SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
บทที่ 2
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (15 ชั่วโมง)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสอง (2 ชั่วโมง)
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (4 ชั่วโมง)
2.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง)
2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใช
ทฤษฎีบทเศษเหลือ (3 ชั่วโมง)
สาระของบทนี้เปนเรื่องตอเนื่องจากที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู
เพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดกลาวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ในรูป ax2
+ bx + c เมื่อ a, b, c เปนจํานวนเต็ม a ≠ 0 และสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบ
เปนจํานวนเต็ม ในบทนี้จึงขยายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผล
ตางของกําลังสองและของพหุนามที่ทําเปนกําลังสองสมบูรณและสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปน
จํานวนจริง อีกทั้งยังมีสาระใหมที่กลาวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่สัมประสิทธิ์ของ
แตละพจนเปนจํานวนเต็ม โดยใชสมบัติการเปลี่ยนหมู สมบัติการสลับที่ สมบัติการแจกแจง หรือใช
ทฤษฎีบทเศษเหลือ ในสาระใหมนี้จะเนนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์
ของแตละพจนเปนจํานวนเต็มและสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปนจํานวนเต็มเทานั้น สําหรับ
หัวขอ2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือนั้น จะ
มีการกลาวถึงอีกครั้งในชวงชั้นที่ 4
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของบทนี้ ครูควรใหนักเรียนไดฝกทักษะมาก ๆ จนสามารถ
จัดพหุนามใหอยูในรูปที่จะนําสูตรการแยกตัวประกอบตาง ๆ มาชวยแยกตัวประกอบไดอยางคลองแคลว
โดยเฉพาะเรื่องการทําเปนกําลังสองสมบูรณ เพราะเรื่องนี้เปนพื้นฐานสําคัญของการเรียนพีชคณิตและ
การคํานวณอื่น ๆ ในชั้นที่สูงขึ้น
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณได
2. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็มและ
ไดตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็ม โดยอาศัยวิธีทําเปนกําลังสอง
สมบูรณหรือใชทฤษฎีเศษเหลือได
12
แนวทางในการจัดการเรียนรู
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสอง (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสองได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.1
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนความรูเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เคยเรียนมาแลว เชน
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูในรูปผลตางของกําลังสองและในรูปที่สามารถทําเปนกําลังสอง
สมบูรณได ทั้งนี้อาจเสริมดวยแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.1
2. กอนใหความรูเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสองและมี
สัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปนจํานวนจริง ครูควรทบทวนเกี่ยวกับสมบัติบางประการของ
จํานวนจริงคือ
( a )2
= a เมื่อ a > 0
ba = ab เมื่อ a > 0 และ b > 0
b
a = b
a เมื่อ a > 0 และ b > 0
3. การแยกตัวประกอบของพหุนาม เชน 5x4
1 2
− ในตัวอยางที่ 2 ครูอาจแนะนําวิธีทําอีก
แบบหนึ่งดังนี้
5x4
1 2
− = 4
1 (x2
– 20)
= 4
1 (x – 20 )(x + 20 )
= 4
1 (x – 52 )(x + 52 )
4. การแยกตัวประกอบของพหุนาม 8 – (x – 3)2
ในตัวอยางที่ 3 ซึ่งมีการถอดวงเล็บ ครูควรย้ํา
และทบทวนถึงวิธีการเขาวงเล็บและถอดวงเล็บดวย เพราะถาทําไมถูกตอง การคํานวณจะผิดพลาด
ทําใหแยกตัวประกอบไมไดหรือแยกตัวประกอบไดไมถูกตอง
13
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ
(4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจทบทวนความรูเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง และย้ําถึงรูปแบบของ
พหุนามที่อยูในรูปกําลังสองสมบูรณ อาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ประกอบดวยก็ได
2. ในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ ในชวงตน ๆ
ครูอาจใหนักเรียนฝกทําเฉพาะการแยกตัวประกอบที่ไดสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปน
จํานวนเต็มกอน ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนคุนเคยและมีทักษะในการทําตามวิธีการที่ใชพจนบวกเขาและลบออก
ถาครูเห็นวานักเรียนสามารถทําความเขาใจรูปแบบของการทําพหุนามดีกรีสองใหเปน
กําลังสองสมบูรณไดดีแลว ก็อาจใหนักเรียนเห็นขั้นตอนการแยกตัวประกอบของ ax2
+ bx + c เมื่อ a = 1
เปนกรณีทั่วไปดังนี้
1) จัดพหุนามที่กําหนดใหอยูในรูป x2
+ 2px + c หรือ x2
– 2px + c เมื่อ p เปน
จํานวนจริงบวก
2) ทํา x2
+ 2px หรือ x2
– 2px ที่จัดไวในขอ 1) ใหมีบางสวนเปนกําลังสองสมบูรณ
โดยนําพจน p2
บวกเขาและลบออกดังนี้
x2
+ 2px + c = (x2
+ 2px + p2
) – p2
+ c
= (x + p)2
– (p2
– c)
หรือ x2
– 2px + c = (x2
– 2px + p2
) – p2
+ c
= (x – p)2
– (p2
– c)
3) จากขอ 2) ถาให p2
– c = d2
เมื่อ d แทนจํานวนจริงบวก
จะได x2
+ 2px + c = (x + p)2
– d2
หรือ x2
– 2px + c = (x – p)2
– d2
4) แยกตัวประกอบของ (x + p)2
– d2
หรือ (x – p)2
– d2
โดยใชสูตรการแยก
ตัวประกอบของผลตางของกําลังสองคือ A2
– B2
= (A + B)(A – B) เมื่อ A และ
B เปนพหุนาม
ถาครูสอนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในกรณีทั่วไปตามขั้นตอนขางตน ก็ให
คํานึงวาสอนเพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดในเชิงคณิตศาสตร ไมตองนําไปวัดผลหรือประเมินผล
14
3. การเขียนคําตอบของการแยกตัวประกอบในตัวอยางที่ 5 ไดนําตัวประกอบรวม 3 คูณเขาไป
ในวงเล็บเพื่อใหคําตอบอยูในรูปอยางงาย มีคาคงตัวเปนจํานวนเต็มและอยูในรูปการคูณของพหุนามดีกรี
หนึ่งสองพหุนาม สําหรับตัวอยางที่ 6 ถึงตัวอยางที่ 8 ยังเขียนตัวประกอบรวมอยูนอกวงเล็บ เพราะแม
จะนําตัวประกอบรวมคูณเขาไปในวงเล็บใดวงเล็บหนึ่ง ก็ไมทําใหไดคําตอบอยูในรูปอยางงาย อยางไรก็
ตามการเขียนคําตอบดังตัวอยางที่ 5 ถึงตัวอยางที่ 8 จะเขียนตัวประกอบรวมอยูนอกวงเล็บหรือนํากลับเขา
ไปคูณในวงเล็บก็ได ครูไมควรนําประเด็นนี้มาเปนเกณฑตัดสินคะแนน
สําหรับตัวอยางที่ 8 ครูควรทําความเขาใจกับนักเรียนเปนพิเศษเกี่ยวกับการเปลี่ยนเครื่องหมาย
ในวงเล็บเมื่อเขียนผลบวกหรือผลลบในรูปของเศษสวน ครูควรย้ําและชี้ใหเห็นวาระหวางพหุนามแตละคู
ในแตละวงเล็บมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+−
2
53
2
5
x = ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ −−
2
53
2
5x = ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
2
535
x
และ 2
53
2
5
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
−− = ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ ⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛ +−
2
53
2
5x = ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
−
2
535
x
4. สําหรับกิจกรรม “ทําไดเหมือนกัน” มีเจตนาเสริมความรูใหนักเรียนไดเห็นพหุนามดีกรีสอง
ที่เปนกําลังสองสมบูรณและสัมประสิทธิ์ของบางพจนไมเปนจํานวนเต็ม ครูไมควรนําโจทยในลักษณะนี้
ไปใชในการวัดผลและประเมินผล
2.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม
(6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละ
พจนเปนจํานวนเต็มได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ก และ 2.3 ข
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในหัวขอนี้จะกลาวถึงเฉพาะการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์
เปนจํานวนเต็ม และเมื่อแยกตัวประกอบแลวสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปนจํานวนเต็ม
ดวย ดังนั้นคําตอบของแบบฝกหัดแตละขอจึงอาจมีตัวประกอบเปนพหุนามดีกรีสอง โดยเฉพาะคําตอบ
ของพหุนามที่อยูในรูปผลบวกของกําลังสามและผลตางของกําลังสาม
2. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ก และ 2.3 ข ประกอบการเรียนการสอนใหนักเรียนเห็น
ความสัมพันธระหวางการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูในรูปผลบวกของกําลังสามและผลตางของ
กําลังสามกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติก็ได
15
3. เมื่อครูใหตัวอยางการแยกตัวประกอบของพหุนามในรูปผลบวกของกําลังสามและผลตางของ
กําลังสาม ครูควรย้ําใหนักเรียนระวังในการใชสูตร A3
+ B3
= (A + B)(A2
– AB + B2
) และ
A3
– B3
= (A – B)(A2
+ AB + B2
)
นักเรียนมักจะสับสนจําพหุนาม A2
– AB + B2
หรือ A2
+ AB + B2
เปน A2
– 2AB + B2
หรือ A2
+ 2AB + B2
ซึ่งเปนพหุนามดีกรีสองที่เปนกําลังสองสมบูรณ ซึ่งไมถูกตอง
4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสามและพหุนามดีกรีสี่ที่อาศัยสมบัติการเปลี่ยนหมู
สมบัติการสลับที่และสมบัติการแจกแจง ดังตัวอยางที่ 13 และตัวอยางที่ 14 ซึ่งใชวงเล็บเปนเครื่องมือใน
การใชสมบัติตาง ๆ ดังกลาว ครูไมจําเปนตองอธิบายใหนักเรียนเห็นวาใชสมบัติเหลานั้นอยางไร แตครู
ควรใหขอสังเกตวิธีพิจารณาการเขาวงเล็บวาทําไดอยางไร อาจใหขอสังเกตกับนักเรียนในการทําโจทย
แบบฝกหัด 2.3 ค ดังนี้
กรณีที่เปนพหุนามดีกรีสามและมี 4 พจน นักเรียนควรจัดเปนสองวงเล็บใหมีวงเล็บหนึ่งอยู
ในรูปผลบวกของกําลังสามหรือผลตางของกําลังสาม พจนที่เหลือจัดเขาไวในอีกวงเล็บหนึ่งและใชสมบัติ
การแจกแจงในการแยกตัวประกอบ เชน
จัด x3
– 5x2
– 15x + 27 เปน (x3
+ 27) – (5x2
+ 15x) จะเห็นวา x3
+ 27 อยูในรูปผลบวกของ
กําลังสามและ 5x2
– 15x มี 5x เปนตัวประกอบรวม เมื่อใชสมบัติของการแจกแจงจะไดดังนี้
จาก x3
– 5x2
– 15x + 27 = (x3
+ 27) – (5x2
+ 15x)
= (x3
+ 33
) – 5x(x + 3)
= (x + 3)(x2
– 3x + 9) – 5x(x + 3)
= (x + 3)[(x2
– 3x + 9) – 5x]
= (x + 3)(x2
– 8x + 9)
สําหรับกรณีที่เปนพหุนามดีกรีสี่และมี 4 พจน จัดใหพหุนามในวงเล็บหนึ่งมี 3 พจนและ
จัดเปนกําลังสองสมบูรณได อีกพจนหนึ่งเขียนอยูในรูปกําลังสองไดและใชสูตรผลตางของกําลังสองในการ
แยกตัวประกอบ เชน
จัด 9x4
– y2
– 6y – 9 เปน (9x4
) – (y2
+ 6y + 9)
จาก 9x4
– y2
– 6y – 9 = (9x4
) – (y2
+ 6y + 9)
= (3x2
)2
– (y + 3)2
= [3x2
+ (y + 3)][3x2
– (y + 3)]
= (3x2
+ y + 3)(3x2
– y – 3)
ใชสมบัติการแจกแจง
ใชสมบัติการแจกแจง
จัดเปนกําลังสองสมบูรณได
เขียนเปนกําลังสองได
อยูในรูปผลตางของกําลังสอง
16
2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใช
ทฤษฎีบทเศษเหลือ (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็ม
โดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. เนื่องจากในการแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ บางครั้งอาจตองใช
การหารพหุนามประกอบดวย ครูจึงควรทบทวนการหารพหุนามตัวแปรเดียวที่ตัวตั้งมีดีกรีสูงกวาสองและ
ตัวหารเปนพหุนามดีกรีหนึ่งกอน โดยทบทวนถึงความรูที่เกี่ยวของกับความสัมพันธของตัวตั้ง ตัวหาร ผล
หาร และเศษ ซึ่งสัมพันธกันดังนี้
ตัวตั้ง = (ตัวหาร × ผลหาร) + เศษ
เมื่อตัวหารเปนพหุนามดีกรีหนึ่งที่อยูในรูป x – a ที่ a เปนคาคงตัว จะไดเศษจากการหาร
เปนคาคงตัว ใหครูแนะนําคําวา เศษ ที่นักเรียนเคยรูจักนั้น ตอไปนี้จะเรียกวาเศษเหลือ
กอนใหทฤษฎีบทเศษเหลือ ครูอาจหาโจทยการหารที่มีเศษเหลือใหนักเรียนทําเพิ่มเติมเพื่อ
เปรียบเทียบเศษเหลือที่ไดจากวิธีตั้งหารและวิธีแทนคา x ในพหุนาม P(x) ที่เปนตัวตั้งวาไดเศษเหลือเทากัน
หรือไม
2. ในตัวอยางที่ 6 การแยกตัวประกอบของ x3
– x2
– 8x + 12 ครูอาจใหขอสังเกตกับนักเรียน
วา เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 12 ไดลงตัวมีหลายจํานวนคือ 1, -1, 2, -2, 3, -3, 4, -4, 6, -6, 12 และ
-12 การพิจารณาแทน x ใน P(x) ดวยจํานวนเต็มใดจึงจะทําใหไดเศษเหลือเทากับ 0 นั้น ครูควรแนะนํา
ใหนักเรียนลองแทนคาโดยเริ่มจากจํานวนที่มีคาสัมบูรณนอย ๆ เชน ลองแทนดวย 1, -1, 2, -2, ... ไป
ตามลําดับ
การหาพหุนามที่เปนตัวประกอบอาจใชวิธีหาเศษเหลือที่ไดเศษเหลือเปน 0 มากกวาหนึ่งครั้ง
และอาจคิดอยางเปนระบบดังนี้
ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของ x3
– x2
– 8x + 12
ให P(x) = x3
– x2
– 8x + 12
ตัวประกอบของ 12 ไดแก 1, -1, 2, -2, 3, -3, 4, -4, 6, -6, 12 และ -12
P(1) = 13
– 12
– 8(1) + 12 = 1 – 1 – 8 + 12 ≠ 0
P(-1) = (-1)3
– (-1)2
– 8(-1) + 12 = (-1) – 1 + 8 + 12 ≠ 0
P(2) = 23
– 22
– 8(2) + 12 = 8 – 4 – 16 + 12 = 0
P(-2) = (-2)3
– (-2)2
– 8(-2) + 12 = (-8) – 4 + 16 + 12 ≠ 0
P(3) = 33
– 32
– 8(3) + 12 = 27 – 9 – 24 + 12 ≠ 0
17
P(-3) = (-3)3
– (-3)2
– 8(-3) + 12 = (-27) – 9 + 24 + 12 = 0
จะได x – 2 และ x + 3 เปนตัวประกอบของ x3
– x2
– 8x + 12
เนื่องจาก (x – 2)(x + 3) = x2
+ x – 6
เมื่อหาร x3
– x2
– 8x + 12 ดวย x2
+ x – 6
จะไดผลหารเปน x – 2
ดังนั้น x3
– x2
– 8x + 12 = (x – 2)(x + 3)(x – 2)
= (x – 2)2
(x + 3)
ครูอาจชี้ใหนักเรียนสังเกตวาในกรณีที่แทน x ใน P(x) = x3
– x2
– 8x + 12 ดวย
จํานวนเต็มบางจํานวนนั้น นักเรียนควรใชการพิจารณาผลลัพธวาเทากับศูนยหรือไม กรณีที่ไมเทากับศูนย
ก็ไมจําเปนตองระบุวามีผลลัพธเปนเทาไร
3. สําหรับการเขียนวิธีทําในแบบฝกหัด 2.4 ครูอาจใหนักเรียนแสดงวิธีแยกตัวประกอบโดยใช
ทฤษฎีบทเศษเหลือสั้น ๆ เชน ตัวอยางที่ 9 อาจทําไดดังนี้
จงแยกตัวประกอบของ x4
+ 3x3
– 27x – 81
ให P(x) = x4
+ 3x3
– 27x – 81
แทน x ดวย 3 ใน P(x)
จะได P(3) = 34
+ 3(3)3
– 27(3) – 81
= 81 + 81 – 81 – 81
= 0
จะได x – 3 เปนตัวประกอบของ x4
+ 3x3
– 27x – 81
ดังนั้น x4
+ 3x3
– 27x – 81 = (x – 3)(x3
+ 6x2
+ 18x + 27)
ให Q(x) = x3
+ 6x2
+ 18x + 27
แทน x ดวย -3 ใน Q(x)
จะได Q(-3) = (-3)3
+ 6(-3)2
+ 18(-3) + 27
= -27 + 54 – 54 + 27
= 0
จะได x + 3 เปนตัวประกอบของ x3
+ 6x2
+ 18x + 27
ดังนั้น x3
+ 6x2
+ 18x + 27 = (x + 3)(x2
+ 3x + 9)
นั่นคือ x4
+ 3x3
– 27x – 81 = (x – 3)(x + 3)(x2
+ 3x + 9)
4. สําหรับกิจกรรม “คา k เปนเทาใด” มีเจตนาเสนอไวเพื่อใหนักเรียนใชความรูเกี่ยวกับการ
หารและการแยกตัวประกอบโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือมาประยุกตหาคําตอบ โจทยในลักษณะนี้ไมเหมาะ
สําหรับนําไปวัดผลและประเมินผล อาจนําไปใชเพื่อฝกการคิดวิเคราะหกับนักเรียนที่มีความสามารถ
คอนขางสูง
18
5. สําหรับกิจกรรม “ตัวปญหา” มีเจตนาสรางเจตคติที่ดีในการเรียนคณิตศาสตร ใหนักเรียน
ไดฝกทักษะในการแยกตัวประกอบและไดตรวจสอบความถูกตองของคําตอบดวยการเชื่อมโยงกับสํานวนไทย
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 2.1
1. (x + 3)(x – 3) 2. (x + 7 )(x – 7 )
3. ( 52 + x)( 52 – x) 4. ( 23 + x)( 23 – x)
5. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
2
3
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
−
2
3
x 6. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
+
6
5
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
−
6
5
x
7. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ + 15x3
1
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ − 15x3
1
8. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ + 62x4
5
⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ − 62x4
5
9. ( x7 + 62 )( x7 – 62 ) 10. (x – 1 + 6 )(x – 1 – 6 )
11. (x + 3 + 10 )(x + 3 – 10 ) 12. (x – 2 + 33 )(x – 2 – 33 )
13. ( 25 + x – 4)( 25 – x + 4) 14. ( 24 + x + 5)( 24 – x – 5)
15. (2x + 3 + 62 )(2x + 3 – 62 ) 16. (3x – 2 + 132 )(3x – 2 – 132 )
17. (5x – 1 + 34 )(5x – 1 – 34 ) 18. ( 26 + 4x + 3)( 26 – 4x – 3)
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก
1. (x + 14)(x + 10) 2. (x + 33)(x – 17)
3. (x – 13)(x – 15) 4. (x + 5)(x – 31)
5. (x + 4 + 6 )(x + 4 – 6 ) 6. (x + 1 + 6 )(x + 1 – 6 )
7. (x – 3 + 7 )(x – 3 – 7 ) 8. (x – 1 + 11 )(x – 1 – 11 )
9. (x + 5 + 62 )(x + 5 – 62 ) 10. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
2
57
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
−
2
57
x
11. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
2
59
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
2
59
x 12. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
2
335
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
2
335
x
13. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
2
511
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
2
511
x 14. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
2
137
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
2
337
x
15. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
2
339
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
−
2
339
x 16. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
2
6515
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
−
2
6515
x
19
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข
1. (x + 7)(3x – 2) 2. (11x + 1)(x – 13)
3. (x – 5)(15x – 2) 4. -2(x + 3 + 11 )(x + 3 – 11 )
5. -3(x – 4 + 21 )(x – 4 – 21 ) 6. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
6
375
x3 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
6
375
x
7. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
3
939
x6 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
3
939
x 8. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
4
419
x4 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
4
419
x
9. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
4
571
x2- ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
−
4
571
x 10. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
−
2
135
x- ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
−
2
135
x
11. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
20
12917
x10 ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
20
12917
x 12. ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
+
4
17313
x4- ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
+
4
17313
x
คําตอบกิจกรรม “ทําไดเหมือนกัน”
1. (x – 5)2
2.
2
2
1
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
3. (x + 32 )2
4.
2
3
1
x ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ก
1. (x + 3)(x2
– 3x + 9) 2. (y + 4)(y2
– 4y + 16)
3. (2x + 1)(4x2
– 2x + 1) 4. (4z + 5)(16z2
– 20z + 25)
5. (3x + 8y)(9x2
– 24xy + 64y2
) 6. (x + 7)(x2
– 13x + 103)
7. (4x – 5)(7x2
– x + 13) 8. (7x – 4)(19x2
– 77x + 151)
9. (x – 1)(x2
+ x + 1) 10. (z – 6)(z2
+ 6z + 36)
11. (5y – 4)(25y2
+ 20y + 16) 12. (10 – 6x)(100 + 60x + 36x2
)
13. (11y – 7z)(121y2
+ 77yz + 49z2
) 14. (4x – 2)(16x2
+ 44x + 49)
15. (x – 11)(127x2
+ 131x + 67) 16. (5x – 8)(97x2
– 383x + 379)
20
คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ข
1. (x2
+ 25)(x + 5)(x – 5) 2. (9y2
+ 25)(3y + 5)(3y – 5)
3. (9x2
+ 16y2
)(3x + 4y)(3x – 4y) 4. (x2
+ x + 2)(x2
– x + 2)
5. (y2
+ 2y + 5)(y2
– 2y + 5) 6. (x2
+ 4x + 8)(x2
– 4x + 8)
7. (y2
+ 6y + 18)(y2
– 6y + 18) 8. (y + 1)(y – 1)(y2
– y + 1)(y2
+ y + 1)
9. (2x + 3)(2x – 3)(4x2
– 6x + 9)(4x2
+ 6x + 9) 10. (x + y)(x – y)(x2
– xy + y2
)(x2
+ xy + y2
)
11. (x2
+ 6)(x4
– 6x2
+ 36) 12. (7x2
+ 10z2
)(49x4
– 70x2
z2
+ 100z4
)
13. (8 – y2
)(64 + 8y2
+ y4
) 14. (6x2
– 3y2
)(36x4
+ 18x2
y2
– 9y4
)
คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ค
1. (x + 1)(x – 1)2
2. (y + 2)(y – 1)(y2
+ y +1)
3. (z – 4)(z2
+ 5z + 16) 4. (y – 6)(y2
+ 15y + 36)
5. (x + 3)(x2
– 8x + 9) 6. (x + 2y)(6x2
+ 4y2
)
7. x(x – 3)(x + 2)(x – 2) 8. (3x2
+ y + 3)(3x2
– y – 3)
9. (2x2
– y + 11)(2x2
– y – 11) 10. (3x2
– y + 3)(3x2
– y – 3)
11. (1 + x + y2
)(1 – x – y2
) 12. (x2
+ 2y2
+ 5)(x2
– 2y2
– 5)
13. (x2
– a + z)(x2
– a – z) 14. (2x2
– a + y – b)(2x2
– a – y + b)
คําตอบแบบฝกหัด 2.4
1.
1) 40 2) 3
3) 1 4) 38
5) -60 6) 0
2.
1) 121 2) -60
3) 85 4) 0
5) 14 6) 0
3. ใชทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษเหลือที่ไดจากการหาร x3
– 2x2
– 2x + 121 ดวย x + 2 ถาไดเศษเหลือ
เปน 0 แสดงวา x + 2 หาร x3
– 2x2
– 2x + 12 ไดลงตัว
21
วิธีทํา ให P(x) = x3
– 2x2
– 2x + 12
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ P(-2) เปนเศษเหลือที่ไดจากการหาร P(x) ดวย x + 2
P(-2) = (-2)3
– 2(-2)2
– 2(-2) + 12
= -8 – 8 + 4 + 12
= -16 + 16
= 0
ดังนั้น เศษเหลือเทากับ 0
นั่นคือ x + 2 หาร x3
– 2x2
– 2x + 12 ไดลงตัว
4. ใชทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษเหลือที่ไดจากการหาร x4
– 23x2
+ 18x + 40 ดวย x – 4 ถาไดเศษเหลือ
เปน 0 แสดงวา x – 4 เปนตัวประกอบของ x4
– 23x2
+ 18x + 40
วิธีทํา ให P(x) = x4
– 23x2
+ 18x + 40
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ P(4) เปนเศษเหลือที่ไดจากการหาร P(x) ดวย x – 4
P(4) = 44
– 23(4)2
+ 18(4) + 40
= 256 – 368 + 72 + 40
= 368 – 368
= 0
ดังนั้น เศษเหลือเทากับ 0
นั่นคือ x – 4 เปนตัวประกอบของ x4
– 23x2
+ 18x + 40
5.
1) (x – 1)(x – 3)(x – 4) 2) (x + 2)(x2
– 4x + 6)
3) (x – 5)(x + 2)(x + 3) 4) (x – 1)2
(x + 6)
5) (x + 2)(x + 4)(x – 4) 6) (x – 4)(x2
+ 3x + 1)
7) (x – 2)2
(x + 3)2
8) (x – 4)(x + 5)(x – 3)2
9) (x – 5)(x + 5)(x + 3)(x – 3) 10) (x + 2)(x + 1)(x – 3)(x + 4)(x – 4)
คําตอบกิจกรรม “คา k เปนเทาใด”
1. -6 2. 59
3. -27 4. -6
22
คําตอบกิจกรรม “ตัวปญหา”
1. x2
+ 2x – 3 = (x – 1)(x + 3)
2. x2
+ 4x + 1 = (x + 2 – 3)(x + 2 + 3)
3. 81x2
– 169 = (9x + 13)(9x – 13)
4. 27x3
– 1 = (3x – 1)(9x2
+ 3x + 1)
5. x4
+ 64 = (x2
+ 4x + 8)(x2
– 4x + 8)
6. x2
– 28x + 196 = (x – 14)2
7. x3
+ x2
– x – 1 = (x + 1)2
(x – 1)
สํานวนนั้นคือ อยาเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ
23
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
24
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.1
จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้
1. 3x2
+ x [ x(3x + 1) ]
2. x – 2x2
[ x(1 – 2x) ]
3. 2x(x – 3) + 3(x – 3) [ (x – 3)(2x + 3) ]
4. 3(2x – 1)2
+ 4(2x – 1) [ (2x – 1)(6x + 1) ]
5. x2
+ 4x – 5 [ (x + 5)(x – 1) ]
6. 2x2
– 5x + 3 [ (2x – 3)(x – 1) ]
7. a2
– a – 2 [ (a – 2)(a + 1) ]
8. a2
+ 6a + 9 [ (a + 3)2
]
9. 4x2
– 4x + 1 [ (2x – 1)2
]
10. 4y2
– 20y + 25 [ (2y – 5)2
]
11. 14y2
+ y – 3 [ (7y – 3)(2y + 1) ]
12. p2
– 1 [ (p – 1)(p + 1) ]
13. 4x2
– 32
[ (2x + 3)(2x – 3) ]
14. 12a2
– 27 [ 3(2a – 3)(2a + 3) ]
15. 81 – 49x2
[ (9 – 7x)(9 + 7x) ]
16. 9x2
– 121 [ (3x – 11)(3x + 11) ]
17. (2x – 1)2
– 4 [ (2x – 3)(2x + 1) ]
18. (x – 3)2
– y2
[ (x – y – 3)(x + y – 3) ]
25
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2
1. จงเขียนพหุนามตอไปนี้ใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ
ตัวอยาง x2
– 8x – 16 = x2
– 2(x)(4) + 42
16x2
+ 24x + 9 = (4x)2
+ 2(4x)(3) + 32
a2
+ 3a + 4
9 = a2
+ 2(a)
3
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+
2
3
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
4a2
– a3
4 + 9
1
= (2a)2
– 2(2a)
1
3
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+
2
1
3
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
1) a2
+ 6a + 9 = …………………….. [ a2
+ 2(a)(3) + 32
]
2) y2
– 10y + 25 = …………………….. [ y2
– 2(y)(5) + 52
]
3) x2
– 18x + 81 = …………………….. [ x2
– 2(x)(9) + 92
]
4) 4x2
+ 8x + 4 = …………………….. [ (2x)2
+ 2(2x)(2) + 22
]
5) 4x2
– 20x + 25 = …………………….. [ (2x)2
– 2(2x)(5) + 52
]
6) 100x2
– 20x + 1 = …………………….. [ (10x)2
– 2(10x) + 12
]
7) y2
+ 5y + 4
25 = …………………….. [ y2
+ 2(y)
5
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+
2
5
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
]
8) a2
– 7a + 4
49 = …………………….. [ a2
– 2(a)
7
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+
2
7
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
]
9) 4
1 a2
– 3a + 9 = …………………….. [
2
1
a2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
– 2
1
a2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
(3) + 32
]
10) 25
16 y2
+ 8y + 25 = …………………….. [
2
4
y5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ 2
4
y5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
(5) + 52
]
26
2. จงเติมพจนในชองวางเพื่อทําใหพหุนามตอไปนี้เปนพหุนามดีกรีสองที่เปนกําลังสองสมบูรณ
แลวแยกตัวประกอบ
ตัวอยาง x2
+ 6x + 9 = (x + 3)2
x2
– 14x + 49 = (x – 7)2
a2
+ 5a + 4
25 =
2
5
a 2+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
1) x2
+ ……….. + 25 = …………………… [ 10x, (x + 5)2
]
2) 4x2
– ……….. + 1 = …………………… [ 4x, (2x – 1)2
]
3) 9x2
– 24x + ……….. = …………………… [ 16, (3x – 4)2
]
4) 9x2
+ ……….. + 25 = …………………… [ 30x, (3x + 5)2
]
5) ……….. + 6a + 1 = …………………… [ 9a2
, (3a + 1)2
]
6) 64y2
– 80y + ……….. = …………………… [ 25, (8y – 5)2
]
7) x2
+ ……….. + 4
1 = …………………… [ x,
2
1
x 2+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
]
8) y2
– 3x + ……….. = …………………… [
9
4 ,
2
3
y 2−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
]
9) 64y2
……….. + 16
1 = …………………… [ 4y,
2
1
8y 4+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
]
10) 25x2
+ 15x + ……….. = …………………… [
3
2 ,
2
3
5x 2+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
]
27
กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ก
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนเห็นวา a3
+ b3
= (a + b)(a2
– ab + b3
) โดยใช
ปริมาตร
ใหนักเรียนทํากิจกรรมและตอบคําถามตอไปนี้
1. สรางกลองกระดาษทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5 กลอง ขนาดตาง ๆ กันดังนี้
กลองที่ 1 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ a หนวย
กลองที่ 2 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ b หนวย (ให b ∠ a)
กลองที่ 3 ขนาดกวาง b หนวย ยาว b หนวย และ สูง a หนวย
กลองที่ 4 ขนาดกวาง b หนวย ยาว a – b หนวย และ สูง a หนวย
กลองที่ 5 ขนาดกวาง a – b หนวย ยาว a หนวย และ สูง a หนวย
ตัวอยาง
1
a
a
a
b
b
b
2
b b
a3
a – b b
4 a
a – b
a
5
a
28
2. ใหนักเรียนหาปริมาตรของกลองแตละใบแลวเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้
ปริมาตรของกลองที่ 1 เทากับ .................................... [ a3
]
ปริมาตรของกลองที่ 2 เทากับ .................................... [ b3
]
ปริมาตรของกลองที่ 3 เทากับ .................................... [ ab2
]
ปริมาตรของกลองที่ 4 เทากับ .................................... [ ab(a – b) ]
ปริมาตรของกลองที่ 5 เทากับ .................................... [ a2
(a – b) ]
3. นํากลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 มาประกอบเปนทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความสูง a หนวย
ดังรูป ก แลวใหนักเรียนสังเกตวา ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก นี้มีปริมาตรเทากับปริมาตรของ
กลองที่ 1 หรือไม
[เทากัน]
4. ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 1 และกลองที่ 2 เทากับเทาใด [ a3
+ b3
]
5. นํากลองที่ 2 วางซอนบนกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก ในขอ 3 จะไดรูปเรขาคณิตสามมิติ
ดังรูป ข
a
5
b
a 3
a – b
4 a 1
a
a
a
รูป ก
b
a – b
รูป ข
a
5
b
a 3
b
a – b
4
2
b
a – b
29
6. จากรูปเรขาคณิตสามมิติรูป ข ใหนักเรียนดึงกลองที่ 4 ออก แลวนําไปวางซอนดานบนของ
กลองที่ 5 ใหไดดังรูป ค
7. ปริซึมรูป ค มีปริมาตรเทาใด [a3
+ b3
]
a – b b
4 a
a
5
a 3
b
b a – b
b
a – b
a
b
4
a
5
a 3
b
b
a – b
2
รูป ค
a – b
รูป ค
a
b
4
a
5
a 3
b
b
a – b
2
a – b
30
8. จากกิจกรรมในขอ 4 ขอ 6 และขอ 7 นักเรียนสามารถหาความสัมพันธของปริมาตรของรูปเรขาคณิต
สามมิติในขอ 4 และขอ 7 เปน a3
+ b3
= (a + b)(a2
– ab + b2
) ไดหรือไม ถาได จงแสดงวิธีทํา
ได ดังแนวคิดตอไปนี้
ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 2 และปริมาตรของกลองที่ 3 = b2
(a + b) ลูกบาศกหนวย
ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 4 และปริมาตรของกลองที่ 5 = a(a – b)(a + b) ลูกบาศกหนวย
เนื่องจาก ในขอ 3 ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 เทากับปริมาตร
ของกลองที่ 1
จะได ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 2 กลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 เทากับ
ผลบวกปริมาตรของกลองที่ 2 และปริมาตรของกลองที่ 1
ดังนั้น b2
(a + b) + a(a – b)(a + b) = b3
+ a3
นั่นคือ a3
+ b3
= (a + b)[b2
+ a(a – b)]
= (a + b)(a2
– ab + b2
)
a
=
1
a
a
a
b
b
b
2
b
4
a
5
a 3
b
b
a – b
2
b
a – b
31
กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ข
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนเห็นวา a3
– b3
= (a – b)(a2
+ ab + b2
) โดยใช
ปริมาตร
ใหนักเรียนทํากิจกรรมและตอบคําถามตอไปนี้
1. สรางกลองกระดาษทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5 กลอง ขนาดตาง ๆ กันดังนี้
กลองที่ 1 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ a หนวย
กลองที่ 2 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ b หนวย ให b < a
กลองที่ 3 ฐานยาวดานละ a หนวย สูง a – b หนวย
กลองที่ 4 ฐานกวาง a – b หนวย ยาว a หนวย สูง b หนวย
กลองที่ 5 ฐานกวาง b หนวย ยาว a – b หนวย สูง b หนวย
2. ใหนักเรียนหาปริมาตรของกลองแตละใบแลวเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้
ปริมาตรของกลองที่ 1 เทากับ .................................... [ a3
]
ปริมาตรของกลองที่ 2 เทากับ .................................... [ b3
]
ปริมาตรของกลองที่ 3 เทากับ .................................... [ a2
(a – b) ]
ปริมาตรของกลองที่ 4 เทากับ .................................... [ ab(a – b) ]
ปริมาตรของกลองที่ 5 เทากับ .................................... [ b2
(a – b) ]
a
a
a
1
b
b
b
2
a – b
a
b
4
b
a – b
b
5
a
a3
a – b
32
3. นํากลองที่ 2 กลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 มาประกอบกันเปนกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ดังรูป ก นักเรียนคิดวา ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก มีปริมาตรเทากับปริมาตรของกลองที่ 1 หรือไม
[เทากัน]
4. จากทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก ใหนักเรียนยกกลองที่ 2 ออกดังรูป จะไดรูปเรขาคณิตสามมิติ
ที่มีปริมาตรเทากับ a3
– b3
ใชหรือไม [ใช]
5. ใหนักเรียนหาผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5
[ a2
(a – b) + ab(a – b) + b2
(a – b) ]
6. ผลบวกของปริมาตรที่ไดในขอ 5 นักเรียนสามารถเขียนใหอยูในรูปการคูณของพหุนามสองพหุนาม
ไดหรือไม ถาได เขียนไดเปนอยางไร [ได และเขียนไดเปน (a – b)(a2
+ ab + b2
) ]
7. จากผลที่ไดในขอ 4 และขอ 6 มีความสัมพันธกันอยางไร [ a3
– b3
= (a – b)(a2
+ ab + b2
) ]
a – b a3
4
5
b
a
b
a – b
b
b
b
2
a – b a3
4
5
a
2
รูป ก
b

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วAdithun Sukprasert
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นkrusongkran
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2พัน พัน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็วโครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
โครงงานเกมหมูคิดเลขเร็ว
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรงแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 

Similar to Add m3-1-chapter2

2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)Krukomnuan
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
1 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate021 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate02Bank Pieamsiri
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newKrukomnuan
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามChitpol Kamthep
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสkrurutsamee
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 

Similar to Add m3-1-chapter2 (20)

2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
 
Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
1 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate021 141202005819-conversion-gate02
1 141202005819-conversion-gate02
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
Add m2-2-chapter2
Add m2-2-chapter2Add m2-2-chapter2
Add m2-2-chapter2
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Add m3-1-chapter2

  • 1. บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนาม (15 ชั่วโมง) 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสอง (2 ชั่วโมง) 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (4 ชั่วโมง) 2.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง) 2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใช ทฤษฎีบทเศษเหลือ (3 ชั่วโมง) สาระของบทนี้เปนเรื่องตอเนื่องจากที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู เพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดกลาวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปนจํานวนเต็ม a ≠ 0 และสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบ เปนจํานวนเต็ม ในบทนี้จึงขยายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผล ตางของกําลังสองและของพหุนามที่ทําเปนกําลังสองสมบูรณและสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปน จํานวนจริง อีกทั้งยังมีสาระใหมที่กลาวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่สัมประสิทธิ์ของ แตละพจนเปนจํานวนเต็ม โดยใชสมบัติการเปลี่ยนหมู สมบัติการสลับที่ สมบัติการแจกแจง หรือใช ทฤษฎีบทเศษเหลือ ในสาระใหมนี้จะเนนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์ ของแตละพจนเปนจํานวนเต็มและสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปนจํานวนเต็มเทานั้น สําหรับ หัวขอ2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือนั้น จะ มีการกลาวถึงอีกครั้งในชวงชั้นที่ 4 ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของบทนี้ ครูควรใหนักเรียนไดฝกทักษะมาก ๆ จนสามารถ จัดพหุนามใหอยูในรูปที่จะนําสูตรการแยกตัวประกอบตาง ๆ มาชวยแยกตัวประกอบไดอยางคลองแคลว โดยเฉพาะเรื่องการทําเปนกําลังสองสมบูรณ เพราะเรื่องนี้เปนพื้นฐานสําคัญของการเรียนพีชคณิตและ การคํานวณอื่น ๆ ในชั้นที่สูงขึ้น ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณได 2. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็มและ ไดตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็ม โดยอาศัยวิธีทําเปนกําลังสอง สมบูรณหรือใชทฤษฎีเศษเหลือได
  • 2. 12 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสอง (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสองได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.1 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนความรูเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เคยเรียนมาแลว เชน การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูในรูปผลตางของกําลังสองและในรูปที่สามารถทําเปนกําลังสอง สมบูรณได ทั้งนี้อาจเสริมดวยแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.1 2. กอนใหความรูเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตางของกําลังสองและมี สัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปนจํานวนจริง ครูควรทบทวนเกี่ยวกับสมบัติบางประการของ จํานวนจริงคือ ( a )2 = a เมื่อ a > 0 ba = ab เมื่อ a > 0 และ b > 0 b a = b a เมื่อ a > 0 และ b > 0 3. การแยกตัวประกอบของพหุนาม เชน 5x4 1 2 − ในตัวอยางที่ 2 ครูอาจแนะนําวิธีทําอีก แบบหนึ่งดังนี้ 5x4 1 2 − = 4 1 (x2 – 20) = 4 1 (x – 20 )(x + 20 ) = 4 1 (x – 52 )(x + 52 ) 4. การแยกตัวประกอบของพหุนาม 8 – (x – 3)2 ในตัวอยางที่ 3 ซึ่งมีการถอดวงเล็บ ครูควรย้ํา และทบทวนถึงวิธีการเขาวงเล็บและถอดวงเล็บดวย เพราะถาทําไมถูกตอง การคํานวณจะผิดพลาด ทําใหแยกตัวประกอบไมไดหรือแยกตัวประกอบไดไมถูกตอง
  • 3. 13 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจทบทวนความรูเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง และย้ําถึงรูปแบบของ พหุนามที่อยูในรูปกําลังสองสมบูรณ อาจใชแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ประกอบดวยก็ได 2. ในการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทําเปนกําลังสองสมบูรณ ในชวงตน ๆ ครูอาจใหนักเรียนฝกทําเฉพาะการแยกตัวประกอบที่ไดสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปน จํานวนเต็มกอน ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนคุนเคยและมีทักษะในการทําตามวิธีการที่ใชพจนบวกเขาและลบออก ถาครูเห็นวานักเรียนสามารถทําความเขาใจรูปแบบของการทําพหุนามดีกรีสองใหเปน กําลังสองสมบูรณไดดีแลว ก็อาจใหนักเรียนเห็นขั้นตอนการแยกตัวประกอบของ ax2 + bx + c เมื่อ a = 1 เปนกรณีทั่วไปดังนี้ 1) จัดพหุนามที่กําหนดใหอยูในรูป x2 + 2px + c หรือ x2 – 2px + c เมื่อ p เปน จํานวนจริงบวก 2) ทํา x2 + 2px หรือ x2 – 2px ที่จัดไวในขอ 1) ใหมีบางสวนเปนกําลังสองสมบูรณ โดยนําพจน p2 บวกเขาและลบออกดังนี้ x2 + 2px + c = (x2 + 2px + p2 ) – p2 + c = (x + p)2 – (p2 – c) หรือ x2 – 2px + c = (x2 – 2px + p2 ) – p2 + c = (x – p)2 – (p2 – c) 3) จากขอ 2) ถาให p2 – c = d2 เมื่อ d แทนจํานวนจริงบวก จะได x2 + 2px + c = (x + p)2 – d2 หรือ x2 – 2px + c = (x – p)2 – d2 4) แยกตัวประกอบของ (x + p)2 – d2 หรือ (x – p)2 – d2 โดยใชสูตรการแยก ตัวประกอบของผลตางของกําลังสองคือ A2 – B2 = (A + B)(A – B) เมื่อ A และ B เปนพหุนาม ถาครูสอนการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในกรณีทั่วไปตามขั้นตอนขางตน ก็ให คํานึงวาสอนเพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดในเชิงคณิตศาสตร ไมตองนําไปวัดผลหรือประเมินผล
  • 4. 14 3. การเขียนคําตอบของการแยกตัวประกอบในตัวอยางที่ 5 ไดนําตัวประกอบรวม 3 คูณเขาไป ในวงเล็บเพื่อใหคําตอบอยูในรูปอยางงาย มีคาคงตัวเปนจํานวนเต็มและอยูในรูปการคูณของพหุนามดีกรี หนึ่งสองพหุนาม สําหรับตัวอยางที่ 6 ถึงตัวอยางที่ 8 ยังเขียนตัวประกอบรวมอยูนอกวงเล็บ เพราะแม จะนําตัวประกอบรวมคูณเขาไปในวงเล็บใดวงเล็บหนึ่ง ก็ไมทําใหไดคําตอบอยูในรูปอยางงาย อยางไรก็ ตามการเขียนคําตอบดังตัวอยางที่ 5 ถึงตัวอยางที่ 8 จะเขียนตัวประกอบรวมอยูนอกวงเล็บหรือนํากลับเขา ไปคูณในวงเล็บก็ได ครูไมควรนําประเด็นนี้มาเปนเกณฑตัดสินคะแนน สําหรับตัวอยางที่ 8 ครูควรทําความเขาใจกับนักเรียนเปนพิเศษเกี่ยวกับการเปลี่ยนเครื่องหมาย ในวงเล็บเมื่อเขียนผลบวกหรือผลลบในรูปของเศษสวน ครูควรย้ําและชี้ใหเห็นวาระหวางพหุนามแตละคู ในแตละวงเล็บมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ +− 2 53 2 5 x = ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ −− 2 53 2 5x = ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 2 535 x และ 2 53 2 5 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ −− = ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ +− 2 53 2 5x = ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 2 535 x 4. สําหรับกิจกรรม “ทําไดเหมือนกัน” มีเจตนาเสริมความรูใหนักเรียนไดเห็นพหุนามดีกรีสอง ที่เปนกําลังสองสมบูรณและสัมประสิทธิ์ของบางพจนไมเปนจํานวนเต็ม ครูไมควรนําโจทยในลักษณะนี้ ไปใชในการวัดผลและประเมินผล 2.3 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละ พจนเปนจํานวนเต็มได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ก และ 2.3 ข ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในหัวขอนี้จะกลาวถึงเฉพาะการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกวาสองที่มีสัมประสิทธิ์ เปนจํานวนเต็ม และเมื่อแยกตัวประกอบแลวสัมประสิทธิ์ของแตละพจนของตัวประกอบเปนจํานวนเต็ม ดวย ดังนั้นคําตอบของแบบฝกหัดแตละขอจึงอาจมีตัวประกอบเปนพหุนามดีกรีสอง โดยเฉพาะคําตอบ ของพหุนามที่อยูในรูปผลบวกของกําลังสามและผลตางของกําลังสาม 2. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ก และ 2.3 ข ประกอบการเรียนการสอนใหนักเรียนเห็น ความสัมพันธระหวางการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยูในรูปผลบวกของกําลังสามและผลตางของ กําลังสามกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติก็ได
  • 5. 15 3. เมื่อครูใหตัวอยางการแยกตัวประกอบของพหุนามในรูปผลบวกของกําลังสามและผลตางของ กําลังสาม ครูควรย้ําใหนักเรียนระวังในการใชสูตร A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2 ) และ A3 – B3 = (A – B)(A2 + AB + B2 ) นักเรียนมักจะสับสนจําพหุนาม A2 – AB + B2 หรือ A2 + AB + B2 เปน A2 – 2AB + B2 หรือ A2 + 2AB + B2 ซึ่งเปนพหุนามดีกรีสองที่เปนกําลังสองสมบูรณ ซึ่งไมถูกตอง 4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสามและพหุนามดีกรีสี่ที่อาศัยสมบัติการเปลี่ยนหมู สมบัติการสลับที่และสมบัติการแจกแจง ดังตัวอยางที่ 13 และตัวอยางที่ 14 ซึ่งใชวงเล็บเปนเครื่องมือใน การใชสมบัติตาง ๆ ดังกลาว ครูไมจําเปนตองอธิบายใหนักเรียนเห็นวาใชสมบัติเหลานั้นอยางไร แตครู ควรใหขอสังเกตวิธีพิจารณาการเขาวงเล็บวาทําไดอยางไร อาจใหขอสังเกตกับนักเรียนในการทําโจทย แบบฝกหัด 2.3 ค ดังนี้ กรณีที่เปนพหุนามดีกรีสามและมี 4 พจน นักเรียนควรจัดเปนสองวงเล็บใหมีวงเล็บหนึ่งอยู ในรูปผลบวกของกําลังสามหรือผลตางของกําลังสาม พจนที่เหลือจัดเขาไวในอีกวงเล็บหนึ่งและใชสมบัติ การแจกแจงในการแยกตัวประกอบ เชน จัด x3 – 5x2 – 15x + 27 เปน (x3 + 27) – (5x2 + 15x) จะเห็นวา x3 + 27 อยูในรูปผลบวกของ กําลังสามและ 5x2 – 15x มี 5x เปนตัวประกอบรวม เมื่อใชสมบัติของการแจกแจงจะไดดังนี้ จาก x3 – 5x2 – 15x + 27 = (x3 + 27) – (5x2 + 15x) = (x3 + 33 ) – 5x(x + 3) = (x + 3)(x2 – 3x + 9) – 5x(x + 3) = (x + 3)[(x2 – 3x + 9) – 5x] = (x + 3)(x2 – 8x + 9) สําหรับกรณีที่เปนพหุนามดีกรีสี่และมี 4 พจน จัดใหพหุนามในวงเล็บหนึ่งมี 3 พจนและ จัดเปนกําลังสองสมบูรณได อีกพจนหนึ่งเขียนอยูในรูปกําลังสองไดและใชสูตรผลตางของกําลังสองในการ แยกตัวประกอบ เชน จัด 9x4 – y2 – 6y – 9 เปน (9x4 ) – (y2 + 6y + 9) จาก 9x4 – y2 – 6y – 9 = (9x4 ) – (y2 + 6y + 9) = (3x2 )2 – (y + 3)2 = [3x2 + (y + 3)][3x2 – (y + 3)] = (3x2 + y + 3)(3x2 – y – 3) ใชสมบัติการแจกแจง ใชสมบัติการแจกแจง จัดเปนกําลังสองสมบูรณได เขียนเปนกําลังสองได อยูในรูปผลตางของกําลังสอง
  • 6. 16 2.4 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เปนจํานวนเต็มโดยใช ทฤษฎีบทเศษเหลือ (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็ม โดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เนื่องจากในการแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือ บางครั้งอาจตองใช การหารพหุนามประกอบดวย ครูจึงควรทบทวนการหารพหุนามตัวแปรเดียวที่ตัวตั้งมีดีกรีสูงกวาสองและ ตัวหารเปนพหุนามดีกรีหนึ่งกอน โดยทบทวนถึงความรูที่เกี่ยวของกับความสัมพันธของตัวตั้ง ตัวหาร ผล หาร และเศษ ซึ่งสัมพันธกันดังนี้ ตัวตั้ง = (ตัวหาร × ผลหาร) + เศษ เมื่อตัวหารเปนพหุนามดีกรีหนึ่งที่อยูในรูป x – a ที่ a เปนคาคงตัว จะไดเศษจากการหาร เปนคาคงตัว ใหครูแนะนําคําวา เศษ ที่นักเรียนเคยรูจักนั้น ตอไปนี้จะเรียกวาเศษเหลือ กอนใหทฤษฎีบทเศษเหลือ ครูอาจหาโจทยการหารที่มีเศษเหลือใหนักเรียนทําเพิ่มเติมเพื่อ เปรียบเทียบเศษเหลือที่ไดจากวิธีตั้งหารและวิธีแทนคา x ในพหุนาม P(x) ที่เปนตัวตั้งวาไดเศษเหลือเทากัน หรือไม 2. ในตัวอยางที่ 6 การแยกตัวประกอบของ x3 – x2 – 8x + 12 ครูอาจใหขอสังเกตกับนักเรียน วา เนื่องจากจํานวนเต็มที่หาร 12 ไดลงตัวมีหลายจํานวนคือ 1, -1, 2, -2, 3, -3, 4, -4, 6, -6, 12 และ -12 การพิจารณาแทน x ใน P(x) ดวยจํานวนเต็มใดจึงจะทําใหไดเศษเหลือเทากับ 0 นั้น ครูควรแนะนํา ใหนักเรียนลองแทนคาโดยเริ่มจากจํานวนที่มีคาสัมบูรณนอย ๆ เชน ลองแทนดวย 1, -1, 2, -2, ... ไป ตามลําดับ การหาพหุนามที่เปนตัวประกอบอาจใชวิธีหาเศษเหลือที่ไดเศษเหลือเปน 0 มากกวาหนึ่งครั้ง และอาจคิดอยางเปนระบบดังนี้ ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของ x3 – x2 – 8x + 12 ให P(x) = x3 – x2 – 8x + 12 ตัวประกอบของ 12 ไดแก 1, -1, 2, -2, 3, -3, 4, -4, 6, -6, 12 และ -12 P(1) = 13 – 12 – 8(1) + 12 = 1 – 1 – 8 + 12 ≠ 0 P(-1) = (-1)3 – (-1)2 – 8(-1) + 12 = (-1) – 1 + 8 + 12 ≠ 0 P(2) = 23 – 22 – 8(2) + 12 = 8 – 4 – 16 + 12 = 0 P(-2) = (-2)3 – (-2)2 – 8(-2) + 12 = (-8) – 4 + 16 + 12 ≠ 0 P(3) = 33 – 32 – 8(3) + 12 = 27 – 9 – 24 + 12 ≠ 0
  • 7. 17 P(-3) = (-3)3 – (-3)2 – 8(-3) + 12 = (-27) – 9 + 24 + 12 = 0 จะได x – 2 และ x + 3 เปนตัวประกอบของ x3 – x2 – 8x + 12 เนื่องจาก (x – 2)(x + 3) = x2 + x – 6 เมื่อหาร x3 – x2 – 8x + 12 ดวย x2 + x – 6 จะไดผลหารเปน x – 2 ดังนั้น x3 – x2 – 8x + 12 = (x – 2)(x + 3)(x – 2) = (x – 2)2 (x + 3) ครูอาจชี้ใหนักเรียนสังเกตวาในกรณีที่แทน x ใน P(x) = x3 – x2 – 8x + 12 ดวย จํานวนเต็มบางจํานวนนั้น นักเรียนควรใชการพิจารณาผลลัพธวาเทากับศูนยหรือไม กรณีที่ไมเทากับศูนย ก็ไมจําเปนตองระบุวามีผลลัพธเปนเทาไร 3. สําหรับการเขียนวิธีทําในแบบฝกหัด 2.4 ครูอาจใหนักเรียนแสดงวิธีแยกตัวประกอบโดยใช ทฤษฎีบทเศษเหลือสั้น ๆ เชน ตัวอยางที่ 9 อาจทําไดดังนี้ จงแยกตัวประกอบของ x4 + 3x3 – 27x – 81 ให P(x) = x4 + 3x3 – 27x – 81 แทน x ดวย 3 ใน P(x) จะได P(3) = 34 + 3(3)3 – 27(3) – 81 = 81 + 81 – 81 – 81 = 0 จะได x – 3 เปนตัวประกอบของ x4 + 3x3 – 27x – 81 ดังนั้น x4 + 3x3 – 27x – 81 = (x – 3)(x3 + 6x2 + 18x + 27) ให Q(x) = x3 + 6x2 + 18x + 27 แทน x ดวย -3 ใน Q(x) จะได Q(-3) = (-3)3 + 6(-3)2 + 18(-3) + 27 = -27 + 54 – 54 + 27 = 0 จะได x + 3 เปนตัวประกอบของ x3 + 6x2 + 18x + 27 ดังนั้น x3 + 6x2 + 18x + 27 = (x + 3)(x2 + 3x + 9) นั่นคือ x4 + 3x3 – 27x – 81 = (x – 3)(x + 3)(x2 + 3x + 9) 4. สําหรับกิจกรรม “คา k เปนเทาใด” มีเจตนาเสนอไวเพื่อใหนักเรียนใชความรูเกี่ยวกับการ หารและการแยกตัวประกอบโดยใชทฤษฎีบทเศษเหลือมาประยุกตหาคําตอบ โจทยในลักษณะนี้ไมเหมาะ สําหรับนําไปวัดผลและประเมินผล อาจนําไปใชเพื่อฝกการคิดวิเคราะหกับนักเรียนที่มีความสามารถ คอนขางสูง
  • 8. 18 5. สําหรับกิจกรรม “ตัวปญหา” มีเจตนาสรางเจตคติที่ดีในการเรียนคณิตศาสตร ใหนักเรียน ไดฝกทักษะในการแยกตัวประกอบและไดตรวจสอบความถูกตองของคําตอบดวยการเชื่อมโยงกับสํานวนไทย คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 2.1 1. (x + 3)(x – 3) 2. (x + 7 )(x – 7 ) 3. ( 52 + x)( 52 – x) 4. ( 23 + x)( 23 – x) 5. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 2 3 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 2 3 x 6. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 6 5 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 6 5 x 7. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 15x3 1 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 15x3 1 8. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 62x4 5 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 62x4 5 9. ( x7 + 62 )( x7 – 62 ) 10. (x – 1 + 6 )(x – 1 – 6 ) 11. (x + 3 + 10 )(x + 3 – 10 ) 12. (x – 2 + 33 )(x – 2 – 33 ) 13. ( 25 + x – 4)( 25 – x + 4) 14. ( 24 + x + 5)( 24 – x – 5) 15. (2x + 3 + 62 )(2x + 3 – 62 ) 16. (3x – 2 + 132 )(3x – 2 – 132 ) 17. (5x – 1 + 34 )(5x – 1 – 34 ) 18. ( 26 + 4x + 3)( 26 – 4x – 3) คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก 1. (x + 14)(x + 10) 2. (x + 33)(x – 17) 3. (x – 13)(x – 15) 4. (x + 5)(x – 31) 5. (x + 4 + 6 )(x + 4 – 6 ) 6. (x + 1 + 6 )(x + 1 – 6 ) 7. (x – 3 + 7 )(x – 3 – 7 ) 8. (x – 1 + 11 )(x – 1 – 11 ) 9. (x + 5 + 62 )(x + 5 – 62 ) 10. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 2 57 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 2 57 x 11. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 2 59 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 2 59 x 12. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 2 335 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 2 335 x 13. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 2 511 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 2 511 x 14. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 2 137 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 2 337 x 15. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 2 339 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 2 339 x 16. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 2 6515 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 2 6515 x
  • 9. 19 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข 1. (x + 7)(3x – 2) 2. (11x + 1)(x – 13) 3. (x – 5)(15x – 2) 4. -2(x + 3 + 11 )(x + 3 – 11 ) 5. -3(x – 4 + 21 )(x – 4 – 21 ) 6. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 6 375 x3 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 6 375 x 7. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 3 939 x6 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 3 939 x 8. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 4 419 x4 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 4 419 x 9. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 4 571 x2- ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 4 571 x 10. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − − 2 135 x- ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + − 2 135 x 11. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 20 12917 x10 ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 20 12917 x 12. ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + + 4 17313 x4- ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − + 4 17313 x คําตอบกิจกรรม “ทําไดเหมือนกัน” 1. (x – 5)2 2. 2 2 1 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 3. (x + 32 )2 4. 2 3 1 x ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ก 1. (x + 3)(x2 – 3x + 9) 2. (y + 4)(y2 – 4y + 16) 3. (2x + 1)(4x2 – 2x + 1) 4. (4z + 5)(16z2 – 20z + 25) 5. (3x + 8y)(9x2 – 24xy + 64y2 ) 6. (x + 7)(x2 – 13x + 103) 7. (4x – 5)(7x2 – x + 13) 8. (7x – 4)(19x2 – 77x + 151) 9. (x – 1)(x2 + x + 1) 10. (z – 6)(z2 + 6z + 36) 11. (5y – 4)(25y2 + 20y + 16) 12. (10 – 6x)(100 + 60x + 36x2 ) 13. (11y – 7z)(121y2 + 77yz + 49z2 ) 14. (4x – 2)(16x2 + 44x + 49) 15. (x – 11)(127x2 + 131x + 67) 16. (5x – 8)(97x2 – 383x + 379)
  • 10. 20 คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ข 1. (x2 + 25)(x + 5)(x – 5) 2. (9y2 + 25)(3y + 5)(3y – 5) 3. (9x2 + 16y2 )(3x + 4y)(3x – 4y) 4. (x2 + x + 2)(x2 – x + 2) 5. (y2 + 2y + 5)(y2 – 2y + 5) 6. (x2 + 4x + 8)(x2 – 4x + 8) 7. (y2 + 6y + 18)(y2 – 6y + 18) 8. (y + 1)(y – 1)(y2 – y + 1)(y2 + y + 1) 9. (2x + 3)(2x – 3)(4x2 – 6x + 9)(4x2 + 6x + 9) 10. (x + y)(x – y)(x2 – xy + y2 )(x2 + xy + y2 ) 11. (x2 + 6)(x4 – 6x2 + 36) 12. (7x2 + 10z2 )(49x4 – 70x2 z2 + 100z4 ) 13. (8 – y2 )(64 + 8y2 + y4 ) 14. (6x2 – 3y2 )(36x4 + 18x2 y2 – 9y4 ) คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ค 1. (x + 1)(x – 1)2 2. (y + 2)(y – 1)(y2 + y +1) 3. (z – 4)(z2 + 5z + 16) 4. (y – 6)(y2 + 15y + 36) 5. (x + 3)(x2 – 8x + 9) 6. (x + 2y)(6x2 + 4y2 ) 7. x(x – 3)(x + 2)(x – 2) 8. (3x2 + y + 3)(3x2 – y – 3) 9. (2x2 – y + 11)(2x2 – y – 11) 10. (3x2 – y + 3)(3x2 – y – 3) 11. (1 + x + y2 )(1 – x – y2 ) 12. (x2 + 2y2 + 5)(x2 – 2y2 – 5) 13. (x2 – a + z)(x2 – a – z) 14. (2x2 – a + y – b)(2x2 – a – y + b) คําตอบแบบฝกหัด 2.4 1. 1) 40 2) 3 3) 1 4) 38 5) -60 6) 0 2. 1) 121 2) -60 3) 85 4) 0 5) 14 6) 0 3. ใชทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษเหลือที่ไดจากการหาร x3 – 2x2 – 2x + 121 ดวย x + 2 ถาไดเศษเหลือ เปน 0 แสดงวา x + 2 หาร x3 – 2x2 – 2x + 12 ไดลงตัว
  • 11. 21 วิธีทํา ให P(x) = x3 – 2x2 – 2x + 12 จากทฤษฎีบทเศษเหลือ P(-2) เปนเศษเหลือที่ไดจากการหาร P(x) ดวย x + 2 P(-2) = (-2)3 – 2(-2)2 – 2(-2) + 12 = -8 – 8 + 4 + 12 = -16 + 16 = 0 ดังนั้น เศษเหลือเทากับ 0 นั่นคือ x + 2 หาร x3 – 2x2 – 2x + 12 ไดลงตัว 4. ใชทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษเหลือที่ไดจากการหาร x4 – 23x2 + 18x + 40 ดวย x – 4 ถาไดเศษเหลือ เปน 0 แสดงวา x – 4 เปนตัวประกอบของ x4 – 23x2 + 18x + 40 วิธีทํา ให P(x) = x4 – 23x2 + 18x + 40 จากทฤษฎีบทเศษเหลือ P(4) เปนเศษเหลือที่ไดจากการหาร P(x) ดวย x – 4 P(4) = 44 – 23(4)2 + 18(4) + 40 = 256 – 368 + 72 + 40 = 368 – 368 = 0 ดังนั้น เศษเหลือเทากับ 0 นั่นคือ x – 4 เปนตัวประกอบของ x4 – 23x2 + 18x + 40 5. 1) (x – 1)(x – 3)(x – 4) 2) (x + 2)(x2 – 4x + 6) 3) (x – 5)(x + 2)(x + 3) 4) (x – 1)2 (x + 6) 5) (x + 2)(x + 4)(x – 4) 6) (x – 4)(x2 + 3x + 1) 7) (x – 2)2 (x + 3)2 8) (x – 4)(x + 5)(x – 3)2 9) (x – 5)(x + 5)(x + 3)(x – 3) 10) (x + 2)(x + 1)(x – 3)(x + 4)(x – 4) คําตอบกิจกรรม “คา k เปนเทาใด” 1. -6 2. 59 3. -27 4. -6
  • 12. 22 คําตอบกิจกรรม “ตัวปญหา” 1. x2 + 2x – 3 = (x – 1)(x + 3) 2. x2 + 4x + 1 = (x + 2 – 3)(x + 2 + 3) 3. 81x2 – 169 = (9x + 13)(9x – 13) 4. 27x3 – 1 = (3x – 1)(9x2 + 3x + 1) 5. x4 + 64 = (x2 + 4x + 8)(x2 – 4x + 8) 6. x2 – 28x + 196 = (x – 14)2 7. x3 + x2 – x – 1 = (x + 1)2 (x – 1) สํานวนนั้นคือ อยาเอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ
  • 14. 24 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.1 จงแยกตัวประกอบของพหุนามตอไปนี้ 1. 3x2 + x [ x(3x + 1) ] 2. x – 2x2 [ x(1 – 2x) ] 3. 2x(x – 3) + 3(x – 3) [ (x – 3)(2x + 3) ] 4. 3(2x – 1)2 + 4(2x – 1) [ (2x – 1)(6x + 1) ] 5. x2 + 4x – 5 [ (x + 5)(x – 1) ] 6. 2x2 – 5x + 3 [ (2x – 3)(x – 1) ] 7. a2 – a – 2 [ (a – 2)(a + 1) ] 8. a2 + 6a + 9 [ (a + 3)2 ] 9. 4x2 – 4x + 1 [ (2x – 1)2 ] 10. 4y2 – 20y + 25 [ (2y – 5)2 ] 11. 14y2 + y – 3 [ (7y – 3)(2y + 1) ] 12. p2 – 1 [ (p – 1)(p + 1) ] 13. 4x2 – 32 [ (2x + 3)(2x – 3) ] 14. 12a2 – 27 [ 3(2a – 3)(2a + 3) ] 15. 81 – 49x2 [ (9 – 7x)(9 + 7x) ] 16. 9x2 – 121 [ (3x – 11)(3x + 11) ] 17. (2x – 1)2 – 4 [ (2x – 3)(2x + 1) ] 18. (x – 3)2 – y2 [ (x – y – 3)(x + y – 3) ]
  • 15. 25 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 1. จงเขียนพหุนามตอไปนี้ใหอยูในรูปกําลังสองสมบูรณ ตัวอยาง x2 – 8x – 16 = x2 – 2(x)(4) + 42 16x2 + 24x + 9 = (4x)2 + 2(4x)(3) + 32 a2 + 3a + 4 9 = a2 + 2(a) 3 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 2 3 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 4a2 – a3 4 + 9 1 = (2a)2 – 2(2a) 1 3 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 2 1 3 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 1) a2 + 6a + 9 = …………………….. [ a2 + 2(a)(3) + 32 ] 2) y2 – 10y + 25 = …………………….. [ y2 – 2(y)(5) + 52 ] 3) x2 – 18x + 81 = …………………….. [ x2 – 2(x)(9) + 92 ] 4) 4x2 + 8x + 4 = …………………….. [ (2x)2 + 2(2x)(2) + 22 ] 5) 4x2 – 20x + 25 = …………………….. [ (2x)2 – 2(2x)(5) + 52 ] 6) 100x2 – 20x + 1 = …………………….. [ (10x)2 – 2(10x) + 12 ] 7) y2 + 5y + 4 25 = …………………….. [ y2 + 2(y) 5 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 2 5 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ] 8) a2 – 7a + 4 49 = …………………….. [ a2 – 2(a) 7 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 2 7 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ] 9) 4 1 a2 – 3a + 9 = …………………….. [ 2 1 a2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ – 2 1 a2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (3) + 32 ] 10) 25 16 y2 + 8y + 25 = …………………….. [ 2 4 y5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 2 4 y5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (5) + 52 ]
  • 16. 26 2. จงเติมพจนในชองวางเพื่อทําใหพหุนามตอไปนี้เปนพหุนามดีกรีสองที่เปนกําลังสองสมบูรณ แลวแยกตัวประกอบ ตัวอยาง x2 + 6x + 9 = (x + 3)2 x2 – 14x + 49 = (x – 7)2 a2 + 5a + 4 25 = 2 5 a 2+ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 1) x2 + ……….. + 25 = …………………… [ 10x, (x + 5)2 ] 2) 4x2 – ……….. + 1 = …………………… [ 4x, (2x – 1)2 ] 3) 9x2 – 24x + ……….. = …………………… [ 16, (3x – 4)2 ] 4) 9x2 + ……….. + 25 = …………………… [ 30x, (3x + 5)2 ] 5) ……….. + 6a + 1 = …………………… [ 9a2 , (3a + 1)2 ] 6) 64y2 – 80y + ……….. = …………………… [ 25, (8y – 5)2 ] 7) x2 + ……….. + 4 1 = …………………… [ x, 2 1 x 2+ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ] 8) y2 – 3x + ……….. = …………………… [ 9 4 , 2 3 y 2− ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ] 9) 64y2 ……….. + 16 1 = …………………… [ 4y, 2 1 8y 4+ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ] 10) 25x2 + 15x + ……….. = …………………… [ 3 2 , 2 3 5x 2+ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ]
  • 17. 27 กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ก กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนเห็นวา a3 + b3 = (a + b)(a2 – ab + b3 ) โดยใช ปริมาตร ใหนักเรียนทํากิจกรรมและตอบคําถามตอไปนี้ 1. สรางกลองกระดาษทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5 กลอง ขนาดตาง ๆ กันดังนี้ กลองที่ 1 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ a หนวย กลองที่ 2 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ b หนวย (ให b ∠ a) กลองที่ 3 ขนาดกวาง b หนวย ยาว b หนวย และ สูง a หนวย กลองที่ 4 ขนาดกวาง b หนวย ยาว a – b หนวย และ สูง a หนวย กลองที่ 5 ขนาดกวาง a – b หนวย ยาว a หนวย และ สูง a หนวย ตัวอยาง 1 a a a b b b 2 b b a3 a – b b 4 a a – b a 5 a
  • 18. 28 2. ใหนักเรียนหาปริมาตรของกลองแตละใบแลวเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้ ปริมาตรของกลองที่ 1 เทากับ .................................... [ a3 ] ปริมาตรของกลองที่ 2 เทากับ .................................... [ b3 ] ปริมาตรของกลองที่ 3 เทากับ .................................... [ ab2 ] ปริมาตรของกลองที่ 4 เทากับ .................................... [ ab(a – b) ] ปริมาตรของกลองที่ 5 เทากับ .................................... [ a2 (a – b) ] 3. นํากลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 มาประกอบเปนทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีความสูง a หนวย ดังรูป ก แลวใหนักเรียนสังเกตวา ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก นี้มีปริมาตรเทากับปริมาตรของ กลองที่ 1 หรือไม [เทากัน] 4. ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 1 และกลองที่ 2 เทากับเทาใด [ a3 + b3 ] 5. นํากลองที่ 2 วางซอนบนกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก ในขอ 3 จะไดรูปเรขาคณิตสามมิติ ดังรูป ข a 5 b a 3 a – b 4 a 1 a a a รูป ก b a – b รูป ข a 5 b a 3 b a – b 4 2 b a – b
  • 19. 29 6. จากรูปเรขาคณิตสามมิติรูป ข ใหนักเรียนดึงกลองที่ 4 ออก แลวนําไปวางซอนดานบนของ กลองที่ 5 ใหไดดังรูป ค 7. ปริซึมรูป ค มีปริมาตรเทาใด [a3 + b3 ] a – b b 4 a a 5 a 3 b b a – b b a – b a b 4 a 5 a 3 b b a – b 2 รูป ค a – b รูป ค a b 4 a 5 a 3 b b a – b 2 a – b
  • 20. 30 8. จากกิจกรรมในขอ 4 ขอ 6 และขอ 7 นักเรียนสามารถหาความสัมพันธของปริมาตรของรูปเรขาคณิต สามมิติในขอ 4 และขอ 7 เปน a3 + b3 = (a + b)(a2 – ab + b2 ) ไดหรือไม ถาได จงแสดงวิธีทํา ได ดังแนวคิดตอไปนี้ ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 2 และปริมาตรของกลองที่ 3 = b2 (a + b) ลูกบาศกหนวย ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 4 และปริมาตรของกลองที่ 5 = a(a – b)(a + b) ลูกบาศกหนวย เนื่องจาก ในขอ 3 ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 เทากับปริมาตร ของกลองที่ 1 จะได ผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 2 กลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 เทากับ ผลบวกปริมาตรของกลองที่ 2 และปริมาตรของกลองที่ 1 ดังนั้น b2 (a + b) + a(a – b)(a + b) = b3 + a3 นั่นคือ a3 + b3 = (a + b)[b2 + a(a – b)] = (a + b)(a2 – ab + b2 ) a = 1 a a a b b b 2 b 4 a 5 a 3 b b a – b 2 b a – b
  • 21. 31 กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ข กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนเห็นวา a3 – b3 = (a – b)(a2 + ab + b2 ) โดยใช ปริมาตร ใหนักเรียนทํากิจกรรมและตอบคําถามตอไปนี้ 1. สรางกลองกระดาษทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก 5 กลอง ขนาดตาง ๆ กันดังนี้ กลองที่ 1 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ a หนวย กลองที่ 2 ขนาดกวาง ยาวและสูง ดานละ b หนวย ให b < a กลองที่ 3 ฐานยาวดานละ a หนวย สูง a – b หนวย กลองที่ 4 ฐานกวาง a – b หนวย ยาว a หนวย สูง b หนวย กลองที่ 5 ฐานกวาง b หนวย ยาว a – b หนวย สูง b หนวย 2. ใหนักเรียนหาปริมาตรของกลองแตละใบแลวเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้ ปริมาตรของกลองที่ 1 เทากับ .................................... [ a3 ] ปริมาตรของกลองที่ 2 เทากับ .................................... [ b3 ] ปริมาตรของกลองที่ 3 เทากับ .................................... [ a2 (a – b) ] ปริมาตรของกลองที่ 4 เทากับ .................................... [ ab(a – b) ] ปริมาตรของกลองที่ 5 เทากับ .................................... [ b2 (a – b) ] a a a 1 b b b 2 a – b a b 4 b a – b b 5 a a3 a – b
  • 22. 32 3. นํากลองที่ 2 กลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 มาประกอบกันเปนกลองทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ดังรูป ก นักเรียนคิดวา ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก มีปริมาตรเทากับปริมาตรของกลองที่ 1 หรือไม [เทากัน] 4. จากทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากรูป ก ใหนักเรียนยกกลองที่ 2 ออกดังรูป จะไดรูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีปริมาตรเทากับ a3 – b3 ใชหรือไม [ใช] 5. ใหนักเรียนหาผลบวกของปริมาตรของกลองที่ 3 กลองที่ 4 และกลองที่ 5 [ a2 (a – b) + ab(a – b) + b2 (a – b) ] 6. ผลบวกของปริมาตรที่ไดในขอ 5 นักเรียนสามารถเขียนใหอยูในรูปการคูณของพหุนามสองพหุนาม ไดหรือไม ถาได เขียนไดเปนอยางไร [ได และเขียนไดเปน (a – b)(a2 + ab + b2 ) ] 7. จากผลที่ไดในขอ 4 และขอ 6 มีความสัมพันธกันอยางไร [ a3 – b3 = (a – b)(a2 + ab + b2 ) ] a – b a3 4 5 b a b a – b b b b 2 a – b a3 4 5 a 2 รูป ก b