SlideShare a Scribd company logo
1
เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รหัสวิชา ค31101
จัดทาโดย
นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ
ครู คศ.3
โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2
คานา
บทเรียนสาเร็จรูป รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนใน ซึ่งผู้เรียนสามารถ
ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ทั้งยังสามารถประเมินผลการเรียนด้วยตนเองได้ในชั่วระยะหนึ่ง
แต่ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ จึงจะรู้ว่ามีความสามารถในด้านสติปัญญา
ในการแก้ไขปัญหามากน้อยเพียงใด สาระที่ปรากฏอยู่ในบทเรียนสาเร็จรูปนั้น จะช่วยให้ผู้เรียน
เข้าใจเนื้อหาเป็นอย่างดี ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ในชีวิตประจาวันได้
ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ คงจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียน
การสอนได้เป็นอย่างดี
นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3
คาแนะนาสาหรับครู
1. ใช้บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบ
2. ศึกษาบทเรียนสาเร็จรูปตั้งแต่กรอบแรกจนถึงกรอบสุดท้าย ทั้งเนื้อหาและกิจกรรม ให้
เข้าใจก่อน
3. ศึกษาว่ากิจกรรมในกรอบใดที่ครูต้องเป็นผู้ให้คาแนะนาช่วยเหลือ หรือ
ให้คาปรึกษาบ้าง
4. ชี้แจงให้นักเรียนอ่านคาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป และปฏิบัติตามทุกขั้นตอน
ทุกกรอบ ทั้งเนื้อหา กิจกรรม คาถาม คาตอบหรือแบบทดสอบ ก่อนเรียน และหลังเรียน
4
คาแนะนาสาหรับนักเรียน
บทเรียนที่นักเรียนกาลังศึกษาอยู่นี้เรียกว่า บทเรียนสาเร็จรูป ไม่ใช่ข้อทดสอบ นักเรียนจะ
สามารถเรียนรู้ในเรื่อง “การแยกตัวประกอบ” ได้ด้วยตนเอง ขอให้นักเรียนทาตามคาแนะนาต่อไปนี้
1. นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัด
2. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษา ควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นอันดับแรก
3. ตั้งใจทาและศึกษาเนื้อเรื่องไปตามลาดับทีละกรอบอย่างรอบคอบ ไม่เปิดข้ามเพราะจะ
ทาให้สับสน
4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้า ๆ ให้เข้าใจ คิดให้ดี แล้วจึงตอบคาถามลงในกระดาษเปล่า
อย่าขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในบทเรียนสาเร็จรูปนี้
5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง จึงเปิดดูคาตอบในกรอบต่อไป เพื่อตรวจสอบดูว่า
ถูกหรือผิด ถ้าตอบถูกจงทากรอบต่อไป ถ้าตอบผิด ให้ย้อนกลับไปอ่านทบทวน ทาความเข้าใจกับ
เนื้อเรื่องเดิมอีกครั้ง เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงแก้คาตอบที่ผิดให้ถูกต้อง
6. ศึกษาเนื้อเรื่องไปเรื่อย ๆ “เหนื่อยก็พัก” สักครู่แล้วค่อยศึกษาต่อไป
7. เมื่อศึกษาจบทุกกรอบแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วย เสร็จแล้ว
ตรวจคาตอบในเฉลยหน้าต่อไป เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง
5
จุดประสงค์การเรียนรู้
สามารถแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองได้ถูกต้อง
6
สารบัญ
หน้า
คานา
คาแนะนาสาหรับครู
คาแนะนาสาหรับนักเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน 1
การแยกตัวประกอบ
กรอบที่ 1การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง 4
กรอบที่ 2การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง cbxax 2
เมื่อ a=1, c0 8
กรอบที่ 3การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง cbxax 2
เมื่อ a1, c0 12
แบบทดสอบหลังเรียน 17
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 19
เอกสารอ้างอิง 20
7
แบบทดสอบก่อนเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง
1. ตัวประกอบของ 562
 xx ตรงกับข้อใด
ก. (x+5)(x-1)
ข. (x-5)(x-1)
ค. (x+5)(x+1)
ง. (x+3)(x+2)
2. ตัวประกอบของ 57162
 xx ตรงกับข้อใด
ก. (x+19)(x-3)
ข. (x-19)(x+3)
ค. (x-19)(x-3)
ง. (x+19)(x+3)
3. (x+5)(x-7) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. x2
+2x – 35
ข. x2
-12x – 35
ค. x2
-2x + 35
ง. x2
-2x-35
4. (x-4)(x-6) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. x2
+10x+24
ข. x2
-10x+24
ค. x2
-10x-24
ง. x2
-2x+24
5. ตัวประกอบของ 3103 2
 xx ตรงกับข้อใด
ก. )3)(13(  xx
8
ข. (3x+3)(x+1)
ค. (3x-1)(x-3)
ง. (x+3)(3x-1)
6. (2x-3)(x+5) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. 2x2
-7x-15
ข. 2x2
-7x+15
ค. 2x2
+7x+15
ง. 2x2
+7x-15
7. (3x-5)(x+1) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. 3x2
+4x-5
ข. 3x2
-4x-5
ค. 3x2
-2x-5
ง. 3x2
-2x+5
8. ตัวประกอบของ 2x2
+2x-4 ตรงกับข้อใด
ก. (2x-4)(x-1)
ข. (2x+4)(x-1)
ค. (x+4)(2x-1)
ง. (x-4)(2x+1)
9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. x2
-11x+30 = (x+5)(x+6)
ข. x2
-x-72 = (x+9)(x-8)
ค. x2
+8x+12 = (x+6)(x+2)
ง. x2
+11x-80 = (x-16)(x+5)
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. x2
+11x+18 = (x+9)(x+2)
ข. x2
-13x+42 = (x-6)(x-7)
ค. x2
-16x-39 = (x-13)(x-3)
ง. x2
+8x-48 = (x-12)(x+4)
9
สวัสดีครับน้อง ๆ พี่มีเรื่องมาฝากให้น้องชั้น ม.4
พี่รู้มาว่าตอนนี้น้อง ๆ กาลังเรียนคณิตศาสตร์
เรื่อง การแยกตัวประกอบ กันอยู่ใช่ไหมครับ อยากรู้อะไรเกี่ยวกับ
การแยกตัวประกอบเปิดเข้าไปดูได้เลยครับ
10
บทนิยาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม หมายถึง การเขียนพหุนามให้อยู่ในรูป
ผลคูณของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่า
การแยกตัวประกอบพหุนาม
ในการเขียนสัญลักษณ์แทนจานวน นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x, y แทนจานวน
และเรียกอักษรเหล่านั้นว่าตัวแปร สาหรับตัวเลขที่แทนจานวน เช่น 1, 2, 3 เรียกว่า ค่าคงตัว เรียก
ข้อความในรูปสัญลักษณ์ เช่น 2, 3x, 5+x, x-8,
2
x
ว่านิพจน์ เรียกนิพจน์ที่เขียนให้อยู่รูปการคูณของค่า
คงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กาลังของตัวแปรเป็นจานวนเต็มบวกหรือศูนย์เช่น -3,
2x, 3xy, x2
ว่า เอกนาม และเรียกนิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนามหรือการบวกเอกนามตั้งแต่
สองเอกนามขึ้นไปว่า พหุนาม
1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง
สมบัติการแจกแจง
ถ้า a, b, c เป็นจานวนจริงใด ๆ แล้ว )()()( cabacba 
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง
1. xx 22

2. xx 33 2

3. xx 416 2

4. 2
255 pp 
วิธีทา 1. xx 22
 = x.x+2.x
= x(x+2)
2. xx 33 2
 = 3.x.x+3x
= 3x(x+1)
3. xx 416 2
 = 42
x.x-4.x
11
= 4x(x-4)
4. 2
255 pp  = 5.p-5.5.p.p
= 5p(1-5p)
คราวนี้ลองทาแบบฝึกหัดเองบ้างนะครับ
น้อง ๆ คงจะเข้าใจแล้วใช่ไหม
ครับว่าวิธีการการแยกตัวประกอบนั้น
เราสามารถโดยใช้สมบัติการแจกแจง
เข้ามาช่วยได้
12
แบบฝึกหัดกรอบที่ 1
จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง
1. xx 52

2. yy 636 2

3. xx 24 2

4. 2
93 pp 
5. 7m-49m2
6. m-3m2
7. 2
5aa 
8. 2
42 aa 
9. 2
255 aa 
10. pp 189 2

11. 2
164 qq 
12. 2
749 xx 
13
เฉลยแบบฝึกหัดกรอบที่ 1
จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง
1. )5(52
 xxxx
2. )16(6636 2
 yyyy
3. xx 24 2
 = )12(2 xx
4. 2
93 pp  = )31(3 pp 
5. 7m-49m2
= 7m (1-7m)
6. m-3m2
= m (1-3m)
7. 2
5aa  = )51( aa 
8. 2
42 aa  = )21(2 aa 
9. 2
255 aa  = )51(5 aa 
10. pp 189 2
 = )21(9 pp 
11. 2
164 qq  = )41(4 qq 
12. 2
749 xx  = )7(7 xx 
เข้าใจแล้วใช่ไหมครับว่า การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจก
แจงทาได้อย่างไร คราวนี้ มารู้จักกับการแยกตัวประกอบที่อยู่ในรูป ax2
+bx+c
นั้นมีวิธีการคิดอย่างไร ตามมาเลยครับ
14
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป cbxax 2
เมื่อ a=1, c0
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 1072
 xx
วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้10 และบวกกันได้7
เพราะว่า 52 = 10 และ 5+2 = 7
การแยกตัวประกอบของ เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a=1, c0
ดังนั้นจะได้ การแยกตัวประกอบสามารถทาได้ดังนี้
หาจานวนที่ และ
ดังนั้นตัวประกอบของ =
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
ในรูป เมื่อ a=1, c0 มี
วิธีการดังนี้
15
ดังนั้นตัวประกอบของ 1072
 xx = )2)(5(  xx
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 62
 xx
วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ -6 และบวกกันได้1
เพราะว่า (-2)3 = -6 และ (-2)+3 = 1
ดังนั้นตัวประกอบของ 62
 xx = )3)(2(  xx
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 232
 xx
วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ 2 และบวกกันได้-3
เพราะว่า (-2)(-1) = 2 และ (-2)+(-1) = -3
ดังนั้นตัวประกอบของ 232
 xx = )1)(2(  xx
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 92
x
วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ -9 และบวกกันได้0
เพราะว่า (-3)(3) = -9 และ (-3)+3 = 0
ดังนั้นตัวประกอบของ 232
 xx = )3)(3(  xx
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 5052
 xx
วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ -50 และบวกกันได้-5
เพราะว่า (-10)(5) = -50 และ (-10)+5 = -5
ดังนั้นตัวประกอบของ 5052
 xx = )5)(10(  xx
16
แบบฝึกหัดกรอบที่ 2
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1. 962
 xx
2. 1492
 xx
3. 2082
 xx
4. 1662
 xx
5. 36122
 xx
6. 49142
 xx
7. 1002
x
8. 812
x
9. 11102
 xx
10. 5052
 xx
17
เฉลยแบบฝึกหัดกรอบที่ 2
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1. 962
 xx = )3)(3(  xx
2. 1492
 xx = )2)(7(  xx
3. 2082
 xx = )2)(10(  xx
4. 1662
 xx = )2)(8(  xx
5. 36122
 xx = )6)(6(  xx
6. 49142
 xx = )7)(7(  xx
7. 1002
x = )10)(10(  xx
8. 812
x = )9)(9(  xx
9. 11102
 xx = )1)(11(  xx
10. 5052
 xx = )5)(10(  xx
18
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป cbxax 2
เมื่อ a1, c0
การแยกตัวประกอบของ cbxax 2
เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a1, c0
ดังนั้นจะได้ cbxax 2
การแยกตัวประกอบสามารถทาได้ดังนี้
เช่น จงแยกตัวประกอบของ 144 2
 xx
1) หาพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามที่คูณกันได้ 2
4x เช่น (2x)(2x) หรือ (4x)(x) เขียนสอง
พหุนามที่ได้ให้เป็นพจน์หน้าของผลคูณของพหุนามใหม่ดังนี้
(2x )(2x ) หรือ (4x )(x )
2) หาจานวนสองจานวนที่มีผลคูณเท่ากับ 1 ซึ่งเท่ากับ (1)(1) หรือ (-1)(-1) เขียนจานวนทั้ง
สองเป็นพจน์หลังของพหุนามในข้อ 1) ดังนี้
(2x +1)(2x + 1) หรือ (4x +1)(x + 1)
(2x - 1)(2x - 1) หรือ (4x -1)(x - 1)
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
ในรูป เมื่อ a1, c0
มีวิธีการดังนี้
19
3) หาพจน์กลางของพหุนามจากผลคูณของพหุนามแต่ละคู่ในข้อ 2 ที่มีผลบวก
เท่ากับ -4x จะได้
-2x
จากผลคูณ (2x - 1)(2x - 1) ได้พจน์กลางเท่ากับ -4x
-2x
ดังนั้น พหุนาม 144 2
 xx = (2x - 1)(2x - 1) หรือ (2x-1)2
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
1) 4106 2
 xx
2) 8192 2
 xx
วิธีทา
1) 4106 2
 xx = )13)(42(  xx หรือ )2)(26(  xx
2) 8192 2
 xx = )9)(92(  xx
20
น้องอย่าลืมนะครับ
การแยกตัวประกอบนั้นยิ่งฝึกทาเยอะ
เท่าไหร่น้อง ๆ ก็จะสามารถแยกตัว
ประกอบของพหุนามดีกรีสองได้เร็ว
เท่านั้น ทดสอบความเข้าใจด้วยการ
21
แบบฝึกหัดกรอบที่ 3
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) 3103 2
 xx
2) 62 2
 xx
3) 12 2
 xx
4) 328 2
 xx
5) 954 2
 xx
6) 1543 2
 xx
22
เฉลยแบบฝึกหัดกรอบที่ 3
จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) 3103 2
 xx = )3)(13(  xx
2) 62 2
 xx = )2)(32(  xx
3) 12 2
 xx = )1)(12(  xx
4) 328 2
 xx = )12)(34(  xx
5) 954 2
 xx = )1)(94(  xx
6) 1543 2
 xx = )3)(53(  xx
23
แบบทดสอบหลังเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง
1. ตัวประกอบของ 562
 xx ตรงกับข้อใด
ก. (x+5)(x-1)
ข. (x-5)(x-1)
ค. (x+5)(x+1)
ง. (x+3)(x+2)
2. ตัวประกอบของ 57162
 xx ตรงกับข้อใด
ก. (x+19)(x-3)
ข. (x-19)(x+3)
ค. (x-19)(x-3)
ง. (x+19)(x+3)
3. (x+5)(x-7) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. x2
+2x – 35
ข. x2
-12x – 35
ค. x2
-2x + 35
ง. x2
-2x-35
4. (x-4)(x-6) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. x2
+10x+24
ข. x2
-10x+24
ค. x2
-10x-24
ง. x2
-2x+24
5. ตัวประกอบของ 3103 2
 xx ตรงกับข้อใด
ก. )3)(13(  xx
ข. (3x+3)(x+1)
24
ค. (3x-1)(x-3)
ง. (x+3)(3x-1)
6. (2x-3)(x+5) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. 2x2
-7x-15
ข. 2x2
-7x+15
ค. 2x2
+7x+15
ง. 2x2
+7x-15
7. (3x-5)(x+1) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด
ก. 3x2
+4x-5
ข. 3x2
-4x-5
ค. 3x2
-2x-5
ง. 3x2
-2x+5
8. ตัวประกอบของ 2x2
+2x-4 ตรงกับข้อใด
ก. (2x-4)(x-1)
ข. (2x+4)(x-1)
ค. (x+4)(2x-1)
ง. (x-4)(2x+1)
9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. x2
-11x+30 = (x+5)(x+6)
ข. x2
-x-72 = (x+9)(x-8)
ค. x2
+8x+12 = (x+6)(x+2)
ง. x2
+11x-80 = (x-16)(x+5)
10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. x2
+11x+18 = (x+9)(x+2)
ข. x2
-13x+42 = (x-6)(x-7)
ค. x2
-16x-39 = (x-13)(x-3)
ง. x2
+8x-48 = (x-12)(x+4)
25
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบ
ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ
1 ข 6 ง
2 ก 7 ค
3 ง 8 ข
4 ข 9 ก
5 ก 10 ง
26
เอกสารอ้างอิง
ศึกษาธิการ กระทรวง. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร ; 2546.
ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. คู่มือคณิตศาสตร์ ม.3 เล่มที่ 2. กรุงเทพมหานคร; 2541

More Related Content

What's hot

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
Aon Narinchoti
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
krurutsamee
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
Teraporn Thongsiri
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
monomial and polynomail
monomial and polynomailmonomial and polynomail
monomial and polynomail
Noraphon Bunkluarb
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองlekho
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Jirathorn Buenglee
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 

What's hot (20)

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
monomial and polynomail
monomial and polynomailmonomial and polynomail
monomial and polynomail
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
1831
18311831
1831
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 

Viewers also liked

Games6
Games6Games6
Games7
Games7Games7
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principleหลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
Duangnapa Inyayot
 
Games3
Games3Games3
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007KruJeabja
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
Wuttipong Tubkrathok
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน CaiDZNiiY MyLoVE
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
ครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 

Viewers also liked (12)

Model aon
Model aonModel aon
Model aon
 
เกมส์Xo
เกมส์Xoเกมส์Xo
เกมส์Xo
 
Games6
Games6Games6
Games6
 
Games7
Games7Games7
Games7
 
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principleหลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint  design principle
หลักการสร้างเกมส์ด้วย powerpoint design principle
 
Games3
Games3Games3
Games3
 
เกมเติมคำ
เกมเติมคำเกมเติมคำ
เกมเติมคำ
 
Ch7 cai
Ch7 caiCh7 cai
Ch7 cai
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAIคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
 
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Caiตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
ตัวอย่างประเภทบทเรียน Cai
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 

Similar to Factoring of polynomials2

สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
อนุชิต ไชยชมพู
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
Toongneung SP
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
krurutsamee
 
1 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate021 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate02
Bank Pieamsiri
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตaossy
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
Chon Chom
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
kroojaja
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1Nitikan2539
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์เทวัญ ภูพานทอง
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
KruGift Girlz
 

Similar to Factoring of polynomials2 (20)

สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
1 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate021 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate02
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต4ชนิดของเซต
4ชนิดของเซต
 

More from Aon Narinchoti

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Aon Narinchoti
 
Prob
ProbProb
Event
EventEvent
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
Aon Narinchoti
 
His brob
His brobHis brob
His brob
Aon Narinchoti
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
Aon Narinchoti
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
Aon Narinchoti
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
Aon Narinchoti
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Aon Narinchoti
 
Know5
Know5Know5
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
Aon Narinchoti
 
Know4
Know4Know4
Know3
Know3Know3
Know2
Know2Know2
Know1
Know1Know1
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Aon Narinchoti
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
Aon Narinchoti
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
Aon Narinchoti
 

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

Factoring of polynomials2

  • 1. 1 เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค31101 จัดทาโดย นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ ครู คศ.3 โรงเรียนจตุรพักตรพิมานรัชดาภิเษก อ.จตุรพักตรพิมาน จ.ร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 2 คานา บทเรียนสาเร็จรูป รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 รหัสวิชา ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนใน ซึ่งผู้เรียนสามารถ ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ทั้งยังสามารถประเมินผลการเรียนด้วยตนเองได้ในชั่วระยะหนึ่ง แต่ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความซื่อสัตย์ จึงจะรู้ว่ามีความสามารถในด้านสติปัญญา ในการแก้ไขปัญหามากน้อยเพียงใด สาระที่ปรากฏอยู่ในบทเรียนสาเร็จรูปนั้น จะช่วยให้ผู้เรียน เข้าใจเนื้อหาเป็นอย่างดี ก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ในชีวิตประจาวันได้ ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ คงจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียน การสอนได้เป็นอย่างดี นายนรินทร์โชติ บุณยนันท์สิริ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
  • 3. 3 คาแนะนาสาหรับครู 1. ใช้บทเรียนสาเร็จรูปชุดนี้ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบ 2. ศึกษาบทเรียนสาเร็จรูปตั้งแต่กรอบแรกจนถึงกรอบสุดท้าย ทั้งเนื้อหาและกิจกรรม ให้ เข้าใจก่อน 3. ศึกษาว่ากิจกรรมในกรอบใดที่ครูต้องเป็นผู้ให้คาแนะนาช่วยเหลือ หรือ ให้คาปรึกษาบ้าง 4. ชี้แจงให้นักเรียนอ่านคาแนะนาในการใช้บทเรียนสาเร็จรูป และปฏิบัติตามทุกขั้นตอน ทุกกรอบ ทั้งเนื้อหา กิจกรรม คาถาม คาตอบหรือแบบทดสอบ ก่อนเรียน และหลังเรียน
  • 4. 4 คาแนะนาสาหรับนักเรียน บทเรียนที่นักเรียนกาลังศึกษาอยู่นี้เรียกว่า บทเรียนสาเร็จรูป ไม่ใช่ข้อทดสอบ นักเรียนจะ สามารถเรียนรู้ในเรื่อง “การแยกตัวประกอบ” ได้ด้วยตนเอง ขอให้นักเรียนทาตามคาแนะนาต่อไปนี้ 1. นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบหรือแบบฝึกหัด 2. ก่อนที่นักเรียนจะศึกษา ควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นอันดับแรก 3. ตั้งใจทาและศึกษาเนื้อเรื่องไปตามลาดับทีละกรอบอย่างรอบคอบ ไม่เปิดข้ามเพราะจะ ทาให้สับสน 4. อ่านคาอธิบายและคาถามช้า ๆ ให้เข้าใจ คิดให้ดี แล้วจึงตอบคาถามลงในกระดาษเปล่า อย่าขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในบทเรียนสาเร็จรูปนี้ 5. เมื่อตอบคาถามเสร็จกรอบหนึ่ง จึงเปิดดูคาตอบในกรอบต่อไป เพื่อตรวจสอบดูว่า ถูกหรือผิด ถ้าตอบถูกจงทากรอบต่อไป ถ้าตอบผิด ให้ย้อนกลับไปอ่านทบทวน ทาความเข้าใจกับ เนื้อเรื่องเดิมอีกครั้ง เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงแก้คาตอบที่ผิดให้ถูกต้อง 6. ศึกษาเนื้อเรื่องไปเรื่อย ๆ “เหนื่อยก็พัก” สักครู่แล้วค่อยศึกษาต่อไป 7. เมื่อศึกษาจบทุกกรอบแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนด้วย เสร็จแล้ว ตรวจคาตอบในเฉลยหน้าต่อไป เพื่อดูความก้าวหน้าของตนเอง
  • 6. 6 สารบัญ หน้า คานา คาแนะนาสาหรับครู คาแนะนาสาหรับนักเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน 1 การแยกตัวประกอบ กรอบที่ 1การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง 4 กรอบที่ 2การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง cbxax 2 เมื่อ a=1, c0 8 กรอบที่ 3การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง cbxax 2 เมื่อ a1, c0 12 แบบทดสอบหลังเรียน 17 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 19 เอกสารอ้างอิง 20
  • 7. 7 แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนาม คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง 1. ตัวประกอบของ 562  xx ตรงกับข้อใด ก. (x+5)(x-1) ข. (x-5)(x-1) ค. (x+5)(x+1) ง. (x+3)(x+2) 2. ตัวประกอบของ 57162  xx ตรงกับข้อใด ก. (x+19)(x-3) ข. (x-19)(x+3) ค. (x-19)(x-3) ง. (x+19)(x+3) 3. (x+5)(x-7) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. x2 +2x – 35 ข. x2 -12x – 35 ค. x2 -2x + 35 ง. x2 -2x-35 4. (x-4)(x-6) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. x2 +10x+24 ข. x2 -10x+24 ค. x2 -10x-24 ง. x2 -2x+24 5. ตัวประกอบของ 3103 2  xx ตรงกับข้อใด ก. )3)(13(  xx
  • 8. 8 ข. (3x+3)(x+1) ค. (3x-1)(x-3) ง. (x+3)(3x-1) 6. (2x-3)(x+5) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. 2x2 -7x-15 ข. 2x2 -7x+15 ค. 2x2 +7x+15 ง. 2x2 +7x-15 7. (3x-5)(x+1) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. 3x2 +4x-5 ข. 3x2 -4x-5 ค. 3x2 -2x-5 ง. 3x2 -2x+5 8. ตัวประกอบของ 2x2 +2x-4 ตรงกับข้อใด ก. (2x-4)(x-1) ข. (2x+4)(x-1) ค. (x+4)(2x-1) ง. (x-4)(2x+1) 9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. x2 -11x+30 = (x+5)(x+6) ข. x2 -x-72 = (x+9)(x-8) ค. x2 +8x+12 = (x+6)(x+2) ง. x2 +11x-80 = (x-16)(x+5) 10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. x2 +11x+18 = (x+9)(x+2) ข. x2 -13x+42 = (x-6)(x-7) ค. x2 -16x-39 = (x-13)(x-3) ง. x2 +8x-48 = (x-12)(x+4)
  • 9. 9 สวัสดีครับน้อง ๆ พี่มีเรื่องมาฝากให้น้องชั้น ม.4 พี่รู้มาว่าตอนนี้น้อง ๆ กาลังเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบ กันอยู่ใช่ไหมครับ อยากรู้อะไรเกี่ยวกับ การแยกตัวประกอบเปิดเข้าไปดูได้เลยครับ
  • 10. 10 บทนิยาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม หมายถึง การเขียนพหุนามให้อยู่ในรูป ผลคูณของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่า การแยกตัวประกอบพหุนาม ในการเขียนสัญลักษณ์แทนจานวน นิยมใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็ก เช่น x, y แทนจานวน และเรียกอักษรเหล่านั้นว่าตัวแปร สาหรับตัวเลขที่แทนจานวน เช่น 1, 2, 3 เรียกว่า ค่าคงตัว เรียก ข้อความในรูปสัญลักษณ์ เช่น 2, 3x, 5+x, x-8, 2 x ว่านิพจน์ เรียกนิพจน์ที่เขียนให้อยู่รูปการคูณของค่า คงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปที่มีเลขชี้กาลังของตัวแปรเป็นจานวนเต็มบวกหรือศูนย์เช่น -3, 2x, 3xy, x2 ว่า เอกนาม และเรียกนิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปของเอกนามหรือการบวกเอกนามตั้งแต่ สองเอกนามขึ้นไปว่า พหุนาม 1. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง สมบัติการแจกแจง ถ้า a, b, c เป็นจานวนจริงใด ๆ แล้ว )()()( cabacba  ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง 1. xx 22  2. xx 33 2  3. xx 416 2  4. 2 255 pp  วิธีทา 1. xx 22  = x.x+2.x = x(x+2) 2. xx 33 2  = 3.x.x+3x = 3x(x+1) 3. xx 416 2  = 42 x.x-4.x
  • 11. 11 = 4x(x-4) 4. 2 255 pp  = 5.p-5.5.p.p = 5p(1-5p) คราวนี้ลองทาแบบฝึกหัดเองบ้างนะครับ น้อง ๆ คงจะเข้าใจแล้วใช่ไหม ครับว่าวิธีการการแยกตัวประกอบนั้น เราสามารถโดยใช้สมบัติการแจกแจง เข้ามาช่วยได้
  • 12. 12 แบบฝึกหัดกรอบที่ 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง 1. xx 52  2. yy 636 2  3. xx 24 2  4. 2 93 pp  5. 7m-49m2 6. m-3m2 7. 2 5aa  8. 2 42 aa  9. 2 255 aa  10. pp 189 2  11. 2 164 qq  12. 2 749 xx 
  • 13. 13 เฉลยแบบฝึกหัดกรอบที่ 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง 1. )5(52  xxxx 2. )16(6636 2  yyyy 3. xx 24 2  = )12(2 xx 4. 2 93 pp  = )31(3 pp  5. 7m-49m2 = 7m (1-7m) 6. m-3m2 = m (1-3m) 7. 2 5aa  = )51( aa  8. 2 42 aa  = )21(2 aa  9. 2 255 aa  = )51(5 aa  10. pp 189 2  = )21(9 pp  11. 2 164 qq  = )41(4 qq  12. 2 749 xx  = )7(7 xx  เข้าใจแล้วใช่ไหมครับว่า การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจก แจงทาได้อย่างไร คราวนี้ มารู้จักกับการแยกตัวประกอบที่อยู่ในรูป ax2 +bx+c นั้นมีวิธีการคิดอย่างไร ตามมาเลยครับ
  • 14. 14 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป cbxax 2 เมื่อ a=1, c0 ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 1072  xx วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้10 และบวกกันได้7 เพราะว่า 52 = 10 และ 5+2 = 7 การแยกตัวประกอบของ เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a=1, c0 ดังนั้นจะได้ การแยกตัวประกอบสามารถทาได้ดังนี้ หาจานวนที่ และ ดังนั้นตัวประกอบของ = การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง ในรูป เมื่อ a=1, c0 มี วิธีการดังนี้
  • 15. 15 ดังนั้นตัวประกอบของ 1072  xx = )2)(5(  xx ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 62  xx วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ -6 และบวกกันได้1 เพราะว่า (-2)3 = -6 และ (-2)+3 = 1 ดังนั้นตัวประกอบของ 62  xx = )3)(2(  xx ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 232  xx วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ 2 และบวกกันได้-3 เพราะว่า (-2)(-1) = 2 และ (-2)+(-1) = -3 ดังนั้นตัวประกอบของ 232  xx = )1)(2(  xx ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 92 x วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ -9 และบวกกันได้0 เพราะว่า (-3)(3) = -9 และ (-3)+3 = 0 ดังนั้นตัวประกอบของ 232  xx = )3)(3(  xx ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 5052  xx วิธีทา หาจานวนสองจานวนที่คูณกันได้ -50 และบวกกันได้-5 เพราะว่า (-10)(5) = -50 และ (-10)+5 = -5 ดังนั้นตัวประกอบของ 5052  xx = )5)(10(  xx
  • 16. 16 แบบฝึกหัดกรอบที่ 2 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. 962  xx 2. 1492  xx 3. 2082  xx 4. 1662  xx 5. 36122  xx 6. 49142  xx 7. 1002 x 8. 812 x 9. 11102  xx 10. 5052  xx
  • 17. 17 เฉลยแบบฝึกหัดกรอบที่ 2 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1. 962  xx = )3)(3(  xx 2. 1492  xx = )2)(7(  xx 3. 2082  xx = )2)(10(  xx 4. 1662  xx = )2)(8(  xx 5. 36122  xx = )6)(6(  xx 6. 49142  xx = )7)(7(  xx 7. 1002 x = )10)(10(  xx 8. 812 x = )9)(9(  xx 9. 11102  xx = )1)(11(  xx 10. 5052  xx = )5)(10(  xx
  • 18. 18 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป cbxax 2 เมื่อ a1, c0 การแยกตัวประกอบของ cbxax 2 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a1, c0 ดังนั้นจะได้ cbxax 2 การแยกตัวประกอบสามารถทาได้ดังนี้ เช่น จงแยกตัวประกอบของ 144 2  xx 1) หาพหุนามดีกรีหนึ่งสองพหุนามที่คูณกันได้ 2 4x เช่น (2x)(2x) หรือ (4x)(x) เขียนสอง พหุนามที่ได้ให้เป็นพจน์หน้าของผลคูณของพหุนามใหม่ดังนี้ (2x )(2x ) หรือ (4x )(x ) 2) หาจานวนสองจานวนที่มีผลคูณเท่ากับ 1 ซึ่งเท่ากับ (1)(1) หรือ (-1)(-1) เขียนจานวนทั้ง สองเป็นพจน์หลังของพหุนามในข้อ 1) ดังนี้ (2x +1)(2x + 1) หรือ (4x +1)(x + 1) (2x - 1)(2x - 1) หรือ (4x -1)(x - 1) การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง ในรูป เมื่อ a1, c0 มีวิธีการดังนี้
  • 19. 19 3) หาพจน์กลางของพหุนามจากผลคูณของพหุนามแต่ละคู่ในข้อ 2 ที่มีผลบวก เท่ากับ -4x จะได้ -2x จากผลคูณ (2x - 1)(2x - 1) ได้พจน์กลางเท่ากับ -4x -2x ดังนั้น พหุนาม 144 2  xx = (2x - 1)(2x - 1) หรือ (2x-1)2 ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 1) 4106 2  xx 2) 8192 2  xx วิธีทา 1) 4106 2  xx = )13)(42(  xx หรือ )2)(26(  xx 2) 8192 2  xx = )9)(92(  xx
  • 21. 21 แบบฝึกหัดกรอบที่ 3 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1) 3103 2  xx 2) 62 2  xx 3) 12 2  xx 4) 328 2  xx 5) 954 2  xx 6) 1543 2  xx
  • 22. 22 เฉลยแบบฝึกหัดกรอบที่ 3 จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1) 3103 2  xx = )3)(13(  xx 2) 62 2  xx = )2)(32(  xx 3) 12 2  xx = )1)(12(  xx 4) 328 2  xx = )12)(34(  xx 5) 954 2  xx = )1)(94(  xx 6) 1543 2  xx = )3)(53(  xx
  • 23. 23 แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบ คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย x ในกระดาษคาตอบหน้าข้อ ก,ข,ค, และ ง ที่ถูกต้อง 1. ตัวประกอบของ 562  xx ตรงกับข้อใด ก. (x+5)(x-1) ข. (x-5)(x-1) ค. (x+5)(x+1) ง. (x+3)(x+2) 2. ตัวประกอบของ 57162  xx ตรงกับข้อใด ก. (x+19)(x-3) ข. (x-19)(x+3) ค. (x-19)(x-3) ง. (x+19)(x+3) 3. (x+5)(x-7) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. x2 +2x – 35 ข. x2 -12x – 35 ค. x2 -2x + 35 ง. x2 -2x-35 4. (x-4)(x-6) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. x2 +10x+24 ข. x2 -10x+24 ค. x2 -10x-24 ง. x2 -2x+24 5. ตัวประกอบของ 3103 2  xx ตรงกับข้อใด ก. )3)(13(  xx ข. (3x+3)(x+1)
  • 24. 24 ค. (3x-1)(x-3) ง. (x+3)(3x-1) 6. (2x-3)(x+5) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. 2x2 -7x-15 ข. 2x2 -7x+15 ค. 2x2 +7x+15 ง. 2x2 +7x-15 7. (3x-5)(x+1) เป็นตัวประกอบของพหุนามในข้อใด ก. 3x2 +4x-5 ข. 3x2 -4x-5 ค. 3x2 -2x-5 ง. 3x2 -2x+5 8. ตัวประกอบของ 2x2 +2x-4 ตรงกับข้อใด ก. (2x-4)(x-1) ข. (2x+4)(x-1) ค. (x+4)(2x-1) ง. (x-4)(2x+1) 9. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง ก. x2 -11x+30 = (x+5)(x+6) ข. x2 -x-72 = (x+9)(x-8) ค. x2 +8x+12 = (x+6)(x+2) ง. x2 +11x-80 = (x-16)(x+5) 10. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง ก. x2 +11x+18 = (x+9)(x+2) ข. x2 -13x+42 = (x-6)(x-7) ค. x2 -16x-39 = (x-13)(x-3) ง. x2 +8x-48 = (x-12)(x+4)
  • 25. 25 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค41101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง การแยกตัวประกอบ ข้อที่ คาตอบ ข้อที่ คาตอบ 1 ข 6 ง 2 ก 7 ค 3 ง 8 ข 4 ข 9 ก 5 ก 10 ง
  • 26. 26 เอกสารอ้างอิง ศึกษาธิการ กระทรวง. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร ; 2546. ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. คู่มือคณิตศาสตร์ ม.3 เล่มที่ 2. กรุงเทพมหานคร; 2541