให้เกิดวิถีการ พัฒนา (Development Path) ที่สมดุล และพร ้อมรับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น แผนหรือขั้นตอน ดังกล่าวจึงประกอบไปด้วยส่วนที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างวิธีการและเป้ าหมาย (Internal Consistency Between Means and Ends) วิธีการคือ ขั้นตอนที่ สร ้างขึ้นตามวิถีทางของ ความพอเพียง จะทาให้เกิดเกราะป้ องกันไม่ให้เกิดความล้มเหลว
  • 13. องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • คาว่า “สมดุล” ในที่นี้ หมายถึงการสร ้างความพร ้อมทั้งทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ครอบคลุมถึงการใช ้ทรัพยากรต่างๆในการดาเนินกิจกรรมตามแนวทางการประยุกต์ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ้ทั้งที่เป็ นทรัพยากรที่มีอยู่ในสังคม เรียกว่า ทุนทางสังคม เช่น ความไว้เนื้อเชื่อใจระเบียบกฎเกณฑ์ที่มีอยู่ในสังคมนั้น เป็ นต้น นอกจากทุนทางสังคม ที่เป็ นนามธรรมแล้ว จาเป็ นต้องพิจารณาทุนทาง สังคมที่เป็ นรูปธรรม เช่นทรัพยากรที่มี อยู่ ไม่ว่าจะเป็ นทรัพยากรทางเศรษฐกิจ ทุนทางวัฒนธรรม ทุนที่เป็ นภูมิปัญญาและหรือ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งจะนาไปสู่ความสามารถจัดการให้เกิดการใช ้อย่างมีประสิทธิภาพ มี ประโยชน์สูงสุดและยั่งยืน ความยืดหยุ่น(Flexible) และการปรับตัวเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (Adaptation) เป็ นสิ่งที่ต้องสร ้างให้เกิดขึ้นในตนเอง ชุมชนและสังคม การมี ความยืดหยุ่นและการมีคุณสมบัติในการปรับตัวเองจะทาให้เกิดการ ตั้งรับสิ่งที่เป็ น ผลกระทบจากสิ่งภายนอกได้ เช่น ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผลกระทบด้านวัฒนธรรม ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมและผลกระทบด้านวัตถุ
  • 14. สรุป • ความหมายในเชิงทฤษฏีของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือการนาองค์ประกอบ 4 ประการที่เรียกว่า สามห่วงสองเงื่อนไขมาเป็ นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดสมดุลของ การดาเนินชีวิตและเกิดสมดุลในการพัฒนาและเพื่อสร ้างความพร ้อมทั้งในเชิงสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม