SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ความน่าจะเป็น
     การทดลองสุ่ม คือ การกระทาที่เราทราบว่าผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นมี
อะไรบ้าง แต่ไม่สามารถบอกอย่างถูกต้องแน่นอนว่าจะเกิดผลอะไรจากผล
ทั้งหมดที่เป็นไปได้เหล่านั้น
จากการทดลองสุ่มและเราสามารถเขียนทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการทดลอง
สุ่มได้ โดยอาจใช้แผนภาพช่วย
แซมเปิลสเปซ คือ กลุ่มของผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลอง
สุ่ม
ความน่าจะเป็นทางปฏิบัติ
 =
 - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใดๆ จะเป็นจานวนใดจานวนหนึ่งตั้งแต่ 0 ถึง
1
                            สมการกาลังสอง
เราสามารถหาคาตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0
 ได้จากสูตร x =             เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 – 4ac 0
 สมการกาลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 –
4ac < 0 ไม่มีจานวนจริงเป็นคาตอบ
 ขั้นตอนในการหาคาตอบปัญหาโดยใช้สมการ
 1. อ่านปัญหา
 2. สมมุติตัวแปรหนึ่งตัว แทนจานวนที่ต้องการทราบค่า
3. หาสมการที่แสดงความเกี่ยวข้องของตัวแปรกับจานวนอื่นๆ ที่ทราบค่า
4. แก้สมการ
5. ใช้คาตอบของสมการหาคาตอบของปัญหา
6. ตรวจคาตอบ
                                พหุนาม
    เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัว
แปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือ
จานวนเต็มบวก
    พหุนาม คือ นิพจน์สามารถเขียนในรูปเอกนามหรือสามารถเขียนใน
รูปการบวกของเอกนามตั้ง
แต่สองเอกนามขึ้นไป
    การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณ
ของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่า
 พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx +cเมื่อ a,
b, c เป็นค่าคงตัวทีa 0 และ x เป็นตัวแปร
                    ่
    การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
 x2+ bx + c เมื่อ b และ c เป็นจานวนเต็ม ทาได้เมื่อสามารถหาจานวนเต็มสอง
จานวนที่คูณกันได้ c และ
  บวกกันได้ b
 ให้ d และ e แทนจานวนเต็มสองจานวนดังกล่าว ดังนั้น
de = c
d+e=b
ฉะนั้น x2 + bx + c = x2 + (d + e)x + de
= ( x2 + dx ) + ( ex + de )
= ( x + d )x + ( x + d )e
=(x+d)(x+e)
ดังนั้น x2 + bx +c แยกตัวประกอบได้เป็น ( x + d ) ( x + e )
ตัวอย่าง
(6x-5) (x+1) = (6x-5) (x) + (6x-5) (1)
= 6x2 – 5x + 6x – 5
= 6x2 + (5x+6x) – 5
= 6x2 -5x +6x -5
= 6x2 + x – 5
จากตัวอย่างข้างต้น อาจแสดงวิธีหาพหุนามที่เป็นผลลัพธ์ได้ดังนี้
1. (6x – 5)(x + 1)
= 6x2
- พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง =
พจน์หน้าของพหุนามของผลลัพธ์
2. (6x - 5)(x + 1)
= -5
-พจน์หลังของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง = พจน์
หลังของพหุนามของผลลัพธ์
3. (6x – 5)(x + 1)
 = 6x + (-5x )
 - พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง +
พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง
    พจน์กลางของพหุนามที่เป็นผลลัพธ์
 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
 กาลังสองสมบูรณ์ คือ พหุนามดีกรีสองที่แยกตัวประกอบแล้วได้ตัว
ประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งซ้ากัน
 ดังนั้น พหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์แยกตัวประกอบได้ดังนี้
 x2 + 2ax + a2 = ( x + a )2
 x2 – 2ax + a2 = ( x – a )2
 รูปทั่วไปของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์คือ a2 +2ab + b2 และ a2 -2ab
+b2 เมื่อ a และ b เป็นพหุนาม แยกตัวประกอบได้ดังนี้
  สูตร a2 +2ab + b2 = ( a + b )2
 a2 -2ab +b2 = (a-b)2
     การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง
 พหุนามดีกรีสองที่สามารถเขียนได้ในรูป x2 – a2 เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวก
เรียกว่า ผลต่างของกาลังสอง
 จาก x2 – a2 สามารถแยกตัวประกอบได้ดังนี้ x2 – a2 = ( x + a ) ( x – a )
 สูตร x2 – a2 = ( x + a ) (x-a)
     การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทาเป็นกาลังสอง
สมบูรณ์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง x2 + bx + c โดยวิธีทาเป็นกาลัง
สองสมบูรณ์ สรุปได้คือ
 1. จัดพหุนามที่กาหนดให้อยู่ในรูป x2 + 2px +c หรือ x2 -2px +c เมื่อ p เป็น
จานวนจริงบวก
 2. ทาบางส่วนของพหุนามที่จัดไว้ในข้อ 1 ให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
โดยนากาลังสองของ p บวกเข้าและลบออกดังนี้
 x2 + 2px +c = ( x2 + 2px + p2 ) – p2 + c
 = ( x + p)2 – ( p2 - c )
 x2 – 2px + c = ( x2 - 2px + p2 ) – p2 + c
 = ( x - p)2 – ( p2 - c )
 3. ถ้า p2 – c = d2 เมื่อ d เป็นจานวนจริงบวกจากข้อ 2 จะได้
 x2 + 2px + c = ( x + p)2 – d2
 x2 - 2px + c = ( x - p)2 – d2
 4. แยกตัวประกอบของ ( x + p )2 – d2 หรือ ( x – p )2 – d2 โดยใช้สูตรการ
แยกตัวประกอบของผลต่างของกาลังสอง
 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวน
เต็ม
 พหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 และ A3 - B3 ว่าผลบวกของกาลังสาม ตามลาดับ
 สูตร A3 + B3 = ( A + B )( A2 –AB + B2)
 A3 - B3 = ( A - B )( A2 +AB + B2)
สถิติ
ในเรื่องสถิตินี้ประกอบไปด้วย
1.ตารางแจกแจงความถี่ จะประกอบด้วย
     1. อันตรภาคชั้น คือ ช่วงของตัวเลขที่แบ่งเป็นชั้นๆในตารางแจกแจง
ความถี่
     2. ข้อมูลดิบ คือ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
     3. ความถี่ คือ จานวนของข้อมูลดิบในแต่ละช่วงของอันตรภาคชั้น
ความรู้ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่
1. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ จานวนอันตรภาคชั้นที่นิยมใช้กันคือ 5
ถึง 15 อันตรภาคชั้นตามความมากน้อยของข้อมูล
2. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ ความกว้างของอันตรภาคชั้นไม่
จาเป็นต้องเท่ากันทุกชั้น
3. ในกรณีที่มีคะแนนดิบเป็นจานวนมากๆ ถ้าค่าที่น้อยที่สุดและค่าที่มาก
ที่สุดของอันตรภาคชั้นเป็นค่าที่สังเกตได้ง่าย การบันทึกกร่อยคะแนนจะ
สะดวกขึ้น
2.ขอบล่าง = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่มากที่สุดของอันตร
ภาคชั้นที่ต่ากว่าหนึ่งชั้น/2
3.ขอบบน = ค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่น้อยที่สุดของอันตร
ภาคชั้นที่สูงกว่าหนึ่งชั้น/2
4. ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบล่าง – ขอบบน
5. จุดกึ่งกลางชั้น=
หรือ จุดกึ่งกลางชั้น = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น + ค่าที่มากที่สุดของ
อันตรภาคชั้น/2
 6. ค่ากลางของข้อมูล
 ค่ากลางของข้อมูล คือ ค่าที่สามารถนามาแทนข้อมูลกลุ่มนั้นๆ เพื่อที่จะใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆได้
 ค่ากลางของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่
 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจานวน
ข้อมูล
 2. ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลนั้น
 3. มัธยมฐาน คือ ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลชุดนั้น
จากน้อยไปมาก หรือจากมาไปน้อยแล้ว ข้อมูลที่มากกว่าค่านั้น


                                   พหุนาม
    เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัว
แปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือ
จานวนเต็มบวก
    พหุนาม คือ นิพจน์สามารถเขียนในรูปเอกนามหรือสามารถเขียนใน
รูปการบวกของเอกนามตั้ง
แต่สองเอกนามขึ้นไป
    การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณ
ของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่า
 พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx +cเมื่อ a,
b, c เป็นค่าคงตัวทีa 0 และ x เป็นตัวแปร
                    ่
    การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
 x2+ bx + c เมื่อ b และ c เป็นจานวนเต็ม ทาได้เมื่อสามารถหาจานวนเต็มสอง
จานวนที่คูณกันได้ c และ
  บวกกันได้ b
 ให้ d และ e แทนจานวนเต็มสองจานวนดังกล่าว ดังนั้น
 de = c
 d+e=b
 ฉะนั้น x2 + bx + c = x2 + (d + e)x + de
 = ( x2 + dx ) + ( ex + de )
 = ( x + d )x + ( x + d )e
 =(x+d)(x+e)
 ดังนั้น x2 + bx +c แยกตัวประกอบได้เป็น ( x + d ) ( x + e )
 ตัวอย่าง
 (6x-5) (x+1) = (6x-5) (x) + (6x-5) (1)
 = 6x2 – 5x + 6x – 5
 = 6x2 + (5x+6x) – 5
 = 6x2 -5x +6x -5
 = 6x2 + x – 5
จากตัวอย่างข้างต้น อาจแสดงวิธีหาพหุนามที่เป็นผลลัพธ์ได้ดังนี้
1. (6x – 5)(x + 1)
= 6x2
- พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง =
พจน์หน้าของพหุนามของผลลัพธ์
2. (6x - 5)(x + 1)
= -5
-พจน์หลังของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง = พจน์
หลังของพหุนามของผลลัพธ์
3. (6x – 5)(x + 1)
= 6x + (-5x )
- พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง +
พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง
   พจน์กลางของพหุนามที่เป็นผลลัพธ์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
กาลังสองสมบูรณ์ คือ พหุนามดีกรีสองที่แยกตัวประกอบแล้วได้ตัว
ประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งซ้ากัน
ดังนั้น พหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์แยกตัวประกอบได้ดังนี้
x2 + 2ax + a2 = ( x + a )2
x2 – 2ax + a2 = ( x – a )2
รูปทั่วไปของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์คือ a2 +2ab + b2 และ a2 -2ab
+b2 เมื่อ a และ b เป็นพหุนาม แยกตัวประกอบได้ดังนี้
สูตร a2 +2ab + b2 = ( a + b )2
 a2 -2ab +b2 = (a-b)2
     การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง
 พหุนามดีกรีสองที่สามารถเขียนได้ในรูป x2 – a2 เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวก
เรียกว่า ผลต่างของกาลังสอง
 จาก x2 – a2 สามารถแยกตัวประกอบได้ดังนี้ x2 – a2 = ( x + a ) ( x – a )
 สูตร x2 – a2 = ( x + a ) (x-a)
     การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทาเป็นกาลังสอง
สมบูรณ์
 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง x2 + bx + c โดยวิธีทาเป็นกาลัง
สองสมบูรณ์ สรุปได้คือ
 1. จัดพหุนามที่กาหนดให้อยู่ในรูป x2 + 2px +c หรือ x2 -2px +c เมื่อ p เป็น
จานวนจริงบวก
 2. ทาบางส่วนของพหุนามที่จัดไว้ในข้อ 1 ให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์
โดยนากาลังสองของ p บวกเข้าและลบออกดังนี้
 x2 + 2px +c = ( x2 + 2px + p2 ) – p2 + c
 = ( x + p)2 – ( p2 - c )
 x2 – 2px + c = ( x2 - 2px + p2 ) – p2 + c
 = ( x - p)2 – ( p2 - c )
 3. ถ้า p2 – c = d2 เมื่อ d เป็นจานวนจริงบวกจากข้อ 2 จะได้
 x2 + 2px + c = ( x + p)2 – d2
 x2 - 2px + c = ( x - p)2 – d2
4. แยกตัวประกอบของ ( x + p )2 – d2 หรือ ( x – p )2 – d2 โดยใช้สูตรการ
แยกตัวประกอบของผลต่างของกาลังสอง
 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวน
เต็ม
 พหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 และ A3 - B3 ว่าผลบวกของกาลังสาม ตามลาดับ
 สูตร A3 + B3 = ( A + B )( A2 –AB + B2)
 A3 - B3 = ( A - B )( A2 +AB + B2)


                                 สถิติ
ในเรื่องสถิตินี้ประกอบไปด้วย
1.ตารางแจกแจงความถี่ จะประกอบด้วย
    1. อันตรภาคชั้น คือ ช่วงของตัวเลขที่แบ่งเป็นชั้นๆในตารางแจก
แจงความถี่
    2. ข้อมูลดิบ คือ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
    3. ความถี่ คือ จานวนของข้อมูลดิบในแต่ละช่วงของอันตรภาคชั้น
ความรู้ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่
1. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ จานวนอันตรภาคชั้นที่นิยมใช้กัน
คือ 5 ถึง 15 อันตรภาคชั้นตามความมากน้อยของข้อมูล
2. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ ความกว้างของอันตรภาคชั้นไม่
จาเป็นต้องเท่ากันทุกชั้น
3. ในกรณีที่มีคะแนนดิบเป็นจานวนมากๆ ถ้าค่าที่น้อยที่สุดและค่าที่
มากที่สุดของอันตรภาคชั้นเป็นค่าที่สังเกตได้ง่าย การบันทึกกร่อย
คะแนนจะสะดวกขึ้น
2.ขอบล่าง = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่มากที่สุดของ
อันตรภาคชั้นที่ต่ากว่าหนึ่งชั้น/2
3.ขอบบน = ค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่น้อยที่สุดของ
อันตรภาคชั้นที่สูงกว่าหนึ่งชั้น/2
4. ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบล่าง – ขอบบน
 5. จุดกึ่งกลางชั้น=
 หรือ จุดกึ่งกลางชั้น = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น + ค่าที่มากที่สุด
ของอันตรภาคชั้น/2
 6. ค่ากลางของข้อมูล
 ค่ากลางของข้อมูล คือ ค่าที่สามารถนามาแทนข้อมูลกลุ่มนั้นๆ
เพื่อที่จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆได้
 ค่ากลางของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่
 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วย
จานวนข้อมูล
 2. ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลนั้น
 3. มัธยมฐาน คือ ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดซึ่งเมื่อเรียงข้อมูล
ชุดนั้นจากน้อยไปมาก หรือจากมาไปน้อยแล้ว ข้อมูลที่มากกว่าค่านั้น
สมการกาลังสอง
เราสามารถหาคาตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0
 ได้จากสูตร x =             เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 – 4ac 0
 สมการกาลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 –
4ac < 0 ไม่มีจานวนจริงเป็นคาตอบ
 ขั้นตอนในการหาคาตอบปัญหาโดยใช้สมการ
 1. อ่านปัญหา
 2. สมมุติตัวแปรหนึ่งตัว แทนจานวนที่ต้องการทราบค่า
 3. หาสมการที่แสดงความเกี่ยวข้องของตัวแปรกับจานวนอื่นๆ ที่ทราบค่า
 4. แก้สมการ
 5. ใช้คาตอบของสมการหาคาตอบของปัญหา
 6. ตรวจคาตอบ

More Related Content

What's hot

เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 

What's hot (20)

เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ wan Jeerisuda
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์sawed kodnara
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยsawed kodnara
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)kruthanapornkodnara
 
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วนข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วนsawed kodnara
 

Viewers also liked (20)

สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ(สพฐ) ปี 2554 รอบ 2 (ละเอียด)
 
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วนข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
ข้อสอบสมาคมฯ ทศนิยมและเศษส่วน
 

Similar to สรุปสูตร ม.3

การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfrattapoomKruawang2
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นkruthanapornkodnara
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 

Similar to สรุปสูตร ม.3 (20)

Real
RealReal
Real
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
4339
43394339
4339
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 

More from krutew Sudarat

แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์krutew Sudarat
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2krutew Sudarat
 
แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1krutew Sudarat
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1krutew Sudarat
 
ฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองkrutew Sudarat
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นkrutew Sudarat
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านkrutew Sudarat
 

More from krutew Sudarat (19)

แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1
 
แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2สรุปสูตร ม.2
สรุปสูตร ม.2
 
ดงมรณะ7
ดงมรณะ7ดงมรณะ7
ดงมรณะ7
 
ดงมรณะ6
ดงมรณะ6ดงมรณะ6
ดงมรณะ6
 
ดงมรณะ5
ดงมรณะ5ดงมรณะ5
ดงมรณะ5
 
ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4
 
ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3
 
ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2
 
ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1
 
ฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมอง
 
Math m1 book2
Math m1 book2Math m1 book2
Math m1 book2
 
Math m1 book1
Math m1 book1Math m1 book1
Math m1 book1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
 

สรุปสูตร ม.3

  • 1. ความน่าจะเป็น การทดลองสุ่ม คือ การกระทาที่เราทราบว่าผลทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นมี อะไรบ้าง แต่ไม่สามารถบอกอย่างถูกต้องแน่นอนว่าจะเกิดผลอะไรจากผล ทั้งหมดที่เป็นไปได้เหล่านั้น จากการทดลองสุ่มและเราสามารถเขียนทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการทดลอง สุ่มได้ โดยอาจใช้แผนภาพช่วย แซมเปิลสเปซ คือ กลุ่มของผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลอง สุ่ม ความน่าจะเป็นทางปฏิบัติ = - ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใดๆ จะเป็นจานวนใดจานวนหนึ่งตั้งแต่ 0 ถึง 1 สมการกาลังสอง เราสามารถหาคาตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 ได้จากสูตร x = เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 – 4ac 0 สมการกาลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 – 4ac < 0 ไม่มีจานวนจริงเป็นคาตอบ ขั้นตอนในการหาคาตอบปัญหาโดยใช้สมการ 1. อ่านปัญหา 2. สมมุติตัวแปรหนึ่งตัว แทนจานวนที่ต้องการทราบค่า
  • 2. 3. หาสมการที่แสดงความเกี่ยวข้องของตัวแปรกับจานวนอื่นๆ ที่ทราบค่า 4. แก้สมการ 5. ใช้คาตอบของสมการหาคาตอบของปัญหา 6. ตรวจคาตอบ พหุนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัว แปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือ จานวนเต็มบวก พหุนาม คือ นิพจน์สามารถเขียนในรูปเอกนามหรือสามารถเขียนใน รูปการบวกของเอกนามตั้ง แต่สองเอกนามขึ้นไป การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณ ของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่า พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx +cเมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัวทีa 0 และ x เป็นตัวแปร ่ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง x2+ bx + c เมื่อ b และ c เป็นจานวนเต็ม ทาได้เมื่อสามารถหาจานวนเต็มสอง จานวนที่คูณกันได้ c และ บวกกันได้ b ให้ d และ e แทนจานวนเต็มสองจานวนดังกล่าว ดังนั้น
  • 3. de = c d+e=b ฉะนั้น x2 + bx + c = x2 + (d + e)x + de = ( x2 + dx ) + ( ex + de ) = ( x + d )x + ( x + d )e =(x+d)(x+e) ดังนั้น x2 + bx +c แยกตัวประกอบได้เป็น ( x + d ) ( x + e ) ตัวอย่าง (6x-5) (x+1) = (6x-5) (x) + (6x-5) (1) = 6x2 – 5x + 6x – 5 = 6x2 + (5x+6x) – 5 = 6x2 -5x +6x -5 = 6x2 + x – 5 จากตัวอย่างข้างต้น อาจแสดงวิธีหาพหุนามที่เป็นผลลัพธ์ได้ดังนี้ 1. (6x – 5)(x + 1) = 6x2 - พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง = พจน์หน้าของพหุนามของผลลัพธ์ 2. (6x - 5)(x + 1) = -5 -พจน์หลังของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง = พจน์ หลังของพหุนามของผลลัพธ์
  • 4. 3. (6x – 5)(x + 1) = 6x + (-5x ) - พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง + พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง พจน์กลางของพหุนามที่เป็นผลลัพธ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ กาลังสองสมบูรณ์ คือ พหุนามดีกรีสองที่แยกตัวประกอบแล้วได้ตัว ประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งซ้ากัน ดังนั้น พหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์แยกตัวประกอบได้ดังนี้ x2 + 2ax + a2 = ( x + a )2 x2 – 2ax + a2 = ( x – a )2 รูปทั่วไปของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์คือ a2 +2ab + b2 และ a2 -2ab +b2 เมื่อ a และ b เป็นพหุนาม แยกตัวประกอบได้ดังนี้ สูตร a2 +2ab + b2 = ( a + b )2 a2 -2ab +b2 = (a-b)2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง พหุนามดีกรีสองที่สามารถเขียนได้ในรูป x2 – a2 เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวก เรียกว่า ผลต่างของกาลังสอง จาก x2 – a2 สามารถแยกตัวประกอบได้ดังนี้ x2 – a2 = ( x + a ) ( x – a ) สูตร x2 – a2 = ( x + a ) (x-a) การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทาเป็นกาลังสอง สมบูรณ์
  • 5. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง x2 + bx + c โดยวิธีทาเป็นกาลัง สองสมบูรณ์ สรุปได้คือ 1. จัดพหุนามที่กาหนดให้อยู่ในรูป x2 + 2px +c หรือ x2 -2px +c เมื่อ p เป็น จานวนจริงบวก 2. ทาบางส่วนของพหุนามที่จัดไว้ในข้อ 1 ให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ โดยนากาลังสองของ p บวกเข้าและลบออกดังนี้ x2 + 2px +c = ( x2 + 2px + p2 ) – p2 + c = ( x + p)2 – ( p2 - c ) x2 – 2px + c = ( x2 - 2px + p2 ) – p2 + c = ( x - p)2 – ( p2 - c ) 3. ถ้า p2 – c = d2 เมื่อ d เป็นจานวนจริงบวกจากข้อ 2 จะได้ x2 + 2px + c = ( x + p)2 – d2 x2 - 2px + c = ( x - p)2 – d2 4. แยกตัวประกอบของ ( x + p )2 – d2 หรือ ( x – p )2 – d2 โดยใช้สูตรการ แยกตัวประกอบของผลต่างของกาลังสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวน เต็ม พหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 และ A3 - B3 ว่าผลบวกของกาลังสาม ตามลาดับ สูตร A3 + B3 = ( A + B )( A2 –AB + B2) A3 - B3 = ( A - B )( A2 +AB + B2)
  • 6. สถิติ ในเรื่องสถิตินี้ประกอบไปด้วย 1.ตารางแจกแจงความถี่ จะประกอบด้วย 1. อันตรภาคชั้น คือ ช่วงของตัวเลขที่แบ่งเป็นชั้นๆในตารางแจกแจง ความถี่ 2. ข้อมูลดิบ คือ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง 3. ความถี่ คือ จานวนของข้อมูลดิบในแต่ละช่วงของอันตรภาคชั้น ความรู้ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ จานวนอันตรภาคชั้นที่นิยมใช้กันคือ 5 ถึง 15 อันตรภาคชั้นตามความมากน้อยของข้อมูล 2. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ ความกว้างของอันตรภาคชั้นไม่ จาเป็นต้องเท่ากันทุกชั้น 3. ในกรณีที่มีคะแนนดิบเป็นจานวนมากๆ ถ้าค่าที่น้อยที่สุดและค่าที่มาก ที่สุดของอันตรภาคชั้นเป็นค่าที่สังเกตได้ง่าย การบันทึกกร่อยคะแนนจะ สะดวกขึ้น 2.ขอบล่าง = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่มากที่สุดของอันตร ภาคชั้นที่ต่ากว่าหนึ่งชั้น/2 3.ขอบบน = ค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่น้อยที่สุดของอันตร ภาคชั้นที่สูงกว่าหนึ่งชั้น/2 4. ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบล่าง – ขอบบน 5. จุดกึ่งกลางชั้น=
  • 7. หรือ จุดกึ่งกลางชั้น = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น + ค่าที่มากที่สุดของ อันตรภาคชั้น/2 6. ค่ากลางของข้อมูล ค่ากลางของข้อมูล คือ ค่าที่สามารถนามาแทนข้อมูลกลุ่มนั้นๆ เพื่อที่จะใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆได้ ค่ากลางของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วยจานวน ข้อมูล 2. ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลนั้น 3. มัธยมฐาน คือ ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดซึ่งเมื่อเรียงข้อมูลชุดนั้น จากน้อยไปมาก หรือจากมาไปน้อยแล้ว ข้อมูลที่มากกว่าค่านั้น พหุนาม เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัว แปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือ จานวนเต็มบวก พหุนาม คือ นิพจน์สามารถเขียนในรูปเอกนามหรือสามารถเขียนใน รูปการบวกของเอกนามตั้ง แต่สองเอกนามขึ้นไป การแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 8. การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ การเขียนพหุนามนั้นในรูปของการคูณ ของพหุนามที่มีดีกรีต่ากว่า พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx +cเมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัวทีa 0 และ x เป็นตัวแปร ่ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง x2+ bx + c เมื่อ b และ c เป็นจานวนเต็ม ทาได้เมื่อสามารถหาจานวนเต็มสอง จานวนที่คูณกันได้ c และ บวกกันได้ b ให้ d และ e แทนจานวนเต็มสองจานวนดังกล่าว ดังนั้น de = c d+e=b ฉะนั้น x2 + bx + c = x2 + (d + e)x + de = ( x2 + dx ) + ( ex + de ) = ( x + d )x + ( x + d )e =(x+d)(x+e) ดังนั้น x2 + bx +c แยกตัวประกอบได้เป็น ( x + d ) ( x + e ) ตัวอย่าง (6x-5) (x+1) = (6x-5) (x) + (6x-5) (1) = 6x2 – 5x + 6x – 5 = 6x2 + (5x+6x) – 5 = 6x2 -5x +6x -5 = 6x2 + x – 5
  • 9. จากตัวอย่างข้างต้น อาจแสดงวิธีหาพหุนามที่เป็นผลลัพธ์ได้ดังนี้ 1. (6x – 5)(x + 1) = 6x2 - พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง = พจน์หน้าของพหุนามของผลลัพธ์ 2. (6x - 5)(x + 1) = -5 -พจน์หลังของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง = พจน์ หลังของพหุนามของผลลัพธ์ 3. (6x – 5)(x + 1) = 6x + (-5x ) - พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หลังของพหุนามวงเล็บหลัง + พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บแรก x พจน์หน้าของพหุนามวงเล็บหลัง พจน์กลางของพหุนามที่เป็นผลลัพธ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ กาลังสองสมบูรณ์ คือ พหุนามดีกรีสองที่แยกตัวประกอบแล้วได้ตัว ประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งซ้ากัน ดังนั้น พหุนามดีกรีสองที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์แยกตัวประกอบได้ดังนี้ x2 + 2ax + a2 = ( x + a )2 x2 – 2ax + a2 = ( x – a )2 รูปทั่วไปของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์คือ a2 +2ab + b2 และ a2 -2ab +b2 เมื่อ a และ b เป็นพหุนาม แยกตัวประกอบได้ดังนี้
  • 10. สูตร a2 +2ab + b2 = ( a + b )2 a2 -2ab +b2 = (a-b)2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างของกาลังสอง พหุนามดีกรีสองที่สามารถเขียนได้ในรูป x2 – a2 เมื่อ a เป็นจานวนจริงบวก เรียกว่า ผลต่างของกาลังสอง จาก x2 – a2 สามารถแยกตัวประกอบได้ดังนี้ x2 – a2 = ( x + a ) ( x – a ) สูตร x2 – a2 = ( x + a ) (x-a) การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทาเป็นกาลังสอง สมบูรณ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง x2 + bx + c โดยวิธีทาเป็นกาลัง สองสมบูรณ์ สรุปได้คือ 1. จัดพหุนามที่กาหนดให้อยู่ในรูป x2 + 2px +c หรือ x2 -2px +c เมื่อ p เป็น จานวนจริงบวก 2. ทาบางส่วนของพหุนามที่จัดไว้ในข้อ 1 ให้อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ โดยนากาลังสองของ p บวกเข้าและลบออกดังนี้ x2 + 2px +c = ( x2 + 2px + p2 ) – p2 + c = ( x + p)2 – ( p2 - c ) x2 – 2px + c = ( x2 - 2px + p2 ) – p2 + c = ( x - p)2 – ( p2 - c ) 3. ถ้า p2 – c = d2 เมื่อ d เป็นจานวนจริงบวกจากข้อ 2 จะได้ x2 + 2px + c = ( x + p)2 – d2 x2 - 2px + c = ( x - p)2 – d2
  • 11. 4. แยกตัวประกอบของ ( x + p )2 – d2 หรือ ( x – p )2 – d2 โดยใช้สูตรการ แยกตัวประกอบของผลต่างของกาลังสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวน เต็ม พหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 และ A3 - B3 ว่าผลบวกของกาลังสาม ตามลาดับ สูตร A3 + B3 = ( A + B )( A2 –AB + B2) A3 - B3 = ( A - B )( A2 +AB + B2) สถิติ ในเรื่องสถิตินี้ประกอบไปด้วย 1.ตารางแจกแจงความถี่ จะประกอบด้วย 1. อันตรภาคชั้น คือ ช่วงของตัวเลขที่แบ่งเป็นชั้นๆในตารางแจก แจงความถี่ 2. ข้อมูลดิบ คือ ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลโดยตรง 3. ความถี่ คือ จานวนของข้อมูลดิบในแต่ละช่วงของอันตรภาคชั้น ความรู้ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ 1. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ จานวนอันตรภาคชั้นที่นิยมใช้กัน คือ 5 ถึง 15 อันตรภาคชั้นตามความมากน้อยของข้อมูล 2. ในการสร้างตารางแจกแจงความถี่ ความกว้างของอันตรภาคชั้นไม่ จาเป็นต้องเท่ากันทุกชั้น
  • 12. 3. ในกรณีที่มีคะแนนดิบเป็นจานวนมากๆ ถ้าค่าที่น้อยที่สุดและค่าที่ มากที่สุดของอันตรภาคชั้นเป็นค่าที่สังเกตได้ง่าย การบันทึกกร่อย คะแนนจะสะดวกขึ้น 2.ขอบล่าง = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่มากที่สุดของ อันตรภาคชั้นที่ต่ากว่าหนึ่งชั้น/2 3.ขอบบน = ค่าที่มากที่สุดของอันตรภาคชั้นนั้น + ค่าที่น้อยที่สุดของ อันตรภาคชั้นที่สูงกว่าหนึ่งชั้น/2 4. ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบล่าง – ขอบบน 5. จุดกึ่งกลางชั้น= หรือ จุดกึ่งกลางชั้น = ค่าที่น้อยที่สุดของอันตรภาคชั้น + ค่าที่มากที่สุด ของอันตรภาคชั้น/2 6. ค่ากลางของข้อมูล ค่ากลางของข้อมูล คือ ค่าที่สามารถนามาแทนข้อมูลกลุ่มนั้นๆ เพื่อที่จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นๆได้ ค่ากลางของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่ 1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทั้งหมดด้วย จานวนข้อมูล 2. ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดในข้อมูลนั้น 3. มัธยมฐาน คือ ค่าที่อยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมดซึ่งเมื่อเรียงข้อมูล ชุดนั้นจากน้อยไปมาก หรือจากมาไปน้อยแล้ว ข้อมูลที่มากกว่าค่านั้น
  • 13. สมการกาลังสอง เราสามารถหาคาตอบของสมการ ax2 + bx + c = 0 ได้จากสูตร x = เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 – 4ac 0 สมการกาลังสอง ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว a 0 และ b2 – 4ac < 0 ไม่มีจานวนจริงเป็นคาตอบ ขั้นตอนในการหาคาตอบปัญหาโดยใช้สมการ 1. อ่านปัญหา 2. สมมุติตัวแปรหนึ่งตัว แทนจานวนที่ต้องการทราบค่า 3. หาสมการที่แสดงความเกี่ยวข้องของตัวแปรกับจานวนอื่นๆ ที่ทราบค่า 4. แก้สมการ 5. ใช้คาตอบของสมการหาคาตอบของปัญหา 6. ตรวจคาตอบ