SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ครั้งที่ 4
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 การแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาชุมชนถือเป็นบทบาทที่สาคัญอย่างยิ่งขององค์กน
พัฒนาเอกชน อย่างไรก็ตาม การจัดทาแนวทางการแก้ไขหรือพัฒนาชุมชนของ
องค์กรพัฒนาเอกชนดังกล่าว คือการกาหนดแนวทางหรือการกาหนดรูปแบบ
การปฏิบัติการเพื่อการลด หรือแก้ไขปัญหาให้แก่ชุมชน ซึ่งการที่องค์กรพัฒนา
เอกชนสามารถปฏิบัติตามแนวทางให้เกิดประสิทธิผล จาเป็นต้องพิจารณา
ลักษณะของบริบทแวดล้อมของชุมชนที่แตกต่างกัน เพื่อทาให้เกิดความ
สอดคล้องเหมาะสมและเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ชุมชน
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
แผนงาน
ตัวบ่งชี้
ความต้องการของชุมชน การลดปัญหาของชุมชน
และความสามารถในการให้บริการเพื่อให้ประชาชนได้ประโยชน์
สูงสุด
แนวทางปฏิบัติ
การประเมินความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย การ
พิจารณาแผนงานเพื่อการสนองตอบตรงตามความต้องของ
กลุ่มเป้ าหมาย การผสมผสานแนวทางใหม่ ๆ ไว้ในแผนงาน รวมถึง
การสร้างศักยภาพของบุคลากรให้เกิดความพร้อมและมีทักษะ
สอดคล้องการแนวทางดังกล่าว ด้วยการฝึกอบรมตามแนวทางที่
กาหนดขึ้นในแผนงานข้างต้น
การจัดการ
ตัวบ่งชี้
การจัดการไม่ได้หมายถึงการสร้างสรรค์วิธีการใหม่
ๆ เพื่อสนองต่อภารกิจหรือวิธีการปฏิบัติขององค์กร
แนวทางปฏิบัติ
การขอคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญภายนอก เพื่อ
ก่อให้เกิดทางเลือกที่ดีที่สุดและทาให้เกิดมุมมองต่อการกาหนด
วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงภาวะผู้นาอาจเป็นที่จะ
ทาให้เกิดความเหมาะสมสอดคล้อง
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
บุคลากร
ตัวบ่งชี้
ไม่มีการแข่งขันและการแย่งชิงผลประโยชน์ใน
หน้าที่การทางาน
แนวทางปฏิบัติ
การพิจารณาในการรื้อปรับโครงสร้างองค์กร
โครงสร้างบุคลากร เช่น การจัดสรรหน้าที่รับผิดชอบ การ
จัดการฝึกอบรม
ผู้บริหาร
ตัวบ่งชี้
ผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน ประชุมร่วมกัน
ในประเด็นปัญหาเดิมๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อการแสวงหาแนวทาง
ใหม่ๆ สาหรับเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา
แนวทางปฏิบัติ
มีความมุ่งมั่นในอุดมการณ์ในการหาแนว
ทางแก้ไขปัญหาชุมชน โดยร่วมกันนาเสนอแนวทางใหม่ๆ
การหาแนวร่วมที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญ มีการจัด
โครงสร้างของคณะผู้บริหารเพื่อความสอดคล้องเหมาะสมต่อ
การจัดทาแผน โครงการและกิจกรรมในการดาเนินงานตาม
เป้ าหมาย
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ระบบ
ตัวบ่งชี้
ไม่ใช้ระบบการที่ซับซ้อน ยุ่งยาก
สับสน และล้าสมัย
แนวทางปฏิบัติ
ทบทวนความต้องการระบบ การ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี แผนงาน การจัดการ
และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งอาจต้องใช้ความ
เชี่ยวชาญของที่ปรึกษาภายนอก
การระดมทุน
ตัวบ่งชี้
องค์กรพัฒนาชุมชนสามารถริเริ่ม
กิจกรรม ใหม่ ๆ และสามารถกาหนดกรอบของ
แผนงานให้ดึงดูดความสนใจและสอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้สนับสนุนเงินทุน
แนวทางปฏิบัติ
มีการชี้แจงในประเด็นการปฏิบัติ
แผนงานเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่
สมาชิกซึ่งเป็นคณะกรรมการบริหาร
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
การจัดการการเงิน
ตัวบ่งชี้
วางแนวทางแก้ไขปัญหากระแสเงิน
สด มีการคาดคะเนการจานวนงบประมาณที่จะ
นามาดาเนินการโครงการรวมทั้ง แนวทางในการ
ป้ องกันการขาดดุลในระยะยาว
แนวทางปฏิบัติ
ตัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นออก มีการ
พัฒนาแผนงานเพื่อสรรค์หาแหล่งเงินทุนใหม่ ๆ
การสื่อสารภายในองค์กร
ตัวบ่งชี้
การเอาใจใส่ต่อความรู้ สึก การ
แสดงความเห็นที่สาคัญต่อกระบวนการตัดสินใจ
แนวทางปฏิบัติ
จัดทานโยบายการปฏิบัติงานซึ่ง
แสดงวิธีการที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรในระดับ
ปฏิบัติ และสร้างโอกาสที่จะทาให้บุคลากรใน
ระดับปฏิบัติการทางานและเข้าไปมีส่วนร่วมกับ
บุคลากรในระดับบริหาร
ตารางที่ 4.1 (ต่อ)
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ความสัมพันธ์ภายนอก
ตัวบ่งชี้
ลดปัญหาด้านชื่อเสียงขององค์กร
ที่มีความสับสนต่อบุคคลภายนอก เกี่ยวกับ
ภารกิจและแผนงาน
แนวทางปฏิบัติ
จัดทาเอกสารแจงเงินทุนและ
องค์ประกอบ อื่น ๆ รวมทั้งความคืบหน้ของ
โครงการ การปรับเปลี่ยนเป้ าหมายและ
แผนงาน เพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าการปฏิบัติ
ตามภาระกิจและหน้าที่ดังกล่าวจะประสบ
สาเร็จ
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 การสร้างขีดความสามารถ (Capacity Building)
 สิ่งสาคัญต่อองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร คือ การสร้างขีดความสามารถเพื่อทาให้เกิด
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเชิงเป้าหมาย ทั้งขีดความสามารถในการดาเนินงานและขีด
ความสามารถในการที่จะได้รับการสนับสนุนจากองค์กรทางการเงิน เพื่อนาไปใช้ให้ก่อ
ประโยชน์ต่อสาธารณะและต่อองค์กรภาคีอื่น ๆ
 รูปแบบขององค์กรพัฒนาเอกชนหรือองค์กรที่ไม่หวังผลกาไรอาจจะขอความสนับสนุนจาก
องค์กรภาคีซึ่งอยู่ในรูปแบบของ สมาคม ศูนย์ฝึกอบรม องค์กรที่ปรึกษา ฯลฯ ซึ่งให้บริการ
โดยไม่หวังผลกาไรเช่นกัน ดังนั้น จึงมีคาจากัดความของคาว่า การสร้างขีดความสามารถที่
หลากหลาย ความหมายของคาว่าการสร้างความสามารถ บนพื้นฐานแนวคิดข้างต้นก็คือ "
การกระทาที่ไม่แสวงหาผลกาไร และการปรับปรุงประสิทธิภาพของการดาเนินงานให้ประสบ
ผลสาเร็จ " ในแนวคิดอื่น ๆ เสนอว่า การสร้างขีดความสามารถหมายถึง แนวความคิดการ
กระทาที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการทางานขององค์กรที่ไม่หวังผลกาไร และเพื่อสร้างขีด
ความสามารถที่มีต่อการปฏิบัติภารกิจของตน
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 แนวคิดของการสร้างขีดความสามารถขององค์กรที่ไม่หวังผลกาไร ในบางรูปแบบจะมีลักษณะคล้ายกับ
แนวคิดการสร้างขีดความสามารถ หรือการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กรและ / หรือการจัดการ
ประสิทธิภาพในองค์กรที่หวังผลกาไรหรือองค์กรธุรกิจ นอกจากนั้น ยังหมายถึงความพยายามในการสร้าง
ขีดความสามารถในการรวบรวมความหลากหลายของวิธีการจัดการเข้าไว้ด้วยกัน เช่น การสร้างขีด
ความสามารถในการจัดการเงินทุนเพื่อการดาเนินงานกองทุนพัฒนาไปพร้อม ๆ กับความขีดสามารถในการ
จัดการให้การฝึกอบรมและการพัฒนาการประชุม การฝึกอบรมเพื่อให้การสนับสนุนการทางานร่วมกันกับ
องค์กรที่ไม่หวังผลกาไรอื่น ๆ
 ลักษณะเด่นของวิธีการของการจัดการประสิทธิภาพในองค์กรที่หวังผลกาไรหรือองค์กรธุรกิจ สามารถ
นามาใช้กับการสร้างขีดความสามารถต่อองค์กรพัฒนาเอกชนได้เป็นอย่างดี เช่น การรักษาดุลยภาพของ
องค์กรด้วยวิธีการจากแนวคิดและหลักการการเปลี่ยนแปลงองค์กร การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการ
เรียนรู้ขององค์กร ฯลฯ ดังนั้น แนวคิดของการสร้างขีดความสามารถขององค์กรที่ไม่หวังผลกาไรจึงได้นา
แนวคิดการจัดองค์การและการบริหารองค์การมาใช้ในการดาเนินงาน เช่น แนวคิด POSDCoRB
แนวคิดด้านบทบาทของผู้บริหาร (CEO) ในการวางแผนและการบริหารแผนและโครงการ แนวคิดด้าน
การตลาด การเงินและการประเมินผล เป็นต้น นอกจากนั้น แนวคิดที่จะต้องสร้างให้เกิดความสามารถอีก
ประการหนึ่งคือ ความสามารถในการระดมทุน แนวคิดที่จะนาไปสู่ความมีประสิทธิภาพในการดาเนินงานอีก
ประการหนึ่งคือ แนวคิดใน การจัดการประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ซึ่งจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ
บริหารงานด้านคนซึ่งหลักการบริหารประสิทธิภาพได้แก่
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 1) บุคลากรหรือสมาชิกขององค์กรจาเป็นต้องมีความรู้ในการปฏิบัติงาน ภายในองค์กร
ตั้งแต่ระดับพื้นฐาน จนระดับของประยุกต์ความรู้ดังกล่าวไปใช้งานที่ตนเองรับผิดชอบ
 2) ผู้บริหารต้องมอบหมายงานหรือหน้าที่ความรับผิดชอบแก่บุคลากรหรือสมาชิก
องค์กรให้สอดคล้อง ต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร
 3) ผู้บริหารและบุคลากรหรือสมาชิกองค์กรมีความรู้ถึงกลวิธีใด ๆ ที่จะช่วยให้งานเกิด
ความสาเร็จได้เป็นอย่างดีและเป็นรูปธรรม
 4) ผู้บริหารและบุคลากรหรือสมาชิกองค์กรมีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการทางาน
ร่วมกันอย่างยั่งยืน ตลอดจนมีการพัฒนาประสิทธิภาพในการทางานของตนเองให้สูงขึ้น
 5) มีระบบวัดประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากรหรือสมาชิกรวมถึงคณะผู้บริหาร
องค์กรทุกคน
 6) ผู้บริหารมีความสามารถในการระบุถึงอุปสรรคที่ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทางาน
ลดลง และสามารถร่วมกับสมาชิกองค์กรแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 สิ่งที่จาเป็นอีกประการหนึ่งคือ การวางกรอบเพื่อการดาเนินงานเพื่อให้เกิดการ
เรียนรู้ในองค์กร การเรียนรู้ของผู้เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และชุมชน
ร่วมกัน ดังกรณีตัวอย่างขององค์กรพัฒนาเอกชน มูลนิธิรักษ์ไทย ได้จัดทาคู่มือ
ส่งเสริมการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่
เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อเป็นคู่มือในการปฏิบัติงานของทั้ง
ผู้บริหาร สมาชิกหรือบุคลากรขององค์กร และผู้เกี่ยวข้องผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
รวมทั้งประชาชนในชุมชนซึ่งคู่มือดังกล่าวกาหนดกรอบการนาคู่มือดังกล่าวไปใช้
ในหลายระดับดังนี้
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 1) ผู้จัดการโครงการและเจ้าหน้าที่ภาคสนาม ได้แก่ เจ้าหน้าที่โครงการที่ปฏิบัติงานในโครงการพัฒนาอาชีพ
หรือโครงการชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จะพบว่าคู่มือส่งเสริมนี้มีแนวทางการทางานที่มี
ประโยชน์ด้านวิธีเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลจากมุมมองของชุมชน ของหน่วยงานรัฐ และในมุมมองเชิง
วิทยาศาสตร์ ข้อมูลเหล่านี้สามารถนาไปใช้ในการออกแบบกิจกรรมชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศที่เหมาะสมกับท้องถิ่น
 2) องค์กรภาคีในท้องถิ่น ทั้งหน่วยงานรัฐและองค์กรพัฒนาอกชน ทั้งนี้ เครื่องมือและกระบวนการต่าง ๆ ใน
คู่มือส่งเสริมจะถูกออกแบบมาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย นาไปประยุกต์ใช้และขยายผล หน่วยงานรัฐ
องค์กรพัฒนาเอกชนในท้องถิ่น สามารถนาวิธีการ CVCA (ClimateVulnerability and
Capacity Analysis) ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการบูรณาการประเด็นความเปราะบาง และ การ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เข้าไว้ในการวางแผนและในโครงการต่างๆ ของหน่วยงานและองค์กร
นั้น ๆ
 3) ชุมชนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆ ในคู่มือส่งเสริมนี้ เพื่อสนับสนุนกระบวนการศึกษาและการ
เรียนรู้ของชุมชน และนาผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ในการวางแผนการทากิจกรรมร่วมกันด้านการปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรือ กิจกรรมรณรงค์กับหน่วยราชการในท้องถิ่นหรือองค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อ
กระตุ้นให้เกิดการดาเนินการที่เหมะสมที่สนับสนุนความพยายามของพวกเขาในการปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การกาหนดกรอบของ CVCA เพื่อการเพื่อสร้างขีดความสามารถดังกล่าว ถือเป็น
นวัตกรรมของวิธีการดาเนินงานหรือกระบวนการในการบริหารจัดการขององค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งสามารถ
สร้างการมีส่วนร่วมในรูปแบบอื่น ๆ
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 กรณีศึกษา
 1) กระบวนการ CVCA มีการวิเคราะห์ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างจริงจัง ทั้งนี้
เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ภาวะโลกร้อนจะมีผลต่อชีวิตและวิถีชีวิตของกลุ่ม
ประชากรเป้าหมายอย่างไร โดยพิจารณาข้อมูลทุกด้านอย่างละเอียด อาทิ ภัยพิบัติชนิดต่างๆ
จุดเปราะบางทั้งหลายที่มีความเสี่ยงต่อภาวะโลกร้อน และขีดความสามารถในการปรับตัวจาก
ภาวะโลกร้อน โดยหวังว่ากระบวนการนี้จะมีส่วนช่วยเสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนใน
การฟื้นตัว การปรับตัวสาหรับอนาคต เครื่องมือวิเคราะห์หลายชนิดที่แนะนาไว้ เป็นเครื่องมือ
สาหรับการเรียนรู้เพื่อการปฏิบัติงานแบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning
forAction หรือ PLA) ที่สามารถนาไปทดลองใช้และได้ผลจริง แต่ต้องพิจารณาด้วย
“เลนส์” ด้านภูมิอากาศ หรือ มุ่งเน้นที่ประเด็นภูมิอากาศโดยละเอียดทุกซอกทุกมุม เครื่องมือ
เหล่านี้มีไว้ใช้สาหรับดึงประเด็นปัญหาต่างๆ ออกมา จากนั้นจึงนามาพิจารณาและอภิปรายกัน
โดยละเอียดในบริบทของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยมีการกากับการอภิปรายให้อยู่ใน
กรอบที่วางไว้
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 กรณีศึกษา
 2) รวบรวมวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดที่ได้จากการวิเคราะห์รูปแบบต่างๆ ที่ทากันสาหรับโครงการพัฒนา
หลากหลายโครงการที่ส่วนใหญ่มุ่งเน้นด้านสภาพความยากจนและจุดเปราะบางที่มีความเสี่ยงและ
นามาใช้ร่วมกับวิธีปฏิบัติที่ดีที่ได้จากการวิเคราะห์ที่ทากันภายในบริบทของการลดความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ
ซึ่งมุ่งเน้นด้านภัยอันตรายกรอบของวิธีการ CVCA จะเอื้ออานวยต่อการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่ได้
จากการประเมินทั้ง 2 ประเภทนั้น เป็นการวิเคราะห์ในมุมมองของภาวะโลกร้อน โดยจะศึกษา
รายละเอียดทั้งทางด้านภัยอันตรายและทางด้านเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง แล้วจึงวิเคราะห์
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างภัยอันตรายและเงื่อนไขเหล่านั้น
 3. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วยเสียหลายฝ่าย การเรียนรู้ร่วมกัน และการพูดคุยกัน: ขณะที่
วัตถุประสงค์หลักของวิธีการ CVCA คือการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร กระบวนการ CVCA ก็ยังถูก
ออกแบบมาให้มีความสมดุลระหว่างกระบวนการวิจัยและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งการ พูดคุย
กันในหมู่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น วิธีนี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจกันภายในชุมชนมากขึ้น ในเรื่องที่
เกี่ยวกับทรัพยากรต่าง ๆ ที่พวกเขาสามารถนาไปใช้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานลดผลกระทบจากภาวะ
โลกร้อน CVCA ยังช่วยส่งเสริมให้เกิดการพูดคุยกันในหมู่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลาย ๆ ฝ่าย เกี่ยวกับ
การดาเนินการต่าง ๆ ที่เหมาะสมสาหรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 กรณีศึกษา
 4. เน้นชุมชนแต่พิจารณาสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออานวยอย่างละเอียดด้วย: ความเปราะบางที่
มีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือภาวะโลกร้อนนั้นจะผันแปรไป ทั้ง
ภายในประเทศ ภายในชุมชน และแม้แต่ภายในครัวเรือน เพราะฉะนั้น การดาเนินการ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จึงต้องมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทนั้น ๆ
โดยเฉพาะ อีกทั้งยังต้องมียุทธศาสตร์ในการดาเนินงานที่สามารถตอบสนองความต้องการ
ของกลุ่มต่างๆ ที่มีความเปราะบางด้วย ขณะเดียวกันนโยบายและสถาบันต่างๆ ทั้งใน
ระดับชาติและระดับท้องถิ่น ก็จะมีบทบาทสาคัญในการเสริมสร้างขีดความสามารถของคนใน
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ดังนั้น กระบวนการ CVCA จึงมุ่งเน้นที่ระดับ
ชุมชน ขณะเดียวกันก็ได้ผนวกการวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ของระดับภูมิภาคและระดับชาติ
ไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการชุมชนปรับตัวต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA)
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 การสร้างกรอบการดาเนินงานแก่ชุมชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ทั้งในระดับ
ครัวเรือน และชุมชนในกรณีศึกษานี้ คือ การเพิ่มขีดความสามารถในการ
ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ โอกาสในการเข้าถึงและควบคุม
ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางสังคม ทรัพยากรทาง
กายภาพและโครงสร้างพื้นฐาน และทรัพยากรทางเศรษฐกิจของชุมชนและ
ประชาชนในชุมชน
 ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีความสาคัญต่อการเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคคล
ครัวเรือน และ ชุมชน ในการปรับตัวและการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 ทรัพยากรต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อการเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคคล
ครัวเรือน และ ชุมชน
ทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ด้านความเสี่ยงต่อภูมิอากาศ ทักษะการเกษตรเชิงอนุรักษ์ สุขภาพแข็งแรงสามารถ
ทางานได้
ทรัพยากรทางสังคม กลุ่มสตรีออมทรัพย์และสินเชื่อ องค์กรชาวนา
ทรัพยากรทางกายภาพ โครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทาน อาคารสถานที่เก็บกักผลิตผลธัญพืชและเมล็ดพันธ์
ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งน้าที่เชื่อใจได้ ผืนแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์
ทรัพยากรทางการเงิน การประกันภัยขนาดเล็ก แหล่งรายได้ที่หลากหลาย
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 นอกจากการเพิ่มขีดความสามารถของบุคคล ครัวเรือน และ ชุมชนจากปัจจัยด้านทรัพยากรแล้ว การเพิ่มขีด
ความสามารถในส่วนต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กรพัฒนาเอกชน ได้แก่ (มูลนิธิรักษ์ไทย, 2554)
 1) วางแผนอย่างรอบครอบ
 1.1) หาข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของชุมชนก่อนลงปฏิบัติการในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย ต้องมีความรู้เกี่ยวกับชุมชนหรือ
ประวัติความเป็นมาของกลุ่มคนในชุมชน ความขัดแย้งในอดีตและในปัจจุบัน และพลวัตของอานาจในชุมชนที่อาจมีความสาคัญ
ต่อการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายกลุ่มย่อย หรือต่อการอานวยกระบวนการพูดคุย
 1.2) เตรียมวาระ/หรือหัวข้อเรื่องที่จะเข้าไปพูดคุยกับชุมชน ต้องให้แน่ใจว่าวาระที่เตรียมไปนั้น ผู้เข้าร่วมจะสามารถพูดคุย
ได้ตามสบาย ไม่ต้องถูกเร่งรัด แต่ก็ครอบคลุมทุกประเด็นภายในเวลาที่กาหนดไว้
 1.3) หากเป็นไปได้หาข้อมูลไปล่วงหน้าเกี่ยวกับระดับความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจะได้
วางแผนจัดกิจกรรมให้เหมาะสม
 1.4) จัดสรรเวลา สาหรับการชี้แจงรายละเอียด การไต่ถามข้อสงสัยของผู้เข้าร่วม การตอบข้อสงสัย การอภิปรายประเด็น
ต่าง ๆ และ “ช่วงเวลาของการเรียนรู้”
 1.5) ต้องคานึงอยู่ตลอดเวลาว่าประชาชนในชุมชนจะไม่มีเวลาว่าง เนื่องจากการใช้เวลาของประชาชนในชุมชนในการ
ประกอบอาชีพเลี้ยงปากท้อง ดังนั้น การเข้าพบปะจะต้องใช้เวลาสั้น ๆ เพื่อไม่ให้เกิดการเสียเวลาในการประกอบอาชีพ โดย
จะต้องจัดการเข้าเยี่ยมให้กระจายออกไป เพื่อไม่ให้กระทบต่อการทางานตามปกติของคนในชุมชน
 1.6) วางแผนเรื่องการจัดบริการ อาหาร เครื่องดื่ม ในกรณีที่เหมาะสม
 1.7) ตัดสินใจเลือกกลุ่มย่อย
 1.8) วิทยากรกระบวนการสามารถทาหน้าที่ได้โดยใช้ภาษาท้องถิ่น
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 2) แสวงหาการสนับสนุนจากผู้นาชุมชน
 2.1) อธิบายจุดประสงค์ของการเข้ามาทางานในพื้นที่ และขออนุญาตผู้นาชุมชน
 2.2) สิ่งหนึ่งที่อาจเป็นประโยชน์คือ การจัดการประชุมเตรียมการที่เชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ
ในท้องถิ่น ได้แก่ ผู้นาชุมชน ผู้แทนหน่วยราชการในท้องถิ่น องค์กรชุมชนและองค์กรท้องถิ่นอื่น ๆ มารับฟัง
การชี้แจงเกี่ยวกับแนวทางของโครงการ ที่จะเข้ามาดาเนินการในพื้นที่และประโยชน์ของโครงการนี้ แล้ว
ร่วมกันกาหนดเวลาการเข้าเยี่ยมชุมชน
 2.3) พิจารณาทบทวนวาระการเข้าเยี่ยมชุมชนกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ เพื่อชี้แจงเกี่ยวกับ
จุดประสงค์ เวลาที่ต้องใช้ สถานที่สาหรับการพูดคุย (โดยจะต้องดูให้แน่ใจว่า เป็นสถานที่ที่เหมาะสมที่เข้าถึง
ได้ง่าย ที่ผู้หญิงสบายใจที่จะพูดคุย หรือที่สมาชิกชุมชนคนอื่นๆ ที่เป็นบุคคลทุพลภาพบางส่วน ไม่สามารถ
เคลื่อนไหวได้สมบูรณ์ตามปกติ สามารถเข้าถึงได้สะดวก)
 2.4) ทาความตกลงกันเรื่องกลุ่มย่อย ถ้ามีวิทยากรกระบวนการ/ผู้ดาเนินระบวนการจานวนมากพอ ควร
จัดทาการสัมภาษณ์/การพูดคุยกลุ่มย่อยที่อยู่ในชุมชนเดียวกันในเวลาเดียวกัน จะช่วยได้มาก ทั้งนี้ เพื่อให้
ผู้เข้าร่วมพูดคุยในกลุ่มต่างๆ พูดได้อย่างเปิดเผย โดยไม่ต้องกังวลว่ากลุ่มอื่นจะได้ยิน
 2.5) กาหนดวิธีการสื่อสารข้อมูลที่ได้จากการอภิปราย/พูดคุยในกลุ่มย่อยกับผู้เข้าร่วม
 2.6) แนะนาวิทยากรกระบวนการกับชุมชน
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 3. การเตรียมความพร้อม
 3.1) ทาให้แน่ใจว่าทุกคนที่อยู่ในทีมวิเคราะห์ เห็นชอบกับวัตถุประสงค์ของการเข้าเยี่ยมชุมชน
 3.2) วิทยากรกระบวนการทุกคนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีเกี่ยวกับวิธีการและวิธีใช้
เครื่อง
 ต่าง ๆ ก่อนเข้าไปปฏิบัติงานในชุมชน อ
 3.3) หากการทางานของวิทยากรกรกระบวนการมีลักษณะการทางานเป็นทีม จะต้องกาหนดหน้าที่
ให้ชัดเจนว่า ใครจะเป็นคนดาเนินกระบวนการในส่วนไหนของวาระและใครเป็นคนจดบันทึก
 3.4) ทีมวิทยากรกระบวนการควรมีทั้งผู้หญิงและผู้ชาย และควรได้รับการฝึกอบรมด้านการเป็น
วิทยากรกระบวนการที่คานึงถึงความอ่อนไหวของประเด็นบทบาทหญิง – ชาย ในบางกรณี การให้
วิทยากรหญิงเป็นผู้ดาเนินกระบวนการพูดคุยกับกลุ่มผู้หญิงก็เป็นเรื่องสาคัญที่ต้องพิจารณา เพื่อให้
สมาชิกกลุ่มรู้สึกสบายใจขึ้น
 3.5) ทาความตกลงกับวิทยากรที่จะเป็นผู้ดาเนินกระบวนการร่วมกันว่า จะอธิบายแนวคิดต่าง ๆ
อย่างไรในภาษาท้องถิ่น เช่น ภัยอันตราย ทรัพยากรสาหรับการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพ ฯลฯ
ควรระลึกไว้ว่า แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนั้น อาจเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจได้ คนใน
ชุมชนอาจจะสามารถพูดคุยเกี่ยวกับฤดูกาล อากาศ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ได้ง่ายกว่า
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 4) ความพร้อมที่จะรับมือกับความขัดแย้ง
 4.1) กระบวนการพูดคุยอาจดึงให้ประเด็นปัญหาความไม่เสมอภาคขึ้นมา ซึ่งอาจมีความ
จาเป็นต้องแก้ไขเพื่อลดความเปราะบางประเด็นดังกล่าว วิทยากรจะต้องนากระบวนการ
พูดคุยให้ก้าวต่อไปอย่างระมัดระวัง เพราะโดยทั่วไปแล้ว จะมีกลุ่มคนที่มีภาวะผู้นาและสา
มารครอบงาทางความคิดในระดับต่าง ๆ อยู่ภายในชุมชน หรือระหว่างชุมชนและกลุ่มอื่น ๆ
 4.2) การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการคลี่คลายความขัดแย้ง ซึ่งจะช่วยให้
วิทยากรสามารถจัดการกระบวนการอภิปรายพูดคุยให้ผ่านไปได้อย่างสร้างสรรค์ หากเกิด
ความขัดแย้งใด ๆ ในระหว่างการพูดคุย
 4.3) การดึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลาย ๆ ฝ่ายเข้ามาเกี่ยวข้องในกระบวนการเก็บรวบรวม
และวิเคราะห์ข้อมูลจะช่วยลดปัญหาความขัดแย้งลงได้
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 5) สื่อและอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องมี ได้แก่ กระดาษนิวส์พรินต์ ปากกาเมจิก เส้น
หนา-ใหญ่ สีต่างๆ กระดาษสี เทปกระดาษกาว วัสดุในท้องถิ่น เช่น ก้อนหิน
แท่งไม้เมล็ดพันธุ์พืช ฯลฯ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล (อุปกรณ์บันทึกเสียง) กล้อง
ถ่ายรูปเพื่อบันทึกภาพกระบวนการดาเนินการและการพูดคุย (ต้องพูดคุยให้
แน่ใจว่าไม่ขัดต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น) สมุดบันทึก และคลิปบอร์ดสาหรับจด
บันทึก อาหารว่าง/อาหารเที่ยง/น้าและเครื่องดื่ม (ขึ้นอยู่กับการประชุมใช้เวลา
และสถานที่)
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 6) บริหารจัดการความคาดหวัง
 6.1) การบริหารจัดการความคาดหวังของชุมชนระหว่างที่เข้ามาทางานในพื้นที่นั้น
เป็นเรื่องสาคัญ ชุมชนต่าง ๆ มักถูก “ประเมิน” มาหลายครั้งแล้วสาหรับโครงการต่างๆ
จึงอาจคาดหวังว่า การดาเนินการในพื้นที่ครั้งนี้จะทาให้เกิดโครงงานหรือโครงการใด
โครงการหนึ่งสาหรับชุมชน
 6.2 วิทยากรกระบวนการควรจะต้องตระหนักให้ดีในเรื่องดังกล่าว เพราะเป็นสิ่งที่
อาจจะมีอิทธิพลต่อประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาระหว่างอภิปราย เพื่อที่จะได้จัดการให้
แน่ใจว่าจะไม่ไปสร้างความหวังให้แก่ชุมชนว่าจะมีโครงการต่าง ๆ ตามมา
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 7) สร้างความรู้สึก “ปลอดภัย” และเชื่อใจกัน และการดารงรักษาสิ่งดังกล่าวไว้
 7.1) ทาให้สมาชิกชุมชนหรือผู้แทนในท้องถิ่นที่คนในชุมชนให้ความเชื่อใจเป็นผู้แนะนาทีม
วิเคราะห์
 7.2) แสดงมารยาทที่ดีและต้อนรับทุกคนด้วยความยินดี
 7.3) ให้โอกาสทุกคนแนะนาตนเอง
 7.4) ขออนุญาตเมื่อต้องการจะถ่ายรูปหรือถ่ายวีดีโอ และหลีกเลี่ยงการบันทึกภาพ ถ้าผู้เข้าร่วม
กิจกรรมรู้สึกอึดอัด
 7.6) จัดเครื่องดื่ม น้าชา - กาแฟไว้บริการ ถ้าเหมาะสม
 7.7) เห็นคุณค่าของความรู้และประสบการณของผู้เข้าร่วม
 7.8) ขัดจังหวะทันทีเมื่อเห็นว่าสิ่งที่กาลังอภิปรายนั้น เป็นการ “โจมตีกันและกัน”
 7.9) ยอมรับความผิดพลาดของตนและแก้ไขให้ถูกต้อง
 7.10) ทาตัวเป็นกลาง
 7.11) ให้เวลาผู้เข้าร่วมได้ซักถามข้อสงสัย
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 8) สร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้นอย่างมีชีวิตชีวาและสมดุล
 8.1) ทาให้แน่ใจว่าสถานที่ที่ใช้สาหรับการพูดคุยกลุ่มย่อยนั้น เหมาะสมกับการเข้ามาร่วม
กิจกรรม
 8.2) วางกฏกติการ่วมกับผู้เข้าร่วมการอภิปรายกลุ่มย่อย
 8.3) อธิบายกระบวนการอภิปรายกลุ่มย่อยและตรวจสอบให้แน่ใจว่าทุกคนเข้าใจคาสั่งและ
คาถาม
 8.4) กระตุ้นและให้กาลังใจกับผู้เข้าร่วมที่ยังไม่กล้าแสดงออก และจัดการอย่างสุภาพเพื่อหยุด
บุคคลที่แสดงความคิดและพูดคุยมากเกินไปหรือแสดงตนเป็น “ผู้เชี่ยวชาญ”
 8.5) หาทางให้ผู้เข้าร่วมเป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม (เช่น สร้างจัดทาแผนที่ด้วย
ตนเอง รวมทั้งการจัดทาสัญลักษณ์ในตาราง
 8.6) ให้โอกาสผู้มีส่วนร่วมได้ร่วมหยิบยกประเด็นที่พวกเขาสนใจหรือสงสัยขึ้นมาพูดคุยกัน
วิทยากรมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการพูดคุยไม่ให้ออกนอกประเด็นและต้องจัดการให้แน่ใจว่า การ
พูดคุยคืบหน้าไปโดยเร็วพอที่จะครอบคลุมสาระที่จาเป็นภายในเวลาที่จัดสรรไว้
 8.7) หากการอภิปรายคืบหน้า ต้องป้อนคาถามจานวนมากและต้องพยายามไม่ให้เป็นการชักนา
ผู้เข้าร่วมอภิปราย
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 9) การจบการอภิปราย
 9.1) อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการขั้นต่อไป
 9.2) กาหนดวันเวลาที่จะกลับมาเยี่ยมชุมชนเพื่อตรวจสอบและยืนยันความถูกต้อง
ของการวิเคราะห์
 9.3) กล่าวขอบคุณทุกคนในกลุ่มที่มาร่วมพูดคุย และให้โอกาสไต่ถามข้อสงสัยแก่
ผู้เข้าร่วมอภิปราย
 9.4) ถ้าผู้ร่วมอภิปรายต้องการจะเก็บผลงานจากการอภิปรายกลุ่มย่อย (เช่น แผน
ที่) วิทยากรควรทาฉบับสาเนาสาหรับตนเอง และให้ผู้เข้าร่วมเก็บต้นฉบับไว้
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 กรณีศึกษาจากคู่มือการสร้างขีดความสามารถขององค์กรพัฒนาเอกชน ทาให้
เห็นว่า การสร้างขีดความสามารถดังกล่าว จาเป็นต้องกระทาไปพร้อม ๆ กับ
การสร้างขีดความสามารถให้แก่ภาคสาธารณะ และความสามารถดังกล่าว
หน่วยงานภาคี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์กรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ ที่เข้าร่วม
โครงการ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ดังนั้น การ
กาหนดกรอบของวัตถุประสงค์ และเป้าหมายอันเป็นส่วนหนึ่งแผน นอกจากจะ
เป็นสิ่งรองรับของแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ยังเป็นสิ่งที่เป็นผลจาก
การปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าวด้วย
แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 สรุป
 ถือได้ว่า แนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน คือสิ่งที่สนองตอบต่อ
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย รวมถึง การสนองตอบความต้องการของผู้มีส่วน
ได้ส่วนเสียได้เป็นอย่างดี ซึ่งการสนองตอบดังกล่าวจะทาให้เกิดความชัดเจนของ
กิจกรรมและผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น นาไปสู่การได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย รวมทั้ง
ชุมชน โดยเฉพาะผู้สนับสนุนด้านทุนและทรัพยากร
 สิ่งดังกล่าว ทาให้ต้องนาวิธีการที่หลากหลายในการบริหารจัดการ มาประยุกต์และเข้า
สู่กระบวนเรียนรู้ตลอดจนการต้องสร้างกรอบการเรียนรู้ให้ขยายวงกว้างสู่ภาค
สาธารณะ ทาให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมของกระบวนการดาเนินงานขึ้น
อ้างอิง
 ภาษาไทย
 มูลนิธิรักษ์ทย. (2554). คู่มือส่งเสริมการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ,
สนับสนุโดย โปรแกรมด้านสิ่งแวดล้อม และการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืนรวมถึงด้านพลังงาน.
คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป องค์การแคร์นานาชาติ.

 ภาษาอังกฤษ
 Mostashari,A. (2005). An Introduction to Non-Governmental
Organizations (NGO) Management. On Iranian Studies Group at
MIT.
 Moshman, J. (2010). How to Start an NGO.WANGO:World
Association of Non-GovernmentalOrganizations. Retrieved 10
September, 2015, from www.wango. org/NGONews/
July08/HowToStartAnNGO.pdf

 END

More Related Content

Viewers also liked

การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

Viewers also liked (10)

Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
กฎหมาครอบคัว การสมรส
กฎหมาครอบคัว การสมรสกฎหมาครอบคัว การสมรส
กฎหมาครอบคัว การสมรส
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 3
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 
Microsoft word บรรณานุกรม
Microsoft word   บรรณานุกรมMicrosoft word   บรรณานุกรม
Microsoft word บรรณานุกรม
 
สบู่
สบู่สบู่
สบู่
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 

Similar to สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน

ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization CultureKomsun See
 
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 21. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2Image plus Communication
 

Similar to สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน (8)

โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิโครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
โครงร่างวิทยานิพนธ์วุฒิ
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
Organization Culture
Organization CultureOrganization Culture
Organization Culture
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 21. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
 
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwanนวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word   ปกเอกสารประกอบการสอนMicrosoft word   ปกเอกสารประกอบการสอน
Microsoft word ปกเอกสารประกอบการสอน
 
Microsoft word ภาคผนวก
Microsoft word   ภาคผนวกMicrosoft word   ภาคผนวก
Microsoft word ภาคผนวก
 
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอนMicrosoft word   แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
Microsoft word แผนบริหารการจัดการเรียนการสอน
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 

สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน

  • 2. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  การแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาชุมชนถือเป็นบทบาทที่สาคัญอย่างยิ่งขององค์กน พัฒนาเอกชน อย่างไรก็ตาม การจัดทาแนวทางการแก้ไขหรือพัฒนาชุมชนของ องค์กรพัฒนาเอกชนดังกล่าว คือการกาหนดแนวทางหรือการกาหนดรูปแบบ การปฏิบัติการเพื่อการลด หรือแก้ไขปัญหาให้แก่ชุมชน ซึ่งการที่องค์กรพัฒนา เอกชนสามารถปฏิบัติตามแนวทางให้เกิดประสิทธิผล จาเป็นต้องพิจารณา ลักษณะของบริบทแวดล้อมของชุมชนที่แตกต่างกัน เพื่อทาให้เกิดความ สอดคล้องเหมาะสมและเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ชุมชน
  • 3. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน แผนงาน ตัวบ่งชี้ ความต้องการของชุมชน การลดปัญหาของชุมชน และความสามารถในการให้บริการเพื่อให้ประชาชนได้ประโยชน์ สูงสุด แนวทางปฏิบัติ การประเมินความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย การ พิจารณาแผนงานเพื่อการสนองตอบตรงตามความต้องของ กลุ่มเป้ าหมาย การผสมผสานแนวทางใหม่ ๆ ไว้ในแผนงาน รวมถึง การสร้างศักยภาพของบุคลากรให้เกิดความพร้อมและมีทักษะ สอดคล้องการแนวทางดังกล่าว ด้วยการฝึกอบรมตามแนวทางที่ กาหนดขึ้นในแผนงานข้างต้น การจัดการ ตัวบ่งชี้ การจัดการไม่ได้หมายถึงการสร้างสรรค์วิธีการใหม่ ๆ เพื่อสนองต่อภารกิจหรือวิธีการปฏิบัติขององค์กร แนวทางปฏิบัติ การขอคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญภายนอก เพื่อ ก่อให้เกิดทางเลือกที่ดีที่สุดและทาให้เกิดมุมมองต่อการกาหนด วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงภาวะผู้นาอาจเป็นที่จะ ทาให้เกิดความเหมาะสมสอดคล้อง
  • 4. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน บุคลากร ตัวบ่งชี้ ไม่มีการแข่งขันและการแย่งชิงผลประโยชน์ใน หน้าที่การทางาน แนวทางปฏิบัติ การพิจารณาในการรื้อปรับโครงสร้างองค์กร โครงสร้างบุคลากร เช่น การจัดสรรหน้าที่รับผิดชอบ การ จัดการฝึกอบรม ผู้บริหาร ตัวบ่งชี้ ผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน ประชุมร่วมกัน ในประเด็นปัญหาเดิมๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อการแสวงหาแนวทาง ใหม่ๆ สาหรับเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติ มีความมุ่งมั่นในอุดมการณ์ในการหาแนว ทางแก้ไขปัญหาชุมชน โดยร่วมกันนาเสนอแนวทางใหม่ๆ การหาแนวร่วมที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญ มีการจัด โครงสร้างของคณะผู้บริหารเพื่อความสอดคล้องเหมาะสมต่อ การจัดทาแผน โครงการและกิจกรรมในการดาเนินงานตาม เป้ าหมาย
  • 5. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ระบบ ตัวบ่งชี้ ไม่ใช้ระบบการที่ซับซ้อน ยุ่งยาก สับสน และล้าสมัย แนวทางปฏิบัติ ทบทวนความต้องการระบบ การ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี แผนงาน การจัดการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งอาจต้องใช้ความ เชี่ยวชาญของที่ปรึกษาภายนอก การระดมทุน ตัวบ่งชี้ องค์กรพัฒนาชุมชนสามารถริเริ่ม กิจกรรม ใหม่ ๆ และสามารถกาหนดกรอบของ แผนงานให้ดึงดูดความสนใจและสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้สนับสนุนเงินทุน แนวทางปฏิบัติ มีการชี้แจงในประเด็นการปฏิบัติ แผนงานเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่ สมาชิกซึ่งเป็นคณะกรรมการบริหาร
  • 6. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน การจัดการการเงิน ตัวบ่งชี้ วางแนวทางแก้ไขปัญหากระแสเงิน สด มีการคาดคะเนการจานวนงบประมาณที่จะ นามาดาเนินการโครงการรวมทั้ง แนวทางในการ ป้ องกันการขาดดุลในระยะยาว แนวทางปฏิบัติ ตัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นออก มีการ พัฒนาแผนงานเพื่อสรรค์หาแหล่งเงินทุนใหม่ ๆ การสื่อสารภายในองค์กร ตัวบ่งชี้ การเอาใจใส่ต่อความรู้ สึก การ แสดงความเห็นที่สาคัญต่อกระบวนการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ จัดทานโยบายการปฏิบัติงานซึ่ง แสดงวิธีการที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรในระดับ ปฏิบัติ และสร้างโอกาสที่จะทาให้บุคลากรใน ระดับปฏิบัติการทางานและเข้าไปมีส่วนร่วมกับ บุคลากรในระดับบริหาร ตารางที่ 4.1 (ต่อ)
  • 7. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ความสัมพันธ์ภายนอก ตัวบ่งชี้ ลดปัญหาด้านชื่อเสียงขององค์กร ที่มีความสับสนต่อบุคคลภายนอก เกี่ยวกับ ภารกิจและแผนงาน แนวทางปฏิบัติ จัดทาเอกสารแจงเงินทุนและ องค์ประกอบ อื่น ๆ รวมทั้งความคืบหน้ของ โครงการ การปรับเปลี่ยนเป้ าหมายและ แผนงาน เพื่อให้เกิดความแน่ใจว่าการปฏิบัติ ตามภาระกิจและหน้าที่ดังกล่าวจะประสบ สาเร็จ
  • 8. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  การสร้างขีดความสามารถ (Capacity Building)  สิ่งสาคัญต่อองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร คือ การสร้างขีดความสามารถเพื่อทาให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเชิงเป้าหมาย ทั้งขีดความสามารถในการดาเนินงานและขีด ความสามารถในการที่จะได้รับการสนับสนุนจากองค์กรทางการเงิน เพื่อนาไปใช้ให้ก่อ ประโยชน์ต่อสาธารณะและต่อองค์กรภาคีอื่น ๆ  รูปแบบขององค์กรพัฒนาเอกชนหรือองค์กรที่ไม่หวังผลกาไรอาจจะขอความสนับสนุนจาก องค์กรภาคีซึ่งอยู่ในรูปแบบของ สมาคม ศูนย์ฝึกอบรม องค์กรที่ปรึกษา ฯลฯ ซึ่งให้บริการ โดยไม่หวังผลกาไรเช่นกัน ดังนั้น จึงมีคาจากัดความของคาว่า การสร้างขีดความสามารถที่ หลากหลาย ความหมายของคาว่าการสร้างความสามารถ บนพื้นฐานแนวคิดข้างต้นก็คือ " การกระทาที่ไม่แสวงหาผลกาไร และการปรับปรุงประสิทธิภาพของการดาเนินงานให้ประสบ ผลสาเร็จ " ในแนวคิดอื่น ๆ เสนอว่า การสร้างขีดความสามารถหมายถึง แนวความคิดการ กระทาที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการทางานขององค์กรที่ไม่หวังผลกาไร และเพื่อสร้างขีด ความสามารถที่มีต่อการปฏิบัติภารกิจของตน
  • 9. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  แนวคิดของการสร้างขีดความสามารถขององค์กรที่ไม่หวังผลกาไร ในบางรูปแบบจะมีลักษณะคล้ายกับ แนวคิดการสร้างขีดความสามารถ หรือการพัฒนาประสิทธิภาพขององค์กรและ / หรือการจัดการ ประสิทธิภาพในองค์กรที่หวังผลกาไรหรือองค์กรธุรกิจ นอกจากนั้น ยังหมายถึงความพยายามในการสร้าง ขีดความสามารถในการรวบรวมความหลากหลายของวิธีการจัดการเข้าไว้ด้วยกัน เช่น การสร้างขีด ความสามารถในการจัดการเงินทุนเพื่อการดาเนินงานกองทุนพัฒนาไปพร้อม ๆ กับความขีดสามารถในการ จัดการให้การฝึกอบรมและการพัฒนาการประชุม การฝึกอบรมเพื่อให้การสนับสนุนการทางานร่วมกันกับ องค์กรที่ไม่หวังผลกาไรอื่น ๆ  ลักษณะเด่นของวิธีการของการจัดการประสิทธิภาพในองค์กรที่หวังผลกาไรหรือองค์กรธุรกิจ สามารถ นามาใช้กับการสร้างขีดความสามารถต่อองค์กรพัฒนาเอกชนได้เป็นอย่างดี เช่น การรักษาดุลยภาพของ องค์กรด้วยวิธีการจากแนวคิดและหลักการการเปลี่ยนแปลงองค์กร การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมการ เรียนรู้ขององค์กร ฯลฯ ดังนั้น แนวคิดของการสร้างขีดความสามารถขององค์กรที่ไม่หวังผลกาไรจึงได้นา แนวคิดการจัดองค์การและการบริหารองค์การมาใช้ในการดาเนินงาน เช่น แนวคิด POSDCoRB แนวคิดด้านบทบาทของผู้บริหาร (CEO) ในการวางแผนและการบริหารแผนและโครงการ แนวคิดด้าน การตลาด การเงินและการประเมินผล เป็นต้น นอกจากนั้น แนวคิดที่จะต้องสร้างให้เกิดความสามารถอีก ประการหนึ่งคือ ความสามารถในการระดมทุน แนวคิดที่จะนาไปสู่ความมีประสิทธิภาพในการดาเนินงานอีก ประการหนึ่งคือ แนวคิดใน การจัดการประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ซึ่งจะเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ บริหารงานด้านคนซึ่งหลักการบริหารประสิทธิภาพได้แก่
  • 10. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  1) บุคลากรหรือสมาชิกขององค์กรจาเป็นต้องมีความรู้ในการปฏิบัติงาน ภายในองค์กร ตั้งแต่ระดับพื้นฐาน จนระดับของประยุกต์ความรู้ดังกล่าวไปใช้งานที่ตนเองรับผิดชอบ  2) ผู้บริหารต้องมอบหมายงานหรือหน้าที่ความรับผิดชอบแก่บุคลากรหรือสมาชิก องค์กรให้สอดคล้อง ต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร  3) ผู้บริหารและบุคลากรหรือสมาชิกองค์กรมีความรู้ถึงกลวิธีใด ๆ ที่จะช่วยให้งานเกิด ความสาเร็จได้เป็นอย่างดีและเป็นรูปธรรม  4) ผู้บริหารและบุคลากรหรือสมาชิกองค์กรมีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการทางาน ร่วมกันอย่างยั่งยืน ตลอดจนมีการพัฒนาประสิทธิภาพในการทางานของตนเองให้สูงขึ้น  5) มีระบบวัดประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากรหรือสมาชิกรวมถึงคณะผู้บริหาร องค์กรทุกคน  6) ผู้บริหารมีความสามารถในการระบุถึงอุปสรรคที่ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทางาน ลดลง และสามารถร่วมกับสมาชิกองค์กรแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้
  • 11. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  สิ่งที่จาเป็นอีกประการหนึ่งคือ การวางกรอบเพื่อการดาเนินงานเพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ในองค์กร การเรียนรู้ของผู้เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และชุมชน ร่วมกัน ดังกรณีตัวอย่างขององค์กรพัฒนาเอกชน มูลนิธิรักษ์ไทย ได้จัดทาคู่มือ ส่งเสริมการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่ เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อเป็นคู่มือในการปฏิบัติงานของทั้ง ผู้บริหาร สมาชิกหรือบุคลากรขององค์กร และผู้เกี่ยวข้องผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งประชาชนในชุมชนซึ่งคู่มือดังกล่าวกาหนดกรอบการนาคู่มือดังกล่าวไปใช้ ในหลายระดับดังนี้
  • 12. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  1) ผู้จัดการโครงการและเจ้าหน้าที่ภาคสนาม ได้แก่ เจ้าหน้าที่โครงการที่ปฏิบัติงานในโครงการพัฒนาอาชีพ หรือโครงการชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จะพบว่าคู่มือส่งเสริมนี้มีแนวทางการทางานที่มี ประโยชน์ด้านวิธีเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลจากมุมมองของชุมชน ของหน่วยงานรัฐ และในมุมมองเชิง วิทยาศาสตร์ ข้อมูลเหล่านี้สามารถนาไปใช้ในการออกแบบกิจกรรมชุมชนปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศที่เหมาะสมกับท้องถิ่น  2) องค์กรภาคีในท้องถิ่น ทั้งหน่วยงานรัฐและองค์กรพัฒนาอกชน ทั้งนี้ เครื่องมือและกระบวนการต่าง ๆ ใน คู่มือส่งเสริมจะถูกออกแบบมาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย นาไปประยุกต์ใช้และขยายผล หน่วยงานรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชนในท้องถิ่น สามารถนาวิธีการ CVCA (ClimateVulnerability and Capacity Analysis) ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดการบูรณาการประเด็นความเปราะบาง และ การ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เข้าไว้ในการวางแผนและในโครงการต่างๆ ของหน่วยงานและองค์กร นั้น ๆ  3) ชุมชนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆ ในคู่มือส่งเสริมนี้ เพื่อสนับสนุนกระบวนการศึกษาและการ เรียนรู้ของชุมชน และนาผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ในการวางแผนการทากิจกรรมร่วมกันด้านการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ หรือ กิจกรรมรณรงค์กับหน่วยราชการในท้องถิ่นหรือองค์กรพัฒนาเอกชน เพื่อ กระตุ้นให้เกิดการดาเนินการที่เหมะสมที่สนับสนุนความพยายามของพวกเขาในการปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การกาหนดกรอบของ CVCA เพื่อการเพื่อสร้างขีดความสามารถดังกล่าว ถือเป็น นวัตกรรมของวิธีการดาเนินงานหรือกระบวนการในการบริหารจัดการขององค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งสามารถ สร้างการมีส่วนร่วมในรูปแบบอื่น ๆ
  • 13. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  กรณีศึกษา  1) กระบวนการ CVCA มีการวิเคราะห์ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอย่างจริงจัง ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ภาวะโลกร้อนจะมีผลต่อชีวิตและวิถีชีวิตของกลุ่ม ประชากรเป้าหมายอย่างไร โดยพิจารณาข้อมูลทุกด้านอย่างละเอียด อาทิ ภัยพิบัติชนิดต่างๆ จุดเปราะบางทั้งหลายที่มีความเสี่ยงต่อภาวะโลกร้อน และขีดความสามารถในการปรับตัวจาก ภาวะโลกร้อน โดยหวังว่ากระบวนการนี้จะมีส่วนช่วยเสริมสร้างขีดความสามารถของชุมชนใน การฟื้นตัว การปรับตัวสาหรับอนาคต เครื่องมือวิเคราะห์หลายชนิดที่แนะนาไว้ เป็นเครื่องมือ สาหรับการเรียนรู้เพื่อการปฏิบัติงานแบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning forAction หรือ PLA) ที่สามารถนาไปทดลองใช้และได้ผลจริง แต่ต้องพิจารณาด้วย “เลนส์” ด้านภูมิอากาศ หรือ มุ่งเน้นที่ประเด็นภูมิอากาศโดยละเอียดทุกซอกทุกมุม เครื่องมือ เหล่านี้มีไว้ใช้สาหรับดึงประเด็นปัญหาต่างๆ ออกมา จากนั้นจึงนามาพิจารณาและอภิปรายกัน โดยละเอียดในบริบทของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยมีการกากับการอภิปรายให้อยู่ใน กรอบที่วางไว้
  • 14. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  กรณีศึกษา  2) รวบรวมวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดที่ได้จากการวิเคราะห์รูปแบบต่างๆ ที่ทากันสาหรับโครงการพัฒนา หลากหลายโครงการที่ส่วนใหญ่มุ่งเน้นด้านสภาพความยากจนและจุดเปราะบางที่มีความเสี่ยงและ นามาใช้ร่วมกับวิธีปฏิบัติที่ดีที่ได้จากการวิเคราะห์ที่ทากันภายในบริบทของการลดความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ ซึ่งมุ่งเน้นด้านภัยอันตรายกรอบของวิธีการ CVCA จะเอื้ออานวยต่อการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่ได้ จากการประเมินทั้ง 2 ประเภทนั้น เป็นการวิเคราะห์ในมุมมองของภาวะโลกร้อน โดยจะศึกษา รายละเอียดทั้งทางด้านภัยอันตรายและทางด้านเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง แล้วจึงวิเคราะห์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างภัยอันตรายและเงื่อนไขเหล่านั้น  3. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วยเสียหลายฝ่าย การเรียนรู้ร่วมกัน และการพูดคุยกัน: ขณะที่ วัตถุประสงค์หลักของวิธีการ CVCA คือการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสาร กระบวนการ CVCA ก็ยังถูก ออกแบบมาให้มีความสมดุลระหว่างกระบวนการวิจัยและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งการ พูดคุย กันในหมู่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น วิธีนี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจกันภายในชุมชนมากขึ้น ในเรื่องที่ เกี่ยวกับทรัพยากรต่าง ๆ ที่พวกเขาสามารถนาไปใช้ เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานลดผลกระทบจากภาวะ โลกร้อน CVCA ยังช่วยส่งเสริมให้เกิดการพูดคุยกันในหมู่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลาย ๆ ฝ่าย เกี่ยวกับ การดาเนินการต่าง ๆ ที่เหมาะสมสาหรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศ
  • 15. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  กรณีศึกษา  4. เน้นชุมชนแต่พิจารณาสภาวะแวดล้อมที่เอื้ออานวยอย่างละเอียดด้วย: ความเปราะบางที่ มีความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือภาวะโลกร้อนนั้นจะผันแปรไป ทั้ง ภายในประเทศ ภายในชุมชน และแม้แต่ภายในครัวเรือน เพราะฉะนั้น การดาเนินการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ จึงต้องมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับบริบทนั้น ๆ โดยเฉพาะ อีกทั้งยังต้องมียุทธศาสตร์ในการดาเนินงานที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มต่างๆ ที่มีความเปราะบางด้วย ขณะเดียวกันนโยบายและสถาบันต่างๆ ทั้งใน ระดับชาติและระดับท้องถิ่น ก็จะมีบทบาทสาคัญในการเสริมสร้างขีดความสามารถของคนใน การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ดังนั้น กระบวนการ CVCA จึงมุ่งเน้นที่ระดับ ชุมชน ขณะเดียวกันก็ได้ผนวกการวิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ของระดับภูมิภาคและระดับชาติ ไว้ด้วย ทั้งนี้เพื่อเสริมสร้างให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยต่อการชุมชนปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CBA)
  • 16. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  การสร้างกรอบการดาเนินงานแก่ชุมชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ทั้งในระดับ ครัวเรือน และชุมชนในกรณีศึกษานี้ คือ การเพิ่มขีดความสามารถในการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ คือ โอกาสในการเข้าถึงและควบคุม ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรทางสังคม ทรัพยากรทาง กายภาพและโครงสร้างพื้นฐาน และทรัพยากรทางเศรษฐกิจของชุมชนและ ประชาชนในชุมชน  ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีความสาคัญต่อการเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคคล ครัวเรือน และ ชุมชน ในการปรับตัวและการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ
  • 17. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  ทรัพยากรต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อการเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคคล ครัวเรือน และ ชุมชน ทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ด้านความเสี่ยงต่อภูมิอากาศ ทักษะการเกษตรเชิงอนุรักษ์ สุขภาพแข็งแรงสามารถ ทางานได้ ทรัพยากรทางสังคม กลุ่มสตรีออมทรัพย์และสินเชื่อ องค์กรชาวนา ทรัพยากรทางกายภาพ โครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทาน อาคารสถานที่เก็บกักผลิตผลธัญพืชและเมล็ดพันธ์ ทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งน้าที่เชื่อใจได้ ผืนแผ่นดินที่อุดมสมบูรณ์ ทรัพยากรทางการเงิน การประกันภัยขนาดเล็ก แหล่งรายได้ที่หลากหลาย
  • 18. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  นอกจากการเพิ่มขีดความสามารถของบุคคล ครัวเรือน และ ชุมชนจากปัจจัยด้านทรัพยากรแล้ว การเพิ่มขีด ความสามารถในส่วนต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กรพัฒนาเอกชน ได้แก่ (มูลนิธิรักษ์ไทย, 2554)  1) วางแผนอย่างรอบครอบ  1.1) หาข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของชุมชนก่อนลงปฏิบัติการในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย ต้องมีความรู้เกี่ยวกับชุมชนหรือ ประวัติความเป็นมาของกลุ่มคนในชุมชน ความขัดแย้งในอดีตและในปัจจุบัน และพลวัตของอานาจในชุมชนที่อาจมีความสาคัญ ต่อการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายกลุ่มย่อย หรือต่อการอานวยกระบวนการพูดคุย  1.2) เตรียมวาระ/หรือหัวข้อเรื่องที่จะเข้าไปพูดคุยกับชุมชน ต้องให้แน่ใจว่าวาระที่เตรียมไปนั้น ผู้เข้าร่วมจะสามารถพูดคุย ได้ตามสบาย ไม่ต้องถูกเร่งรัด แต่ก็ครอบคลุมทุกประเด็นภายในเวลาที่กาหนดไว้  1.3) หากเป็นไปได้หาข้อมูลไปล่วงหน้าเกี่ยวกับระดับความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจะได้ วางแผนจัดกิจกรรมให้เหมาะสม  1.4) จัดสรรเวลา สาหรับการชี้แจงรายละเอียด การไต่ถามข้อสงสัยของผู้เข้าร่วม การตอบข้อสงสัย การอภิปรายประเด็น ต่าง ๆ และ “ช่วงเวลาของการเรียนรู้”  1.5) ต้องคานึงอยู่ตลอดเวลาว่าประชาชนในชุมชนจะไม่มีเวลาว่าง เนื่องจากการใช้เวลาของประชาชนในชุมชนในการ ประกอบอาชีพเลี้ยงปากท้อง ดังนั้น การเข้าพบปะจะต้องใช้เวลาสั้น ๆ เพื่อไม่ให้เกิดการเสียเวลาในการประกอบอาชีพ โดย จะต้องจัดการเข้าเยี่ยมให้กระจายออกไป เพื่อไม่ให้กระทบต่อการทางานตามปกติของคนในชุมชน  1.6) วางแผนเรื่องการจัดบริการ อาหาร เครื่องดื่ม ในกรณีที่เหมาะสม  1.7) ตัดสินใจเลือกกลุ่มย่อย  1.8) วิทยากรกระบวนการสามารถทาหน้าที่ได้โดยใช้ภาษาท้องถิ่น
  • 19. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  2) แสวงหาการสนับสนุนจากผู้นาชุมชน  2.1) อธิบายจุดประสงค์ของการเข้ามาทางานในพื้นที่ และขออนุญาตผู้นาชุมชน  2.2) สิ่งหนึ่งที่อาจเป็นประโยชน์คือ การจัดการประชุมเตรียมการที่เชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ ในท้องถิ่น ได้แก่ ผู้นาชุมชน ผู้แทนหน่วยราชการในท้องถิ่น องค์กรชุมชนและองค์กรท้องถิ่นอื่น ๆ มารับฟัง การชี้แจงเกี่ยวกับแนวทางของโครงการ ที่จะเข้ามาดาเนินการในพื้นที่และประโยชน์ของโครงการนี้ แล้ว ร่วมกันกาหนดเวลาการเข้าเยี่ยมชุมชน  2.3) พิจารณาทบทวนวาระการเข้าเยี่ยมชุมชนกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฝ่ายต่าง ๆ เพื่อชี้แจงเกี่ยวกับ จุดประสงค์ เวลาที่ต้องใช้ สถานที่สาหรับการพูดคุย (โดยจะต้องดูให้แน่ใจว่า เป็นสถานที่ที่เหมาะสมที่เข้าถึง ได้ง่าย ที่ผู้หญิงสบายใจที่จะพูดคุย หรือที่สมาชิกชุมชนคนอื่นๆ ที่เป็นบุคคลทุพลภาพบางส่วน ไม่สามารถ เคลื่อนไหวได้สมบูรณ์ตามปกติ สามารถเข้าถึงได้สะดวก)  2.4) ทาความตกลงกันเรื่องกลุ่มย่อย ถ้ามีวิทยากรกระบวนการ/ผู้ดาเนินระบวนการจานวนมากพอ ควร จัดทาการสัมภาษณ์/การพูดคุยกลุ่มย่อยที่อยู่ในชุมชนเดียวกันในเวลาเดียวกัน จะช่วยได้มาก ทั้งนี้ เพื่อให้ ผู้เข้าร่วมพูดคุยในกลุ่มต่างๆ พูดได้อย่างเปิดเผย โดยไม่ต้องกังวลว่ากลุ่มอื่นจะได้ยิน  2.5) กาหนดวิธีการสื่อสารข้อมูลที่ได้จากการอภิปราย/พูดคุยในกลุ่มย่อยกับผู้เข้าร่วม  2.6) แนะนาวิทยากรกระบวนการกับชุมชน
  • 20. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  3. การเตรียมความพร้อม  3.1) ทาให้แน่ใจว่าทุกคนที่อยู่ในทีมวิเคราะห์ เห็นชอบกับวัตถุประสงค์ของการเข้าเยี่ยมชุมชน  3.2) วิทยากรกระบวนการทุกคนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีเกี่ยวกับวิธีการและวิธีใช้ เครื่อง  ต่าง ๆ ก่อนเข้าไปปฏิบัติงานในชุมชน อ  3.3) หากการทางานของวิทยากรกรกระบวนการมีลักษณะการทางานเป็นทีม จะต้องกาหนดหน้าที่ ให้ชัดเจนว่า ใครจะเป็นคนดาเนินกระบวนการในส่วนไหนของวาระและใครเป็นคนจดบันทึก  3.4) ทีมวิทยากรกระบวนการควรมีทั้งผู้หญิงและผู้ชาย และควรได้รับการฝึกอบรมด้านการเป็น วิทยากรกระบวนการที่คานึงถึงความอ่อนไหวของประเด็นบทบาทหญิง – ชาย ในบางกรณี การให้ วิทยากรหญิงเป็นผู้ดาเนินกระบวนการพูดคุยกับกลุ่มผู้หญิงก็เป็นเรื่องสาคัญที่ต้องพิจารณา เพื่อให้ สมาชิกกลุ่มรู้สึกสบายใจขึ้น  3.5) ทาความตกลงกับวิทยากรที่จะเป็นผู้ดาเนินกระบวนการร่วมกันว่า จะอธิบายแนวคิดต่าง ๆ อย่างไรในภาษาท้องถิ่น เช่น ภัยอันตราย ทรัพยากรสาหรับการดาเนินวิถีชีวิต/การประกอบอาชีพ ฯลฯ ควรระลึกไว้ว่า แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศนั้น อาจเป็นเรื่องยากที่จะเข้าใจได้ คนใน ชุมชนอาจจะสามารถพูดคุยเกี่ยวกับฤดูกาล อากาศ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ได้ง่ายกว่า
  • 21. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  4) ความพร้อมที่จะรับมือกับความขัดแย้ง  4.1) กระบวนการพูดคุยอาจดึงให้ประเด็นปัญหาความไม่เสมอภาคขึ้นมา ซึ่งอาจมีความ จาเป็นต้องแก้ไขเพื่อลดความเปราะบางประเด็นดังกล่าว วิทยากรจะต้องนากระบวนการ พูดคุยให้ก้าวต่อไปอย่างระมัดระวัง เพราะโดยทั่วไปแล้ว จะมีกลุ่มคนที่มีภาวะผู้นาและสา มารครอบงาทางความคิดในระดับต่าง ๆ อยู่ภายในชุมชน หรือระหว่างชุมชนและกลุ่มอื่น ๆ  4.2) การมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการคลี่คลายความขัดแย้ง ซึ่งจะช่วยให้ วิทยากรสามารถจัดการกระบวนการอภิปรายพูดคุยให้ผ่านไปได้อย่างสร้างสรรค์ หากเกิด ความขัดแย้งใด ๆ ในระหว่างการพูดคุย  4.3) การดึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลาย ๆ ฝ่ายเข้ามาเกี่ยวข้องในกระบวนการเก็บรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลจะช่วยลดปัญหาความขัดแย้งลงได้
  • 22. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  5) สื่อและอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องมี ได้แก่ กระดาษนิวส์พรินต์ ปากกาเมจิก เส้น หนา-ใหญ่ สีต่างๆ กระดาษสี เทปกระดาษกาว วัสดุในท้องถิ่น เช่น ก้อนหิน แท่งไม้เมล็ดพันธุ์พืช ฯลฯ อุปกรณ์บันทึกข้อมูล (อุปกรณ์บันทึกเสียง) กล้อง ถ่ายรูปเพื่อบันทึกภาพกระบวนการดาเนินการและการพูดคุย (ต้องพูดคุยให้ แน่ใจว่าไม่ขัดต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น) สมุดบันทึก และคลิปบอร์ดสาหรับจด บันทึก อาหารว่าง/อาหารเที่ยง/น้าและเครื่องดื่ม (ขึ้นอยู่กับการประชุมใช้เวลา และสถานที่)
  • 23. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  6) บริหารจัดการความคาดหวัง  6.1) การบริหารจัดการความคาดหวังของชุมชนระหว่างที่เข้ามาทางานในพื้นที่นั้น เป็นเรื่องสาคัญ ชุมชนต่าง ๆ มักถูก “ประเมิน” มาหลายครั้งแล้วสาหรับโครงการต่างๆ จึงอาจคาดหวังว่า การดาเนินการในพื้นที่ครั้งนี้จะทาให้เกิดโครงงานหรือโครงการใด โครงการหนึ่งสาหรับชุมชน  6.2 วิทยากรกระบวนการควรจะต้องตระหนักให้ดีในเรื่องดังกล่าว เพราะเป็นสิ่งที่ อาจจะมีอิทธิพลต่อประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาระหว่างอภิปราย เพื่อที่จะได้จัดการให้ แน่ใจว่าจะไม่ไปสร้างความหวังให้แก่ชุมชนว่าจะมีโครงการต่าง ๆ ตามมา
  • 24. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  7) สร้างความรู้สึก “ปลอดภัย” และเชื่อใจกัน และการดารงรักษาสิ่งดังกล่าวไว้  7.1) ทาให้สมาชิกชุมชนหรือผู้แทนในท้องถิ่นที่คนในชุมชนให้ความเชื่อใจเป็นผู้แนะนาทีม วิเคราะห์  7.2) แสดงมารยาทที่ดีและต้อนรับทุกคนด้วยความยินดี  7.3) ให้โอกาสทุกคนแนะนาตนเอง  7.4) ขออนุญาตเมื่อต้องการจะถ่ายรูปหรือถ่ายวีดีโอ และหลีกเลี่ยงการบันทึกภาพ ถ้าผู้เข้าร่วม กิจกรรมรู้สึกอึดอัด  7.6) จัดเครื่องดื่ม น้าชา - กาแฟไว้บริการ ถ้าเหมาะสม  7.7) เห็นคุณค่าของความรู้และประสบการณของผู้เข้าร่วม  7.8) ขัดจังหวะทันทีเมื่อเห็นว่าสิ่งที่กาลังอภิปรายนั้น เป็นการ “โจมตีกันและกัน”  7.9) ยอมรับความผิดพลาดของตนและแก้ไขให้ถูกต้อง  7.10) ทาตัวเป็นกลาง  7.11) ให้เวลาผู้เข้าร่วมได้ซักถามข้อสงสัย
  • 25. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  8) สร้างการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้นอย่างมีชีวิตชีวาและสมดุล  8.1) ทาให้แน่ใจว่าสถานที่ที่ใช้สาหรับการพูดคุยกลุ่มย่อยนั้น เหมาะสมกับการเข้ามาร่วม กิจกรรม  8.2) วางกฏกติการ่วมกับผู้เข้าร่วมการอภิปรายกลุ่มย่อย  8.3) อธิบายกระบวนการอภิปรายกลุ่มย่อยและตรวจสอบให้แน่ใจว่าทุกคนเข้าใจคาสั่งและ คาถาม  8.4) กระตุ้นและให้กาลังใจกับผู้เข้าร่วมที่ยังไม่กล้าแสดงออก และจัดการอย่างสุภาพเพื่อหยุด บุคคลที่แสดงความคิดและพูดคุยมากเกินไปหรือแสดงตนเป็น “ผู้เชี่ยวชาญ”  8.5) หาทางให้ผู้เข้าร่วมเป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการกิจกรรมกลุ่ม (เช่น สร้างจัดทาแผนที่ด้วย ตนเอง รวมทั้งการจัดทาสัญลักษณ์ในตาราง  8.6) ให้โอกาสผู้มีส่วนร่วมได้ร่วมหยิบยกประเด็นที่พวกเขาสนใจหรือสงสัยขึ้นมาพูดคุยกัน วิทยากรมีหน้าที่ควบคุมกระบวนการพูดคุยไม่ให้ออกนอกประเด็นและต้องจัดการให้แน่ใจว่า การ พูดคุยคืบหน้าไปโดยเร็วพอที่จะครอบคลุมสาระที่จาเป็นภายในเวลาที่จัดสรรไว้  8.7) หากการอภิปรายคืบหน้า ต้องป้อนคาถามจานวนมากและต้องพยายามไม่ให้เป็นการชักนา ผู้เข้าร่วมอภิปราย
  • 26. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  9) การจบการอภิปราย  9.1) อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินการขั้นต่อไป  9.2) กาหนดวันเวลาที่จะกลับมาเยี่ยมชุมชนเพื่อตรวจสอบและยืนยันความถูกต้อง ของการวิเคราะห์  9.3) กล่าวขอบคุณทุกคนในกลุ่มที่มาร่วมพูดคุย และให้โอกาสไต่ถามข้อสงสัยแก่ ผู้เข้าร่วมอภิปราย  9.4) ถ้าผู้ร่วมอภิปรายต้องการจะเก็บผลงานจากการอภิปรายกลุ่มย่อย (เช่น แผน ที่) วิทยากรควรทาฉบับสาเนาสาหรับตนเอง และให้ผู้เข้าร่วมเก็บต้นฉบับไว้
  • 27. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  กรณีศึกษาจากคู่มือการสร้างขีดความสามารถขององค์กรพัฒนาเอกชน ทาให้ เห็นว่า การสร้างขีดความสามารถดังกล่าว จาเป็นต้องกระทาไปพร้อม ๆ กับ การสร้างขีดความสามารถให้แก่ภาคสาธารณะ และความสามารถดังกล่าว หน่วยงานภาคี ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์กรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ ที่เข้าร่วม โครงการ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ดังนั้น การ กาหนดกรอบของวัตถุประสงค์ และเป้าหมายอันเป็นส่วนหนึ่งแผน นอกจากจะ เป็นสิ่งรองรับของแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ยังเป็นสิ่งที่เป็นผลจาก การปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าวด้วย
  • 28. แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน  สรุป  ถือได้ว่า แนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน คือสิ่งที่สนองตอบต่อ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย รวมถึง การสนองตอบความต้องการของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียได้เป็นอย่างดี ซึ่งการสนองตอบดังกล่าวจะทาให้เกิดความชัดเจนของ กิจกรรมและผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น นาไปสู่การได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย รวมทั้ง ชุมชน โดยเฉพาะผู้สนับสนุนด้านทุนและทรัพยากร  สิ่งดังกล่าว ทาให้ต้องนาวิธีการที่หลากหลายในการบริหารจัดการ มาประยุกต์และเข้า สู่กระบวนเรียนรู้ตลอดจนการต้องสร้างกรอบการเรียนรู้ให้ขยายวงกว้างสู่ภาค สาธารณะ ทาให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมของกระบวนการดาเนินงานขึ้น
  • 29. อ้างอิง  ภาษาไทย  มูลนิธิรักษ์ทย. (2554). คู่มือส่งเสริมการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวิเคราะห์ขีดความสามารถและความเปราะบางที่เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ, สนับสนุโดย โปรแกรมด้านสิ่งแวดล้อม และการจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืนรวมถึงด้านพลังงาน. คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป องค์การแคร์นานาชาติ.   ภาษาอังกฤษ  Mostashari,A. (2005). An Introduction to Non-Governmental Organizations (NGO) Management. On Iranian Studies Group at MIT.  Moshman, J. (2010). How to Start an NGO.WANGO:World Association of Non-GovernmentalOrganizations. Retrieved 10 September, 2015, from www.wango. org/NGONews/ July08/HowToStartAnNGO.pdf 