SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
กระบวนการผลิต
นิตยสาร
รายวิชา งานผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 2 ง 30233
ครูผููสอน นางสาวพลอยกานต์ ลาดวล
กลุ่มสาระการเรียนรููการงานอาชีพ
โรงเรียนสายธรรมจันทร์
5
4
3
2
1
การวางแผนผลิต
นิตยสาร
การออกแบบนิตยสาร
การจัดหนูาสิ่งพิมพ์ เทคนิคการออกแบบ
ปกนิตยสาร
1. การวางแผนผลิตนิตยสาร
Thu
Wed
Tue
Mon
Fri
การวางแผนผลิตนิตยสาร
5
4
3
2
1 จ่ดมุ่งหมายและ
กลุ่มเปูาหมาย
งบประมาณและ
เวลา
ทดสอบแนวคิดและ
ทารุาง
ปรึกษาโรงพิมพ์
กาหนดจ่ดมุ่งหมายและเปูาหมาย
แนวคิดและรุาง
แนวคิดและรุาง
งบและเวลา
งบและเวลา
จ่ดหมายและเปูาหมาย
จ่ดหมายและเปูาหมาย
5
4
3
2
1
ปรึกษาโรงพิมพ์
ปรึกษาโรงพิมพ์
❖ จุดมุ่งหมายของสิ่งพิมพ์ = สื่อสารอะไรกับใคร
❖ กาหนดวัตถุประสงค์ของนิตยสาร
❖ กาหนดเป้าหมายว่าจะเผยแพร่ไปยังกลุ่มใด
❖ วางแผนการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย จะใช้ถ้อยคาข้อความอย่างไร
ภาพประกอบแบบใด จึงจะสามารถสื่อความหมายได้ตรงกับ
วัตถุประสงค์
❖ จุดมุ่งหมายของสิ่งพิมพ์ = สื่อสารอะไรกับใคร
❖ กาหนดวัตถุประสงค์ของนิตยสาร
❖ กาหนดเป้าหมายว่าจะเผยแพร่ไปยังกลุ่มใด
❖ วางแผนการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย จะใช้ถ้อยคาข้อความอย่างไร
ภาพประกอบแบบใด จึงจะสามารถสื่อความหมายได้ตรงกับ
วัตถุประสงค์
งบประมาณการจัดพิมพ์และระยะเวลาการจัดทา
แนวคิดและรุาง
แนวคิดและรุาง
งบและเวลา
งบและเวลา
จ่ดหมายและเปูาหมาย
จ่ดหมายและเปูาหมาย
5
4
3
2
1
ปรึกษาโรงพิมพ์
ปรึกษาโรงพิมพ์
❖ กาหนดลักษณะของการพิมพ์ เช่น พิมพ์ 2 สี พิมพ์ 4 สี หน้าปก
มัน หรือปกธรรมดา เป็นต้น
❖ จานวนการผลิตให้เหมาะสมกับงบประมาณ
❖ ระยะเวลาให้การจัดพิมพ์ กาหนดจานวนหน้าและกาหนดระยะเวลาใน
การส่งต้นฉบับของแต่ละคอลัมม์
❖ กาหนดลักษณะของการพิมพ์ เช่น พิมพ์ 2 สี พิมพ์ 4 สี หน้าปก
มัน หรือปกธรรมดา เป็นต้น
❖ จานวนการผลิตให้เหมาะสมกับงบประมาณ
❖ ระยะเวลาให้การจัดพิมพ์ กาหนดจานวนหน้าและกาหนดระยะเวลาใน
การส่งต้นฉบับของแต่ละคอลัมม์
ทดสอบแนวคิดและจัดทาฉบับรุาง
แนวคิดและรุาง
แนวคิดและรุาง
งบและเวลา
งบและเวลา
จ่ดหมายและเปูาหมาย
จ่ดหมายและเปูาหมาย
5
4
3
2
1
ปรึกษาโรงพิมพ์
ปรึกษาโรงพิมพ์
❖ ประชุม วางแผนกาหนดวัตถุประสงค์ของคอลัมม์ในนิตยสาร
❖ กาหนดเนื้อหาของแต่ละฉบับ
❖ ร่างแบบเค้าโครงของแต่ละคอลัมม์
❖ ปรึกษา พูดคุย ฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน เพื่อทดสอบความ
เข้าใจและยืนยันว่านิตยสารสื่อสารได้ตรงกับวัตถุประสงค์และ
กลุ่มเป้าหมาย
❖ ประชุม วางแผนกาหนดวัตถุประสงค์ของคอลัมม์ในนิตยสาร
❖ กาหนดเนื้อหาของแต่ละฉบับ
❖ ร่างแบบเค้าโครงของแต่ละคอลัมม์
❖ ปรึกษา พูดคุย ฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน เพื่อทดสอบความ
เข้าใจและยืนยันว่านิตยสารสื่อสารได้ตรงกับวัตถุประสงค์และ
กลุ่มเป้าหมาย
ปรึกษาโรงพิมพ์
แนวคิดและรุาง
แนวคิดและรุาง
งบและเวลา
งบและเวลา
จ่ดหมายและเปูาหมาย
จ่ดหมายและเปูาหมาย
5
4
3
2
1
ปรึกษาโรงพิมพ์
ปรึกษาโรงพิมพ์
❖ ปรึกษารูปแบบการพิมพ์นิตยสารกับโรงพิมพ์ เพื่อให้การจัดพิมพ์
เหมาะสมกับงบประมาณ
❑ วิธีการพิมพ์
❑ กระดาษที่ใช้
❑ จานวนสีที่พิมพ์
❑ วิธีการเย็บเล่ม
❖ ปรึกษารูปแบบการพิมพ์นิตยสารกับโรงพิมพ์ เพื่อให้การจัดพิมพ์
เหมาะสมกับงบประมาณ
❑ วิธีการพิมพ์
❑ กระดาษที่ใช้
❑ จานวนสีที่พิมพ์
❑ วิธีการเย็บเล่ม
2. การออกแบบนิตยสาร
Thu
Wed
Tue
Mon
Fri
การออกแบบนิตยสาร
5
4
3
2
1 ก่อนเริ่มออกแบบนิตยสารควรวางแผนภาพลักษณ์ของนิตยสารให้มี
ความทันสมัยและตรงกับกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายย่อม
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เพื่อรักษาความสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย
และดึงกลุ่มเป้าหมายใหม่ นิตยสารควรมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง
ทุก ๆ 5 ปี
ก่อนเริ่มออกแบบนิตยสารควรวางแผนภาพลักษณ์ของนิตยสารให้มี
ความทันสมัยและตรงกับกลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายย่อม
เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เพื่อรักษาความสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย
และดึงกลุ่มเป้าหมายใหม่ นิตยสารควรมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง
ทุก ๆ 5 ปี
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
รูปแบบหนูาปก
หน้าปกเป็นส่วนสาคัญที่สุดของนิตยสาร เปรียบเหมือนหน้าตาที่ทา
ให้กลุ่มเป้าหมายประทับใจ ทั้งยังแสดงออกถึงภาพลักษณ์และบุคลิกของ
นิตยสารได้ชัดเจน
หน้าปกเป็นส่วนสาคัญที่สุดของนิตยสาร เปรียบเหมือนหน้าตาที่ทา
ให้กลุ่มเป้าหมายประทับใจ ทั้งยังแสดงออกถึงภาพลักษณ์และบุคลิกของ
นิตยสารได้ชัดเจน
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
นิตยสาร 2 เล่มนี้
เหมือนและแตกต่าง
กันอย่างไร ?
บุคลิกของทั้ง 2 เล่ม
เปรียบเหมือนอะไร ?
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
สิ่งที่ตูองพิจารณาในการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
1. ปกหน้าในตัว ? ปกหน้าแยก ?
1. ปกหน้าในตัว ? ปกหน้าแยก ?
ปกหน้าในตัว
ปกหน้าที่ใช้กระดาษแบบเดียวกับ
เนื้อใน พิมพ์รวมพร้อมกัน ประหยัด
ต้นทุน เหมาะสาหรับเนื้อในที่ใช้
กระดาษหนาและคุณภาพดีพิมพ์
ปกหน้าแยก
ปกหน้าที่ใช้กระดาษคนและแบบกับ
เนื้อใน มักเป็นกระดาษหนากว่า
พิมพ์เฉพาะส่วนที่เป็นปก
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
สิ่งที่ตูองพิจารณาในการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
2. พื้นที่โฆษณา
พื้นที่โฆษณาเป็นรายได้ที่แน่นอนของนิตยสาร ควรพิจารณาว่าจะ
แบ่งขายพื้นที่หน้าปกเป็นพื้นที่โฆษณาด้วยหรือไม่ โดยคานึงผลได้ผลเสีย
การแบ่งหน้าปกเป็นพื้นที่โฆษณาก็จะเสียพื้นที่ในการสร้างความประทับใจ
และชักจูงผู้อ่าน โดยมากนิตยสารจึงไม่นิยมแบ่งพื้นที่หน้าปกเป็นพื้นที่
โฆษณา
2. พื้นที่โฆษณา
พื้นที่โฆษณาเป็นรายได้ที่แน่นอนของนิตยสาร ควรพิจารณาว่าจะ
แบ่งขายพื้นที่หน้าปกเป็นพื้นที่โฆษณาด้วยหรือไม่ โดยคานึงผลได้ผลเสีย
การแบ่งหน้าปกเป็นพื้นที่โฆษณาก็จะเสียพื้นที่ในการสร้างความประทับใจ
และชักจูงผู้อ่าน โดยมากนิตยสารจึงไม่นิยมแบ่งพื้นที่หน้าปกเป็นพื้นที่
โฆษณา
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
สิ่งที่ตูองพิจารณาในการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
3. สัดส่วนภาพและตัวอักษร
กาหนดสัดส่วนระหว่างภาพกับตัวอักษร เริ่มตั้งแต่ชื่อนิตยสารที่
ควรมีขนาดใหญ่ เห็นชัด โดยมากจะอยู่ที่ส่วนบน เพื่อไม่ให้ถูกบัง ภาพที่ใช้
เป็นองค์ประกอบหลักจะใช้ภาพเต็มหน้าหรืออยู่ในกรอบใต้ชื่อนิตยสาร
รวมถึงกาหนดสัดส่วนข้อความเรื่องเด่นภายในฉบับนั้น
3. สัดส่วนภาพและตัวอักษร
กาหนดสัดส่วนระหว่างภาพกับตัวอักษร เริ่มตั้งแต่ชื่อนิตยสารที่
ควรมีขนาดใหญ่ เห็นชัด โดยมากจะอยู่ที่ส่วนบน เพื่อไม่ให้ถูกบัง ภาพที่ใช้
เป็นองค์ประกอบหลักจะใช้ภาพเต็มหน้าหรืออยู่ในกรอบใต้ชื่อนิตยสาร
รวมถึงกาหนดสัดส่วนข้อความเรื่องเด่นภายในฉบับนั้น
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
แบบและขนาดตัวอักษร
ตัวอักษรในนิตยสารสามารถมีได้หลายแบบ แต่ก็ควรกาหนดแบบ
หลักสาหรับหน้าต่าง ๆ ไว้ เพื่อความสม่าเสมอ และควรกาหนดขนาดของ
แต่ละส่วนว่ามีเท่าใด เช่น ชื่อคอลัมม์ ชื่อเรื่อง เนื้อหา ส่วนเน้นในหน้า
ตัวอักษรในนิตยสารสามารถมีได้หลายแบบ แต่ก็ควรกาหนดแบบ
หลักสาหรับหน้าต่าง ๆ ไว้ เพื่อความสม่าเสมอ และควรกาหนดขนาดของ
แต่ละส่วนว่ามีเท่าใด เช่น ชื่อคอลัมม์ ชื่อเรื่อง เนื้อหา ส่วนเน้นในหน้า
หัวกระดาษ /
ชื่อคอลัมม์
ชื่อเรื่อง / จุดเน้น
เนื้อหา
ท้ายกระดาษ
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
แบบและขนาดภาพประกอบ
ภาพประกอบควรกาหนดรูปแบบและขนาดในการนาไปใช้ เพื่อให้
เกิดเอกลักษณ์ของนิตยสาร เช่น ใช้ภาพที่มีพื้นหลังเสมอไม่ไดคัต เพื่อแสดง
ความน่าเชื่อถือว่าเป็นภาพจริงไม่ตัดต่อ
ภาพประกอบควรกาหนดรูปแบบและขนาดในการนาไปใช้ เพื่อให้
เกิดเอกลักษณ์ของนิตยสาร เช่น ใช้ภาพที่มีพื้นหลังเสมอไม่ไดคัต เพื่อแสดง
ความน่าเชื่อถือว่าเป็นภาพจริงไม่ตัดต่อ
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
องค์ประกอบและการจัดวางองค์ประกอบ
หนูาปก สารบัญ บรรณาธิการ
หนูาเปิดเรื่อง หนูาเนื้อเรื่อง
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
1. หน้าปก
❖ หน้าปกทาหน้าที่ระบุเอกลักษณ์ของนิตยสารให้โดนเด่นจากนิตยสารอื่น
❖ ต้องดึงดูดผู้พบเห็นทันที
❖ กระตุ้นเร้าอารมณ์เหมาะสมกับนิตยสารนั้น
1. หน้าปก
❖ หน้าปกทาหน้าที่ระบุเอกลักษณ์ของนิตยสารให้โดนเด่นจากนิตยสารอื่น
❖ ต้องดึงดูดผู้พบเห็นทันที
❖ กระตุ้นเร้าอารมณ์เหมาะสมกับนิตยสารนั้น
5
4
3
2
1
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
3. หน้าบรรณาธิการ
❖ เป็นหน้าที่บอกถึงความคิด ความเห็น ความเชื่อของคนทานิตยสาร
❖ ควรออกแบบให้พิเศษกว่าหน้าอื่น ๆ
3. หน้าบรรณาธิการ
❖ เป็นหน้าที่บอกถึงความคิด ความเห็น ความเชื่อของคนทานิตยสาร
❖ ควรออกแบบให้พิเศษกว่าหน้าอื่น ๆ
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
4. หน้าเปิดเรื่อง
❖ หน้าแรกของเนื้อหาคอลัมม์
❖ ออกแบบให้สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้อ่าน
❖ คอลัมม์ประจาอาจออกแบบให้เป็นมาตรฐานใช้ได้ทุกฉบับ เพื่อให้เกิด
การจาจด แต่ก็ควรออกแบบให้มีความยืดหยุ่นด้วย เพื่อไม่ให้น่าเบื่อ
4. หน้าเปิดเรื่อง
❖ หน้าแรกของเนื้อหาคอลัมม์
❖ ออกแบบให้สร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับผู้อ่าน
❖ คอลัมม์ประจาอาจออกแบบให้เป็นมาตรฐานใช้ได้ทุกฉบับ เพื่อให้เกิด
การจาจด แต่ก็ควรออกแบบให้มีความยืดหยุ่นด้วย เพื่อไม่ให้น่าเบื่อ
5
4
3
2
1
5
4
3
2
1
ภาพประกอบ
ภาพประกอบ
ตัวอักษร
ตัวอักษร
หนูาปก
หนูาปก การจัดวางองค์ประกอบ
การจัดวางองค์ประกอบ
5. หน้าเนื้อเรื่อง
❖ ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลอันเป็นหัวใจของนิตยสาร
❖ มักเน้นออกแบบอย่างเรียบง่าย เพื่อให้สะดวกในการอ่านและติดตาม
เนื้อหา แต่ต้องดูแล้วไม่เบื่อเกินไป ควรออกแบบให้ดูน่าติดตามจน
อยากอ่านให้จบเนื้อหา
5. หน้าเนื้อเรื่อง
❖ ทาหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลอันเป็นหัวใจของนิตยสาร
❖ มักเน้นออกแบบอย่างเรียบง่าย เพื่อให้สะดวกในการอ่านและติดตาม
เนื้อหา แต่ต้องดูแล้วไม่เบื่อเกินไป ควรออกแบบให้ดูน่าติดตามจน
อยากอ่านให้จบเนื้อหา
5
4
3
2
1
5
4
3
2
1
3. การจัดหนูานิตยสาร
Thu
Wed
Tue
Mon
Fri
การจัดหนูานิตยสาร
5
4
3
2
1 เตรียมสุวนประกอบ
จัดวาง
ปรับแตุง
สารบัญ
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
ปรับแตุง
ปรับแตุง
จัดวาง
จัดวาง
เตรียมสุวนประกอบ
เตรียมสุวนประกอบ ทาสารบัญ
ทาสารบัญ
เตรียมสุวนประกอบตุาง ๆ
นิตยสารหนึ่งหน้าโดยทั่วไปจะประกอบด้วยข้อความและรูปภาพ สิ่ง
ที่ควรเตรียมเพื่อนามาจัดวางในแต่ละหน้า เช่น ข้อมูลเนื้อหา
ภาพประกอบ แผนภูมิ กราฟ อินโฟกราฟิก ฯลฯ ควรเตรียม
ส่วนประกอบให้ครบถ้วนเสียก่อนจึงเริ่มลงมือทา
นิตยสารหนึ่งหน้าโดยทั่วไปจะประกอบด้วยข้อความและรูปภาพ สิ่ง
ที่ควรเตรียมเพื่อนามาจัดวางในแต่ละหน้า เช่น ข้อมูลเนื้อหา
ภาพประกอบ แผนภูมิ กราฟ อินโฟกราฟิก ฯลฯ ควรเตรียม
ส่วนประกอบให้ครบถ้วนเสียก่อนจึงเริ่มลงมือทา
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
ปรับแตุง
ปรับแตุง
จัดวาง
จัดวาง
เตรียมสุวนประกอบ
เตรียมสุวนประกอบ ทาสารบัญ
ทาสารบัญ
จัดวางขูอความและภาพ
ก่อนเริ่มลงมือจัดวางข้อความและภาพในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ควรทาการร่างแบบหรือเลย์เอาท์ของหน้านั้นไว้ก่อน เพื่อดูความเหมาะสม
และเพื่อความสะดวกรวดเร็วของการทางาน
ก่อนเริ่มลงมือจัดวางข้อความและภาพในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ควรทาการร่างแบบหรือเลย์เอาท์ของหน้านั้นไว้ก่อน เพื่อดูความเหมาะสม
และเพื่อความสะดวกรวดเร็วของการทางาน
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
ปรับแตุง
ปรับแตุง
จัดวาง
จัดวาง
เตรียมสุวนประกอบ
เตรียมสุวนประกอบ ทาสารบัญ
ทาสารบัญ
ปรับแตุงนิตยสาร
เมื่อวางองค์ประกอบทั้งหมดของหน้านิตยสารแล้ว ต่อมาคือการ
ปรับแต่งส่วนต่าง ๆ ให้เหมาะสม เช่น ระยะห่างระหว่างบรรทัด การจัด
ย่อหน้า การใส่สีข้อความ การปรับสีภาพ การพิสูจน์อักษร เพื่อความ
สวยงามและความถูกต้อง
เมื่อวางองค์ประกอบทั้งหมดของหน้านิตยสารแล้ว ต่อมาคือการ
ปรับแต่งส่วนต่าง ๆ ให้เหมาะสม เช่น ระยะห่างระหว่างบรรทัด การจัด
ย่อหน้า การใส่สีข้อความ การปรับสีภาพ การพิสูจน์อักษร เพื่อความ
สวยงามและความถูกต้อง
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
ปรับแตุง
ปรับแตุง
จัดวาง
จัดวาง
เตรียมสุวนประกอบ
เตรียมสุวนประกอบ ทาสารบัญ
ทาสารบัญ
จัดทาสารบัญ
เมื่อจัดทาทุกหน้าของนิตยสารเรียบร้อยแล้ว ควรตรวจสอบความ
ถูกต้อง ให้เลขหน้า แล้วจัดทาสารบัญ เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้อ่าน
และเป็นการแนะให้ผู้ทราบว่าเนื้อหาในฉบับประกอบด้วยอะไรบ้าง
เมื่อจัดทาทุกหน้าของนิตยสารเรียบร้อยแล้ว ควรตรวจสอบความ
ถูกต้อง ให้เลขหน้า แล้วจัดทาสารบัญ เพื่อให้ความสะดวกแก่ผู้อ่าน
และเป็นการแนะให้ผู้ทราบว่าเนื้อหาในฉบับประกอบด้วยอะไรบ้าง
4. เทคนิคการออกแบบปก
Thu
Wed
Tue
Mon
Fri
เทคนิคการออกแบบหนูาปก
5
4
3
2
1 1. รับฟังข้อเสนอ
ทีมออกแบบสอบข้อมูลนิตยสาร ความต้องการของนักเขียนถึงสี
ฟอนต์ รูปแบบ ภาพลักษณ์ที่ต้องการ
1. รับฟังข้อเสนอ
ทีมออกแบบสอบข้อมูลนิตยสาร ความต้องการของนักเขียนถึงสี
ฟอนต์ รูปแบบ ภาพลักษณ์ที่ต้องการ
2. กลุ่มเป้าหมาย
รวบรวมข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายให้มากทึ่สุด เช่น เพศ อายุ อาชีพ
ไลฟ์สไตล์ ทักษะของผู้อ่าน
2. กลุ่มเป้าหมาย
รวบรวมข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายให้มากทึ่สุด เช่น เพศ อายุ อาชีพ
ไลฟ์สไตล์ ทักษะของผู้อ่าน
5
4
3
2
1
3. Research
รวบรวมข้อมูลให้มากที่สุด เพื่อให้แตกต่างจากนิตยสารเล่มอื่นใน
ตลาด วิเคราะห์บุคลิกภาพ เอกลักษณ์ของนิตยสาร ซึ่งการสืบค้นและ
รวบรวมข้อมูลเป็นจุดสาคัญในการออกแบบเพื่อให้หน้าปกดึงดูดใจผู้อ่านจน
ต้องหยิบมาอ่าน
3. Research
รวบรวมข้อมูลให้มากที่สุด เพื่อให้แตกต่างจากนิตยสารเล่มอื่นใน
ตลาด วิเคราะห์บุคลิกภาพ เอกลักษณ์ของนิตยสาร ซึ่งการสืบค้นและ
รวบรวมข้อมูลเป็นจุดสาคัญในการออกแบบเพื่อให้หน้าปกดึงดูดใจผู้อ่านจน
ต้องหยิบมาอ่าน
4. สื่อสารอะไร
กระบวนการนี้เป็นการถกความคิดเห็นว่านิตยสารฉบับนั้นต้องการ
สื่อสารอะไร พาดหัวจุดเด่นของฉบับควรใช้ข้อความใด ใช้ภาพแบบใด
เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ลงตัวที่สุด
4. สื่อสารอะไร
กระบวนการนี้เป็นการถกความคิดเห็นว่านิตยสารฉบับนั้นต้องการ
สื่อสารอะไร พาดหัวจุดเด่นของฉบับควรใช้ข้อความใด ใช้ภาพแบบใด
เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ลงตัวที่สุด
5
4
3
2
1
5. ยึดหลักทฤษฎีในการออกแบบ
คานึงถึงหลักการออกแบบต่าง ๆ เช่น ทฤษฎีสี ความสมดุล ความ
กลมกลืน ความแตกต่าง สัดส่วน จังหวะและความเคลื่อนไหว
5. ยึดหลักทฤษฎีในการออกแบบ
คานึงถึงหลักการออกแบบต่าง ๆ เช่น ทฤษฎีสี ความสมดุล ความ
กลมกลืน ความแตกต่าง สัดส่วน จังหวะและความเคลื่อนไหว
6. จินตนาการ
กระบวนการนี้ต้องใช้ประสบการณ์ของนักออกแบบ เพราะต้อง
เข้าใจระบบงานพิมพ์ หลักการสี เทคนิคการพิมพ์ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ
พิมพ์ทอง กดนูน กดจม วัสดุเคลือบปก การเข้าเล่ม กระดาษที่ใช้ในการ
พิมพ์ เพื่อสนับสนุนงานออกแบบของตน
6. จินตนาการ
กระบวนการนี้ต้องใช้ประสบการณ์ของนักออกแบบ เพราะต้อง
เข้าใจระบบงานพิมพ์ หลักการสี เทคนิคการพิมพ์ต่าง ๆ เช่น เทคนิคการ
พิมพ์ทอง กดนูน กดจม วัสดุเคลือบปก การเข้าเล่ม กระดาษที่ใช้ในการ
พิมพ์ เพื่อสนับสนุนงานออกแบบของตน
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
FLIP THE LAYOUT
ตัวอยุางเทคนิคการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
USE ONE-POINT
PERSPECTIVE
ตัวอยุางเทคนิคการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
CREATE A LASER CUT
COVER
ตัวอยุางเทคนิคการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
MERGE THE IMAGE
AND THE BACKGROUND
ตัวอยุางเทคนิคการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
Fri
Thu
Wed
Tue
Mon
USE A CHEEKY PHOTO
ตัวอยุางเทคนิคการออกแบบหนูาปกนิตยสาร
ดูตัวอย่างเพิ่มเติมได้ที่
https://khaodesign.com/50-เทคนิควิธีการออกแบบปก-magazin/
ANSWER THE QUESTIONS
4
3
2
1
5
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดจากใน
Google Classroom
รายวิชา การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ 2
RESOURCES
Thu
Wed
Tue
Mon
Fri
ข่าวดีไซน์. (2017). 50 เทคนิควิธีการออกแบบปก MAGAZINE ให้น่าสนใจ สืบค้นจาก https://khaodesign.com/50-เทคนิควิธีการออกแบบปก-
magazin/
พรลภัส พิบูลโภคาสมบัติ. (ม.ป.ป). กระบวนการผลิตวารสาร. สืบค้นจาก https://sites.google.com/a/kjwit.ac.th/ponlapass/
magazine/magazine-lesson2
___________. (ม.ป.ป). หลักการออกแบบวารสาร. สืบค้นจาก https://sites.google.com/a/kjwit.ac.th/ponlapass/magazine/magazine-
lesson3
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2563). 6 กระบวนการออกแบบปกหนังสือที่มีคุณภาพ สืบค้นจาก https://www.nupress.grad.nu.ac.th/
6-book-cover-design-process/
04-การออกแบบนิตยาสาร. (ม.ป.ป.) สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/hlakkarxxkbaebsingphimph/05-kar-xxkbaeb-nit-
ya-sar
สุพัฒตรา หีบแก้ว. (ม.ป.ป.) หลักการออกแบบเบื้องต้น. สืบค้นจาก https://pickguitar.kut.ac.th/%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B8%
9B%E0%B8%B0-%E0%B8%A1-4/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0
% B8 % A3 % E0 % B9 % 8 0 % E0 % B8 % A3 % E0 % B8 % A2 % E0 % B8 % 9 9 % E0 % B8 % A3 % E0 % B8 % 9 7 - 1 -
%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%B0/
%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%81%E
0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%99
Mr. Mee Studio. (2017). ออกแบบปกหนังสือยังไงให้น่าสนใจและน่าซื้อ สืบค้นจาก https://mrmeestudio.com/ออกแบบปกหนังสือยังไง/

More Related Content

What's hot

หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วันการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วันDr.Wasit Prombutr
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)Nat Thida
 
ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ต
ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA  มรภ.ภูเก็ตราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA  มรภ.ภูเก็ต
ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ตDrDanai Thienphut
 

What's hot (12)

Id plan
Id planId plan
Id plan
 
T7
T7T7
T7
 
1 7
1   71   7
1 7
 
Howto time
Howto timeHowto time
Howto time
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วันการบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล  2 วัน
การบริหารโครงการอย่างมีประสิทธิผล 2 วัน
 
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ (Mbo)
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
ใบงานคอม ที่ 2-8
ใบงานคอม ที่ 2-8ใบงานคอม ที่ 2-8
ใบงานคอม ที่ 2-8
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ต
ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA  มรภ.ภูเก็ตราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA  มรภ.ภูเก็ต
ราบงานกลุ่ม วิชาการพัฒนาองค์การ MBA มรภ.ภูเก็ต
 

Similar to Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร

แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานParichart Biw
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02Pimpaka Khampin
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมChanakarn Phophot
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSoldic Kalayanee
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมMintra Pudprom
 
โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์Kantisa Motalee
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 

Similar to Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร (20)

Ham
HamHam
Ham
 
Ham
HamHam
Ham
 
Ham
HamHam
Ham
 
Work30243 new58
Work30243 new58Work30243 new58
Work30243 new58
 
Ham
HamHam
Ham
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 
Work30243
Work30243Work30243
Work30243
 
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate022557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
2557 project02-30-141113102522-conversion-gate02
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 

More from Ploykarn Lamdual

หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdfPloykarn Lamdual
 
วิธีทำ Liveworksheets
วิธีทำ Liveworksheetsวิธีทำ Liveworksheets
วิธีทำ LiveworksheetsPloykarn Lamdual
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจ
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจบทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจ
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจPloykarn Lamdual
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์Ploykarn Lamdual
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยPloykarn Lamdual
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้Ploykarn Lamdual
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรม
LibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรมLibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรม
LibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรมPloykarn Lamdual
 
LibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือPloykarn Lamdual
 
LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้
LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้
LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือPloykarn Lamdual
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2Ploykarn Lamdual
 
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศLibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศPloykarn Lamdual
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศPloykarn Lamdual
 

More from Ploykarn Lamdual (20)

หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4  คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 4 คำวิเศษณ์ ป.4.pdf
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 1 คำนาม ป.4.pdf
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3  คำกริยา ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 คำกริยา ป.4.pdf
 
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdfหน่วยที่ 4 เรื่องที่  2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 คำสรรพนาม ป.4.pdf
 
วิธีทำ Liveworksheets
วิธีทำ Liveworksheetsวิธีทำ Liveworksheets
วิธีทำ Liveworksheets
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจ
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจบทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจ
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 งานธุรกิจ
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 การออกแบบงานประดิษฐ์
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วยบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประเภทของของชำร่วย
 
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
เอกสารประกอบการสอนงานประดิษฐ์ดอกไม้
 
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้  ม.2
ใบความรู้ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ม.2
 
LibJu - 4.2 cyberbullying
LibJu - 4.2 cyberbullyingLibJu - 4.2 cyberbullying
LibJu - 4.2 cyberbullying
 
LibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรม
LibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรมLibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรม
LibJu - 4.3 การเขียนบรรณานุกรม
 
LibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.3 ทบทวนบทที่ 3 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
 
LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้
LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้
LibJu - 3.2 ระบบทศนิยมดิวอี้
 
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือLibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
LibJu - 3.1 จัดหมวดหมู่ตู้หนังสือ
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 2
 
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศLibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
LibJu - 2.2 การประเมินค่าสารสนเทศ
 
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศLibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
LibJu - 2.3 แหล่งสารสนเทศ
 
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศLibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
LibJu - 2.1 ทรัพยากรสารสนเทศ
 

Printing - กระบวนการการผลิตวารสาร