SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
อสมการ

การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว


    คณิ ตศาสตร์ พ้ืนฐาน ค33101
การเขียนประโยคสัญลักษณ์ของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
                    ประโยคภาษา                       ประโยคสัญลักษณ์
1) จานวนจานวนหนึ่งมีค่ามากว่าสาม                           x>3
2) จานวนหนึ่งมีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับหก                    x6
3) สามเท่าของจานวนหนึ่ งบวกด้วยเจ็ดมากกว่าเก้า           3x + 7 > 9
4) ห้าเท่าของผลบวกของจานวนจานวนหนึ่งกับสองน้อย          5(x + 2) < 8
     กว่าแปด
5) จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วยห้าน้อยกว่าหรื อเท่ากับสิ บ    x + 5  10
6) ผลลบของจานวนจานวนหนึ่งกับเจ็ดไม่เท่ากับสี่            x–7≠ 4
7) หกบวกกับจานวนจานวนหนึ่งน้อยกว่าแปด                     6+x<8
ตัวอย่าง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
  1) x – 5 > 3          เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร

  2) 3a + 7 < 9         เป็ น อสมการ ที่มี a เป็ นตัวแปร

  3) 3m + 1  5         เป็ น อสมการ ที่มี m เป็ นตัวแปร

  4) 7 – x < 8          เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร

  5) 2x – 1 ≠ 5         เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร
  6) x + 4              ไม่เป็ น อสมการ
การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โดยใช้สมบัติการไม่เท่ากัน
 1. สมบัติการบวก
     1.1 จาก 7 > –2
         นา 3 มาบวกทั้งสองข้าง
                7 + 3 > –2 + 3
                   10 > 1         (เป็ นจริ ง)

      1.2 จาก 7 > –2
          นา 3 มาลบทั้งสองข้าง
                 7 – 3 > –2 – 3
                    4 > –5        (เป็ นจริ ง)
1.3 จาก 7  –2
        นา 3 มาลบทั้งสองข้าง
               7 – 3  –2 – 3
                  4  –5        (เป็ นจริ ง)
    1.4 จาก –2 < 7
        นา 3 มาลบทั้งสองข้าง
               –2 – 3 < 7– 3
                    –5 < 4      (เป็ นจริ ง)
    1.5 จาก –2  7
        นา 8 มาลบทั้งสองข้าง
               –2 – 8  7 – 8
                   –10  –2     (เป็ นจริ ง)

สมบัติการบวกและการลบเป็ นจริ ง ในเครื่ องหมาย < , >, ,
2. สมบัติการคูณ
       1.1 จาก 4 > –2
           นา 3 มาคูณทั้งสองข้าง
                  4 × 3 > (–2) × 3
                     12 > –6            (เป็ นจริ ง)
      1.2 จาก 4 > –2
          นา –3 มาคูณทั้งสองข้าง
               4 ×(–3) < (–2) ×(–3)
                 –12 < 6            (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย
                                    > ให้ เป็ น < )

ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
1.3 จาก 5  –3
          นา 6 มาคูณทั้งสองข้าง
                 5 × 6  (–3) × 6
                    30  –18            (เป็ นจริ ง)

      1.4 จาก 7  –4
          นา –3 มาคูณทั้งสองข้าง
               7 ×(–3)  (–4) ×(–3)
                 –21  12           (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย
                                     ให้ เป็ น  )

ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
1.5 จาก 8 > –6
          นา 2 มาหารทั้งสองข้าง
                  8 > –6
                  2      2
                  4 > –3            (เป็ นจริ ง)
      1.6 จาก 8 > –6
         นา –2 มาหารทั้งสองข้าง
                 8 < –6
                –2     –2
                –4 < 3 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย > ให้ เป็ น < )
ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาหาร จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
           ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ หรื อหาร
           จะต้องมีการปรับเครื่ องหมาย เป็ นตรงข้าม
ให้พิจารณา ศึกษา การแก้อสมการ
โดยใช้สมบัติการไม่เท่ากัน
1. สมบัติการบวก และรวมถึงการลบ
2. สมบัติการคูณ และรวมถึงการหาร
 ในสมบัติการคูณ และการหาร ต้องระวังการคูณหรื อการหารด้วย
 จำนวนลบต้องปรับเปลี่ยนเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
 เช่น จาก > เปลี่ยนเป็ น <
      จาก < เปลี่ยนเป็ น >
    จาก เปลี่ยนเป็ น 
ตัวอย่างที่ 1) จงหาค่า x จากอสมการ x – 4 > – 7
การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร
วิธีทา x – 4 > – 7                (เราต้องตั้งเป้ าหมาย กาจัดจานวนอะไรก่อน)
       นา 4 มาบวกทั้งสองข้าง
       x–4 +4 > –7 +4                     (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย>)
             x > –3
         คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า –3
                             –3 0
 (วิธีทาลัด) x – 4 > – 7               (กาจัดจานวน–4 ก่ อน)
            นา 4 มาบวกทั้งสองข้าง
                 x > –7 +4        (บวก ข้ างซ้ ายเครื่ องหมาย>คือ –4+4 เป็ น 0 )
                  x > –3
            คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า –3
                              –3 0
ตรวจคาตอบ 1)    เลือก x = 0
               จากอสมการ x – 4 > – 7
                              0 –4 >–7

                              –4 >–7     จริ ง
ตัวอย่างที่ 2) จงหาค่า x จากอสมการ –2 x < – 8
การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร
 วิธีทา      –2 x < – 8          (เราต้ องตั้งเป้ าหมาย กาจัดจานวนอะไรก่ อน)
    นา –2 มาหารทั้งสองข้าง (นาจานวนลบ–2 หารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย <เป็ น>)
              – 2x > – 8                       (หาร แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย)
               –2    –2
                 x > 4
                 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 4
                                 0       4
  วิธีลด – 2x < – 8
       ั                               (กาจัดจานวน–2 ก่ อน)
  นา –2 มาหารทั้งสองข้าง     (หาร ข้ างซ้ ายเครื่ องหมาย คือ -2÷(-2) เป็ น 1 )
            x > –8                    (หาร ข้ างขวาของเครื่ องหมาย)
                   –2
            x > 4
            คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 4
                          0       4
ตรวจคาตอบ 2)   เลือก x = 5
                 จากอสมการ –2 x < – 8

                         – 2 ( 5) < – 8
                           – 10 < – 8     จริ ง
ตัวอย่างที่ 3) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 3x + 34  2 – 5x
การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร
วิธีทา 3x + 34  2 – 5x                  (ซ้ ายกาจัด 34 และขวากาจัด – 5x )
นา 34 มาลบ และ นา 5x มาบวกทั้งสองข้าง
       3x + 5x  2 – 34              (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย)
          8x  –32        (ซ้ ายกาจัด 8 จึงนา 8ไปหารทั้งสองข้ าง )
            x  –32                ( นา 8 ไปหาร –32 ได้ –4 )
                   8
            x  –4
      คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่าหรื อเท่ากับ –4
                        –4 0
ตรวจคาตอบ3)   เลือก x = 1
                จากอสมการ 3 x + 34  2 – 5 x

                         3 ( 1) + 34 2 – ( 1)
                                     5
                            3 + 34  2 – 5
                            37           –3       จริ ง
ตัวอย่างที่ 4) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 5 – x > 3x + 17
วิธีทา 5 – x > 3x + 17               (ซ้ ายกาจัด 5 และขวากาจัด 3x )
นา 5 มาลบ และ นา 3x มาลบทั้งสองข้าง
      –x – 3x > 17 – 5              (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย > )
         –4x > 12 (ซ้ ายกาจัด–4 นา–4ไปหารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย> )
           x < 12                 ( นา –4 ไปหาร 12 ได้ –3 )
                  –4
           x < –3
      คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่นอยกว่า –3
                                              ้
                        –3 0
ตรวจคาตอบ4)   เลือก x = – 4
                จากอสมการ 5 – x > 3 x + 17

                         5 – ( – 4 ) > 3( – 4 ) + 17
                         5 + 4 > – 12 + 17
                               9    >     5        จริ ง
ตัวอย่างที่ 5) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 3 – 4 (x – 5) < x + 8
  แนวคิด มีวงเล็บต้ องใช้ สมบัติแจกแจง a(b + c)=ab +ac หรื อคูณถอดวงเล็บ
วิธีทา 3 – 4(x – 5) < x + 8          (–4 คูณ x – 5 ถอดวงเล็บได้ –4x + 20 )
       3 – 4x + 20 < x + 8            (ซ้ ายกาจัด 3 และ 20 ขวากาจัด x )
นา3มาลบ 20มาลบ และ นา x มาลบ ทั้งสองข้าง
        –4x – x < 8 – 3 – 20            (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย < )
            –5x < –15 (ซ้ ายกาจัด–5 นา–5ไปหารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย< )
                x > –15              ( นา –5 ไปหาร –15 ได้ 3)
                        –5
                x > 3
     คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 3
                   0    3
ตรวจคาตอบ5)   เลือก x = 5
                จากอสมการ 3 – 4 ( –x5) < + 8
                                         x

                        3–4( 5 –5 ) < 5 +8
                          3 – 4(0)       <   13
                              3 –0 <         13
                                     3   < 13     จริ ง
ตัวอย่างที่ 6) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 5 + 3(7 + x)  x + 14
   แนวคิด มีวงเล็บต้ องใช้ สมบัติแจกแจง a(b + c)=ab +ac หรื อคูณถอดวงเล็บ
วิธีทา 5 + 3(7 + x)  x + 14          ( 3คูณ 7 +x ถอดวงเล็บได้ +21+3x )
        5 + 21 + 3x  x + 14        (ทางซ้ ายกาจัด 5 และ 21 ทางขวากาจัด x )
นา 5มาลบ 21 มาลบ และ นา x มาลบ ทั้งสองข้าง
           3x – x  14 – 5 – 21          (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย  )
             2x  –12                    (ซ้ ายกาจัด 2 นา 2ไปหาร )
                x  –12               ( นา 2 ไปหาร –12 ได้ –6)
                          2
                 x  –6
      คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่นอยกว่าหรื อเท่ากับ –6
                                                 ้
                          –6 0
ตรวจคาตอบ6)   เลือก x = -6
                จากอสมการ 5 + 3(7 + x  x + 14
                                    )
                      5 + 3 ( 7 - 6 )  -6 + 14
                       5 + 3 (1)        8
                           5+ 3         8
                                   8   = 8        จริ ง
ตัวอย่างที่ 7) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 8 – 3x  23
                                                   5
วิธีทา 8 – 3 x  23
           5                         (ซ้ ายกาจัด 8 )
นา 8 มาลบทั้งสองข้าง
           – 3 x  23– 8           (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย  )
              5
          –3 x  15      (ซ้ ายกาจัด –3 นา–3 หาร นา 5 คูณ )
                                       5
            5
             x  15 ×(5)
                    –3          ( นา –3ไปหาร 15 ได้ –5 แล้ ว คูณ 5

            x  –25
 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่าหรื อเท่ากับ –25

                         – 25 0
ให้พิจารณา ศึกษา การแก้อสมการ
อสมการที่มีเครื่ องหมาย ≠
ให้ใช้เครื่ องหมาย = แทนแล้วใช้สมบัติการเท่ากัน
1. สมบัติการบวก และรวมถึงการลบ

2. สมบัติการคูณ และรวมถึงการหาร

เมื่อได้คาตอบให้ใช้เครื่ องเดิมเป็ น ≠
ตัวอย่างที่ 8) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 2 – 3x ≠ 10 – x
วิธีทา 2 – 3x ≠ 10 – x              ให้ใช้ = แทน ≠ แล้วแก้สมการ
   ให้ 2 – 3x = 10 – x         (ด้ านซ้ ายกาจัด 2 และด้ านขวากาจัด –x )
นา 2 มาลบ และ นา x มาบวกทั้งสองข้าง
      –3x + x = 10 – 2              (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย > )
        –2x = 8
           x = –2 8            ( นา –2 ไปหาร 8 ได้ –4 )
           x = –4              (เปลี่ยนจาก = คืนเป็ น ≠ )
           x ≠ –4
     คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนยกเว้น –4
                         –4     0
ให้นกเรี ยนฝึ กแก้อสมการ
             ั

นักเรี ยนทาลงใน
        - กระดาษที่มีอยู่
หรื อ
        - สมุดแบบฝึ กหัดของนักเรี ยน
แบบฝึ กหัดที่ 5.2 จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟต่อไปนี้

       1) 5 – 3x > 56

       2) 16x + 3  103 – 4x
       3) 17 – 8x > 56 + 5x
      4) 5(9 – x)  4(x + 18)

      5) 2(x + 3) – 5(x – 1 )

      6) 2/3x – 4 < 14
เฉลย แบบฝึ กหัด
 1) x < –17

 2) x  5
 3) x < – 3

4) x  – 4

5) x < – 7

6) x < 27
      ต้องทาได้อย่างน้อย 4 ข้อ
นายวานิตย์ นุชดารา

                    ผูสร้าง
                      ้

       กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
โรงเรี ยนชุมแสงชนูทิศ ตาบลพิกุล อาเภอชุมแสง
          จังหวัดนครสวรรค์ 60120

More Related Content

What's hot

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2suwanpinit
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2ทับทิม เจริญตา
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวsontayath
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 

What's hot (20)

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
การหาคำตอบของอสมการตั้งแต่สองอสมการขึ้นไป2
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 

Viewers also liked

อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันอสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันทับทิม เจริญตา
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1KruPa Jggdd
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56krupornpana55
 
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมWp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุkrupornpana55
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่krupornpana55
 

Viewers also liked (20)

การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4
 
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันอสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่งWp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
Wp2บทเรียนโปรแกรมความเร็ว และความเร่ง
 
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56หน่วยย่อยที่ 1  ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์กระทำกับปรับ 24พค56
 
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรมWp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
Wp3เฉลยบทเรียนโปรแกรม
 
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
ใบกิจกรรมที่ 1 การศึกษาการตกชองวัตถุ
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แรงและกาสรเคลื่อนที่
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Similar to อสมการ

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1Rung Pj
 
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้นงานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้นทับทิม เจริญตา
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามkroojaja
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนทับทิม เจริญตา
 

Similar to อสมการ (20)

เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
การแก้อสมการเชิงเส้น3
การแก้อสมการเชิงเส้น3การแก้อสมการเชิงเส้น3
การแก้อสมการเชิงเส้น3
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1
 
112
112112
112
 
Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2Original sy eq-solve2
Original sy eq-solve2
 
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้นงานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
งานเรื่องบทที่ 5 เรื่อง อสมการเชิงเส้น
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนาม
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 

อสมการ

  • 2. การเขียนประโยคสัญลักษณ์ของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ประโยคภาษา ประโยคสัญลักษณ์ 1) จานวนจานวนหนึ่งมีค่ามากว่าสาม x>3 2) จานวนหนึ่งมีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับหก x6 3) สามเท่าของจานวนหนึ่ งบวกด้วยเจ็ดมากกว่าเก้า 3x + 7 > 9 4) ห้าเท่าของผลบวกของจานวนจานวนหนึ่งกับสองน้อย 5(x + 2) < 8 กว่าแปด 5) จานวนจานวนหนึ่งบวกด้วยห้าน้อยกว่าหรื อเท่ากับสิ บ x + 5  10 6) ผลลบของจานวนจานวนหนึ่งกับเจ็ดไม่เท่ากับสี่ x–7≠ 4 7) หกบวกกับจานวนจานวนหนึ่งน้อยกว่าแปด 6+x<8
  • 3. ตัวอย่าง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1) x – 5 > 3 เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร 2) 3a + 7 < 9 เป็ น อสมการ ที่มี a เป็ นตัวแปร 3) 3m + 1  5 เป็ น อสมการ ที่มี m เป็ นตัวแปร 4) 7 – x < 8 เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร 5) 2x – 1 ≠ 5 เป็ น อสมการ ที่มี x เป็ นตัวแปร 6) x + 4 ไม่เป็ น อสมการ
  • 4. การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติการไม่เท่ากัน 1. สมบัติการบวก 1.1 จาก 7 > –2 นา 3 มาบวกทั้งสองข้าง 7 + 3 > –2 + 3 10 > 1 (เป็ นจริ ง) 1.2 จาก 7 > –2 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง 7 – 3 > –2 – 3 4 > –5 (เป็ นจริ ง)
  • 5. 1.3 จาก 7  –2 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง 7 – 3  –2 – 3 4  –5 (เป็ นจริ ง) 1.4 จาก –2 < 7 นา 3 มาลบทั้งสองข้าง –2 – 3 < 7– 3 –5 < 4 (เป็ นจริ ง) 1.5 จาก –2  7 นา 8 มาลบทั้งสองข้าง –2 – 8  7 – 8 –10  –2 (เป็ นจริ ง) สมบัติการบวกและการลบเป็ นจริ ง ในเครื่ องหมาย < , >, ,
  • 6. 2. สมบัติการคูณ 1.1 จาก 4 > –2 นา 3 มาคูณทั้งสองข้าง 4 × 3 > (–2) × 3 12 > –6 (เป็ นจริ ง) 1.2 จาก 4 > –2 นา –3 มาคูณทั้งสองข้าง 4 ×(–3) < (–2) ×(–3) –12 < 6 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย > ให้ เป็ น < ) ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
  • 7. 1.3 จาก 5  –3 นา 6 มาคูณทั้งสองข้าง 5 × 6  (–3) × 6 30  –18 (เป็ นจริ ง) 1.4 จาก 7  –4 นา –3 มาคูณทั้งสองข้าง 7 ×(–3)  (–4) ×(–3) –21  12 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย  ให้ เป็ น  ) ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม
  • 8. 1.5 จาก 8 > –6 นา 2 มาหารทั้งสองข้าง 8 > –6 2 2 4 > –3 (เป็ นจริ ง) 1.6 จาก 8 > –6 นา –2 มาหารทั้งสองข้าง 8 < –6 –2 –2 –4 < 3 (เป็ นจริ งได้ ต้องปรั บเครื่ องหมาย > ให้ เป็ น < ) ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาหาร จะต้องมีการปรับเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม ในอสมการ เมื่อนาจานวนลบมาคูณ หรื อหาร จะต้องมีการปรับเครื่ องหมาย เป็ นตรงข้าม
  • 9. ให้พิจารณา ศึกษา การแก้อสมการ โดยใช้สมบัติการไม่เท่ากัน 1. สมบัติการบวก และรวมถึงการลบ 2. สมบัติการคูณ และรวมถึงการหาร ในสมบัติการคูณ และการหาร ต้องระวังการคูณหรื อการหารด้วย จำนวนลบต้องปรับเปลี่ยนเครื่ องหมายเป็ นตรงข้าม เช่น จาก > เปลี่ยนเป็ น < จาก < เปลี่ยนเป็ น > จาก เปลี่ยนเป็ น 
  • 10. ตัวอย่างที่ 1) จงหาค่า x จากอสมการ x – 4 > – 7 การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร วิธีทา x – 4 > – 7 (เราต้องตั้งเป้ าหมาย กาจัดจานวนอะไรก่อน) นา 4 มาบวกทั้งสองข้าง x–4 +4 > –7 +4 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย>) x > –3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า –3 –3 0 (วิธีทาลัด) x – 4 > – 7 (กาจัดจานวน–4 ก่ อน) นา 4 มาบวกทั้งสองข้าง x > –7 +4 (บวก ข้ างซ้ ายเครื่ องหมาย>คือ –4+4 เป็ น 0 ) x > –3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า –3 –3 0
  • 11. ตรวจคาตอบ 1) เลือก x = 0 จากอสมการ x – 4 > – 7 0 –4 >–7 –4 >–7 จริ ง
  • 12. ตัวอย่างที่ 2) จงหาค่า x จากอสมการ –2 x < – 8 การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร วิธีทา –2 x < – 8 (เราต้ องตั้งเป้ าหมาย กาจัดจานวนอะไรก่ อน) นา –2 มาหารทั้งสองข้าง (นาจานวนลบ–2 หารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย <เป็ น>) – 2x > – 8 (หาร แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย) –2 –2 x > 4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 4 0 4 วิธีลด – 2x < – 8 ั (กาจัดจานวน–2 ก่ อน) นา –2 มาหารทั้งสองข้าง (หาร ข้ างซ้ ายเครื่ องหมาย คือ -2÷(-2) เป็ น 1 ) x > –8 (หาร ข้ างขวาของเครื่ องหมาย) –2 x > 4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 4 0 4
  • 13. ตรวจคาตอบ 2) เลือก x = 5 จากอสมการ –2 x < – 8 – 2 ( 5) < – 8 – 10 < – 8 จริ ง
  • 14. ตัวอย่างที่ 3) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 3x + 34  2 – 5x การแก้อสมการ หรื อการหาค่าตัวแปร ในบรรทัดสุดท้ายเราต้องการ x เป็ นจานวนเท่าไร วิธีทา 3x + 34  2 – 5x (ซ้ ายกาจัด 34 และขวากาจัด – 5x ) นา 34 มาลบ และ นา 5x มาบวกทั้งสองข้าง 3x + 5x  2 – 34 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย) 8x  –32 (ซ้ ายกาจัด 8 จึงนา 8ไปหารทั้งสองข้ าง ) x  –32 ( นา 8 ไปหาร –32 ได้ –4 ) 8 x  –4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่าหรื อเท่ากับ –4 –4 0
  • 15. ตรวจคาตอบ3) เลือก x = 1 จากอสมการ 3 x + 34  2 – 5 x 3 ( 1) + 34 2 – ( 1) 5 3 + 34  2 – 5 37  –3 จริ ง
  • 16. ตัวอย่างที่ 4) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 5 – x > 3x + 17 วิธีทา 5 – x > 3x + 17 (ซ้ ายกาจัด 5 และขวากาจัด 3x ) นา 5 มาลบ และ นา 3x มาลบทั้งสองข้าง –x – 3x > 17 – 5 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย > ) –4x > 12 (ซ้ ายกาจัด–4 นา–4ไปหารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย> ) x < 12 ( นา –4 ไปหาร 12 ได้ –3 ) –4 x < –3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่นอยกว่า –3 ้ –3 0
  • 17. ตรวจคาตอบ4) เลือก x = – 4 จากอสมการ 5 – x > 3 x + 17 5 – ( – 4 ) > 3( – 4 ) + 17 5 + 4 > – 12 + 17 9 > 5 จริ ง
  • 18. ตัวอย่างที่ 5) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 3 – 4 (x – 5) < x + 8 แนวคิด มีวงเล็บต้ องใช้ สมบัติแจกแจง a(b + c)=ab +ac หรื อคูณถอดวงเล็บ วิธีทา 3 – 4(x – 5) < x + 8 (–4 คูณ x – 5 ถอดวงเล็บได้ –4x + 20 ) 3 – 4x + 20 < x + 8 (ซ้ ายกาจัด 3 และ 20 ขวากาจัด x ) นา3มาลบ 20มาลบ และ นา x มาลบ ทั้งสองข้าง –4x – x < 8 – 3 – 20 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย < ) –5x < –15 (ซ้ ายกาจัด–5 นา–5ไปหารต้ องเปลี่ยนเครื่ องหมาย< ) x > –15 ( นา –5 ไปหาร –15 ได้ 3) –5 x > 3 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่า 3 0 3
  • 19. ตรวจคาตอบ5) เลือก x = 5 จากอสมการ 3 – 4 ( –x5) < + 8 x 3–4( 5 –5 ) < 5 +8 3 – 4(0) < 13 3 –0 < 13 3 < 13 จริ ง
  • 20. ตัวอย่างที่ 6) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 5 + 3(7 + x)  x + 14 แนวคิด มีวงเล็บต้ องใช้ สมบัติแจกแจง a(b + c)=ab +ac หรื อคูณถอดวงเล็บ วิธีทา 5 + 3(7 + x)  x + 14 ( 3คูณ 7 +x ถอดวงเล็บได้ +21+3x ) 5 + 21 + 3x  x + 14 (ทางซ้ ายกาจัด 5 และ 21 ทางขวากาจัด x ) นา 5มาลบ 21 มาลบ และ นา x มาลบ ทั้งสองข้าง 3x – x  14 – 5 – 21 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย  ) 2x  –12 (ซ้ ายกาจัด 2 นา 2ไปหาร ) x  –12 ( นา 2 ไปหาร –12 ได้ –6) 2 x  –6 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่นอยกว่าหรื อเท่ากับ –6 ้ –6 0
  • 21. ตรวจคาตอบ6) เลือก x = -6 จากอสมการ 5 + 3(7 + x  x + 14 ) 5 + 3 ( 7 - 6 )  -6 + 14 5 + 3 (1)  8 5+ 3  8 8 = 8 จริ ง
  • 22. ตัวอย่างที่ 7) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 8 – 3x  23 5 วิธีทา 8 – 3 x  23 5 (ซ้ ายกาจัด 8 ) นา 8 มาลบทั้งสองข้าง – 3 x  23– 8 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย  ) 5 –3 x  15 (ซ้ ายกาจัด –3 นา–3 หาร นา 5 คูณ ) 5 5 x  15 ×(5) –3 ( นา –3ไปหาร 15 ได้ –5 แล้ ว คูณ 5 x  –25 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนที่มากกว่าหรื อเท่ากับ –25 – 25 0
  • 23. ให้พิจารณา ศึกษา การแก้อสมการ อสมการที่มีเครื่ องหมาย ≠ ให้ใช้เครื่ องหมาย = แทนแล้วใช้สมบัติการเท่ากัน 1. สมบัติการบวก และรวมถึงการลบ 2. สมบัติการคูณ และรวมถึงการหาร เมื่อได้คาตอบให้ใช้เครื่ องเดิมเป็ น ≠
  • 24. ตัวอย่างที่ 8) จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟ จาก 2 – 3x ≠ 10 – x วิธีทา 2 – 3x ≠ 10 – x ให้ใช้ = แทน ≠ แล้วแก้สมการ ให้ 2 – 3x = 10 – x (ด้ านซ้ ายกาจัด 2 และด้ านขวากาจัด –x ) นา 2 มาลบ และ นา x มาบวกทั้งสองข้าง –3x + x = 10 – 2 (บวก แต่ ละข้ างของเครื่ องหมาย > ) –2x = 8 x = –2 8 ( นา –2 ไปหาร 8 ได้ –4 ) x = –4 (เปลี่ยนจาก = คืนเป็ น ≠ ) x ≠ –4 คาตอบอสมการนี้คือ จานวนทุกจานวนยกเว้น –4 –4 0
  • 25. ให้นกเรี ยนฝึ กแก้อสมการ ั นักเรี ยนทาลงใน - กระดาษที่มีอยู่ หรื อ - สมุดแบบฝึ กหัดของนักเรี ยน
  • 26. แบบฝึ กหัดที่ 5.2 จงแก้อสมการพร้อมเขียนกราฟต่อไปนี้ 1) 5 – 3x > 56 2) 16x + 3  103 – 4x 3) 17 – 8x > 56 + 5x 4) 5(9 – x)  4(x + 18) 5) 2(x + 3) – 5(x – 1 ) 6) 2/3x – 4 < 14
  • 27. เฉลย แบบฝึ กหัด 1) x < –17 2) x  5 3) x < – 3 4) x  – 4 5) x < – 7 6) x < 27 ต้องทาได้อย่างน้อย 4 ข้อ
  • 28. นายวานิตย์ นุชดารา ผูสร้าง ้ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ โรงเรี ยนชุมแสงชนูทิศ ตาบลพิกุล อาเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ 60120