SlideShare a Scribd company logo
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
การสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนวัดหลวง รายชื่อสมาชิกกลุ่ม Happy Time นาย จิตรภานุ ทนานนท์ ม.6/1 เลขที่ 1 นาย ธนวัฒน์ วิระบรรณ ม.6/1 เลขที่ 20 นาย ภูมิภัทร วงษ์ปิติรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 38 นางสาว ปภัสสร ม้าห้วย ม.6/1 เลขที่ 39 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
ปัจจุบันนี้ประเทศไทยได้มีการพัฒนาขึ้น หรือเจริญก้าวหน้าขึ้น ทาให้ทุกที่ต่างๆได้ มีการเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ทาให้ไม่สนใจเกี่ยวกับสภาพสิ่งแวดล้อมเลยแม้แต่น้อย ทาให้ ไม่สนใจธรรมชาติเล็กๆน้อยๆไปได้ อย่างเช่น สิ่งมีชีวิตต่างๆในธรรมชาติที่อยู่ในชุมชน เป็นต้น กระผมจึงเลือกทาโครงงานการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยา เพราะได้ทา การสืบค้นไปด้วยว่าสิ่งมีชีวิตที่สารวจพบในชุมชนมีลักษณะเป็นอย่างไร ดีหรือไม่ดี หรือ นาไปใช้ประโยชน์แก่ชุมชนได้อย่ารงไรบ้าง ซึ่งจะเป็นการศึกษาหาความรู้จากการสารวจ พบสิ่งมีชีวิตในชุมชนไปในตัวด้วย และยังได้รับข้อมูลต่างๆในชุมชนอีกด้วยว่ามีสภาพเป็น อย่างไร มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เยอะหรือไม่ เป็นต้น 
2. วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อศึกษาลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่เราสารวจพบในชุมชนวัดหลวงว่ามี รูปลักษณ์อย่างไร เช่น สารวจพบหอยทาก ก็นาไปหาข้อมูลว่า หอยทากมีลักษณะอย่างไร เคลื่อนไหวอย่างไร กินอาหารอย่างไร ชอบอาศัยอยู่บริเวณไหน และ ตัวของหอยทากมี ประโยชน์อย่างไร เป็นต้น 
2. เพื่อศึกษาประโยชน์สิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดหลวง เช่น ประโยชน์ของต้นไม้หรือ ดอกไม้นั้นๆ เช่น สารวจพบ ต้นมะนาว ก็นาไปหาข้อมูลมาว่า มะนาวดีอย่างไร มี สรรพคุณและประโยชน์อย่างไร นาไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง เป็นต้น 
3. เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดหลวงไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันของเรา เช่น สารวจพบ ดอกบานไม่รู้โรย ก็นาไปหาข้อมูลมาว่า สามารถ นาไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง ควรจะตกแต่งบ้านอย่างไรให้ออกมาสวยงาม เป็นต้น 
3. สมมติฐานของการศึกษา 
ถ้าชุมชนวัดหลวงมีความหลากหลายของทรัพยากรทางชีวภาพอย่างแท้จริงแล้ว เมื่อเราทาการสารวจชุมชนวัดหลวง จะพบสิ่งมีชีวิตที่มีความแตกต่างด้านชนิดและสาย พันธุ์ เช่น ดอกบานไม่รู้โรย ต้นลีลาวดี เห็ดกระด้าง สุนัขบางแก้ว และ หอยทาก เป็นต้น
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 
1. ได้ศึกษาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตต่างๆที่สารวจพบในชุมชนวัดหลวง ว่ามีลักษณะ อย่างไรและมีประโยชน์ต่อชุมชนอย่างไร 
2. ได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนวัดหลวงเพิ่มมากขึ้น ว่ามีอากาศที่ดีต่อ สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติและชุมชนหรือไม่ 
3. เพื่อการเผยแพร่องค์ความรู้แก่ผู้ที่มีความสนใจในเรื่องการสารวจชุมชน ซึ่ง ข้อมูลต่างๆที่ได้จากการสารวจชุมชนวัดหลวงนี้ สามารถนาไปพัฒนาเป็นการสารวจ ข้อมูลต่างๆในระดับที่ใหญ่กว่านี้ได้ 
5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน (ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้เขียนเป็นข้อๆ) 
1. ต้นโป๊ยเซียนจักรพรรดิ์ มีดอกซ้อนกันหลายดอก ขนาดของลาต้น ใบและดอก แตกต่างกันมาก มีหนามแหลมลาต้นแข็งแรง ลาต้นตั้งตรงหรือเอนลู่ห้อยลง ใบหนาเป็น รูปใบพาย ออกดอกเป็นช่อ เช่น สีขาวครีม เหลือง ส้ม ชมพู ม่วง เขียว ออกดอกตลอด ปี มีลาต้นแข็งแรง มีหนามแหลม คล้ายต้นตะบองเพชร มียางสีขาวข้นคล้ายน้านมใบมี สีเขียวเข้ม บางชนิดมีจุดประต่าง ๆ บางชนิดมีขลิบสีอ่อน และตรงใจกลางดอกมีสีต่าง ๆ กัน บางชนิดมีชั้นเดียว แต่บางชนิดมีดอกซ้อนกันถึง 6 ชั้น ดอกบานตลอดปี และ ออกดอกมากในฤดูหนาว ดอกบานทนทาน 
2. ต้นวาสนา เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลาต้นกลม ต้นตรง ไม่มีกิ่งก้าน ลา ต้นเป็นข้อถี่ ผิวเปลือกลาต้นมีสีน้าตาล เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากลาต้นส่วนยอดเรียงซ้อน กันเวียนรอบลาต้นเป็นรูปวงกลมลักษณะใบเรียวยาว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบ เกลี้ยงเป็นมันสีเขียว ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของลาต้นช่อดอกมีขนาดใหญ่เป็น รูปทรงกลมช่อดอกยาวดอกมีขนาดเล็กอยู่รวมกันเป็นกลุ่มดอกมีสีขาวหรือเหลืองอ่อน 
3. หอยทาก จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังไฟลัมมอลลัสคา หอยทากจะ พบแพร่หลายในช่วงฤดูฝน เพื่อออกหากินสะสมอาหารจานวนมากและแพร่ขยายพันธุ์ ชอบออกหากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะอาศัยที่ร่มหลบแสงแดด หอยทากมีการ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
4. เห็ดกระด้าง อกเห็ดเป็นดอกเดียว มีโคนก้านดอกเล็ก ปลายดอกบานออกเป็น ปากแตร หรือรูปกรวย ตรงกลางดอกเห็ดบุ๋มลึกลงไปเป็นรูปกรวย มีสีกากีหรือสีน้าตาล มีขนละเอียดคล้ายกามะหยี่ที่บริเวณด้านบนของดอกเห็ด ด้านล่างมีครีบหมวกเรียงเป็น รัศมีรอบก้าน และยาวขนานกับก้านดอกลงไปเกือบถึงโคนก้านดอก ดอกเห็ดด้านล่างมีซี่ หมวกสีน้าตาลเข้มกว่าด้านบน และเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลเข้มปนแดง เมื่อดอกเห็ดแก่ขอบ ของหมวกเห็ดบางกว่าส่วนกลางเพราะครีบหมวกค่อย ๆเรียวเล็กเชื่อมติดกับขอบหมวก ครีบหมวกแคบบางและไม่ลึกเหมือนเห็ดอื่นๆ ทั่วไป 
5. บานไม่รู้โรย เป็นไม้ล้มลุกประเภทต้นเตี้ย ลาต้น กิ่งก้าน และใบมีขนละเอียดอ่อน นุ่มปกคลุม ลักษณะสีของลาต้นและกิ่งก้านจะเป็นตัวบ่งบอกสีของดอกได้ ใบ มีลักษณะ ยาวรี ขอบใบเรียบ ปลายใบจะมีทั้งแหลมและมน ใบมีสีเขียวอ่อนและมีขนละเอียดปกคลุม อยู่ ใบออกเป็นคู่ตรงกันข้าม สลับกันไปตามข้อของลาต้น 6. สุนัขบางแก้ว รูปร่างคล้ายรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีสัดส่วนที่กลมกลืน มี กล้ามเนื้อที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีการเลื่อนไหวที่คล่องแคล่ว รวดเร็ว ปราดเปรียว 
7. ทับทิม ไม้ยืนต้น หรือพรรณไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลักษณะผิวเปลือกลาต้นเป็นสีเทา ส่วนที่เป็นกิ่งหรือยอดอ่อนจะเป็นเหลี่ยม หรือ มีหนามแหลมยาวขึ้น ใบ ใบมีลักษณะเป็น รูปยาวรี โคนใบมน แคบ ส่วนปลายใบเรียวแหลมสั้น ผิวหลังใบ เกลี้ยงเป็นมัน ใต้ท้องใบ จะเห็นเส้นใบได้ชัด ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็น ดอกเดียว ในบริเวณปลายยอด หรือ ง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สีส้ม สีขาว หรือสีแดง 8. ต้นหยก มีรูปแบบการเจริญเติบโตแตกต่างกัน แบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1) แตกเป็นรูปเขากวาง (Forming a cluster) ประกอบด้วยกิ่งแขนงแตกเป็นกลุ่มรอบโคน ต้น คล้ายเขากวาง บนขอบหรือสันกิ่งมีใบและหนามขนาดเล็กเป็นระยะๆ เช่น หยกพันธุ์ มงคล และพันธุ์มังกรแดง 2) แผ่เป็นรูปพัด (fan shaped) เป็นต้นเดี่ยวที่แขนงติดกันเป็นแผงรูปพัด แนวสัน (ridges) จะเป็นริ้วอยู่ทั่วแผง มีใบและหนามอยู่บนสันเช่นกัน ต่อมาใบจะร่วงเหลือแต่บริเวณใกล้ เรือนยอด (crowing tip) ส่วนหนามจะคงอยู่ทั่วแผง เช่น หยกพันธุ์ทองนพเก้า และพันธุ์ ทองคานพคุณ 3) แบบคลื่น (branched crested) เป็นต้นเดี่ยวที่แขนงติดกันเป็นแผง ไม่เป็นระนาบเดียวรูป พัด แต่จะพัฒนาแผ่ซ้อนเป็นร่องคลื่นคล้ายงูเลื้อย (forming a snaky ridge) เช่น หยกพันธุ์ เบญจรงค์ และพันธุ์ทับทิม
9. ต้นลีลาวดี ตกกิ่งก้านสาขาและพุ่มใบสวยงาม มีน้ายางสีขาวข้น เป็นไม้ผลัดที่ สลัดใบในฤดูแล้ง ก่อนที่จะผลิดอกและผลิใบรุ่นใหม่ ถ้าหากเป็นกิ่งที่ยังไม่แก่ จะมีสีเขียว อ่อนนุ่ม ดูเกือบจะอวบน้า ส่วนกิ่งแก่มีสีเทามีรอยตะปุ่มตะป่า กิ่งไม่สามารถทานน้าหนัก ได้ กิ่งเปราะ เปลือกลาต้นหนาต้นที่โตเต็มที่แล้วจะพัฒนาจนกระทั่งมีความแข็งแรงมากขึ้น เป็นใบเดี่ยว มีการเรียงตัวแบบสลับและหนาแน่นใกล้ปลายกิ่ง มีลักษณะแตกต่างกันไปทั้ง รูปร่าง ขนาด สี และความหนาแน่น โดยทั่วไปใบจะหนา เหนียวแข็ง และมีสีตั้งแต่สีเขียว อ่อนถึงสีเขียวเข้ม มีเส้นกลางใบแตกสาขาออกไปคล้ายขนนก ขนาดใบแตกต่างกัน ดอกจะผลิออกมาจากปลายยอดเหนือใบ เห็นเป็นช่อดอกใหญ่สวยงาม แต่ก็มีบางชนิดที่ ออกช่อดอกระหว่างใบ หรือใต้ใบบางชนิดห้อยลงบางชนิดตั้งขึ้น ในหนึ่งช่อจะมีดอกบาน พร้อมกัน 10 – 30 ดอก บางต้นที่มีความสมบูรณ์เต็มที่อาจมีดอกมากกว่า 100 ดอก ต่อ 1 ช่อ 
10. ต้นมะนาว ไม้พุ่มสูง 2-4 เมตร เปลือกลาต้นมีสีเทาปนน้าตาล กิ่งอ่อนมีสี เขียวอ่อนเมื่อแก่สีเข้ม บนลาต้นและกิ่งก้านจะมีหนามแข็งแหลม ส่วนใหญ่เกิดที่ซอกใบ เป็นใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบเดียว เรียงสลับ มีสีเขียวอ่อนรูปร่างยาวรีหรือรูปไข่ ปลายใบมีลักษณะแหลมขอบใบ เป็นดอกเดี่ยวหรือช่อดอก เกิดบริเวณซอกใบและปลาย กิ่งกลีบดอกสีขาว กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนเกสรตัวผู้อยู่เป็นกลุ่ม เกสรตัวเมียรูปคล้าย ทรงกระบอก ผลสดรูปกลมและรูปยาวรีหรือรูปไข่ มีขนาดกว้าง ยาวประมาณ 3-12 เซนติเมตร ผิวเปลือกมีลักษณะขรุขระ และมีต่อมน้ามันที่ผิวขนาดเล็กคล้ายรูปไข่ ด้าน ปลายหัวจะแหลม ภายในเมล็ดมีเนื้อเยื่อสีขาว
6. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 
1. คอมพิวเตอร์ - ไว้ศึกษาข้อมูลต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่สารวจได้ในชุมชน 
2. กล้องถ่ายรูป , โทรศัพท์ – ไว้ถ่ายรูปสิ่งมีชีวิตต่างๆในชุมชน 
3. สมุดจดบันทึก – ไว้จดสิ่งต่างๆที่ถ่ายได้ พร้อมทั้งร่างแผนที่คร่าวๆ 
4. เว็บ www.biogang.net – ไว้ลงข้อมูลของสิ่งมีชีวิตที่สารวจพบในชุมชน 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 
1. วางแผนเกี่ยวกับหัวข้อการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยาในชุมชน 
2. วางแผนเลือกชุมชนที่จะไปสารวจ 
3. รวบรวมข้อมูลชุมชนที่จะไปสารวจ 
4. เริ่มทาการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยาในเขตชุมชนที่วางแผนไว้ 
5. ถ่ายรูปคู่กับสิ่งที่มีชีวิตที่สารวจพบในชุมชน 
6. ถ่ายสิ่งมีชีวิตต่างๆครบ 10 ชนิด แล้วทาการหาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ 
7. นาข้อมูลที่หามาได้ 10 ชนิด ไปลงใน www.biogang.net 
8. เซฟข้อมูลที่ลงใน Biogang มาลงใน word เพื่อรวมข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน 
9. ทารูปเล่มโครงงาน โดยเอาข้อมูลจากชุมชนที่สารวจได้มาลง E-Book 
10. นา E-Book มาตรวจสอบความเรียบร้อย 11. นาเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
- แผนปฏิบัติงาน 
ขั้นตอนในการทาโครงงาน 
ระยะเวลาในการ ทาโครงงาน 
1. วางแผนเกี่ยวกับหัวข้อการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยา ในชุมชน 
10 กรกฏาคม 2557 
2. วางแผนเลือกชุมชนที่จะไปสารวจ 
10 กรกฏาคม 2557 
3. รวบรวมข้อมูลชุมชนที่จะไปสารวจ 
12 กรกฏาคม 2557 
4. เริ่มทาการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยาในเขตชุมชนที่ วางแผนไว้ 
17 กรกฏาคม 2557 
5. ถ่ายรูปคู่กับสิ่งที่มีชีวิตที่สารวจพบในชุมชน 
17 กรกฏาคม 2557 
6. ถ่ายสิ่งมีชีวิตต่างๆครบ 10 ชนิด แล้วทาการหาข้อมูลของ สิ่งมีชีวิตนั้นๆ 
17 กรกฏาคม 2557 
7. นาข้อมูลที่หามาได้ 10 ชนิด ไปลงใน www.biogang.net 
20 กรกฏาคม 2557 
8. เซฟข้อมูลที่ลงใน Biogang มาลงใน word เพื่อรวมข้อมูลไว้ เป็นหลักฐาน 
21 กรกฏาคม 2557 
9. ทารูปเล่มโครงงาน โดยเอาข้อมูลจากชุมชนที่สารวจได้มาลง E- Book 
22 กรกฏาคม 2557 
10. นา E-Book มาตรวจสอบความเรียบร้อย 
23-24 กรกฏาคม 2557 11. นาเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
25 กรกฏาคม 2557
7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง (เขียนเป็น ข้อๆทั้งจากเว็ปไซต์และห้องสมุด หนังสือ ตารา) 1. http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6/BotanicalGarden/poaysian.htm 2. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view3.aspx?id=10385 3. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9343 4. http://panmainaiban.blogspot.com/2011/06/blog-post_8674.html 5. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=3206 6. www.shc.ac.th/learning/botanical-garden/208.htm,www.sns.ac.th/www511/401/25.html 7. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=8607 8. http://www.moe.go.th/moe/th/blog/view-blog.php?memberid=159&blogid=69 9. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9043 10.http://www.kasetonline.com/2011/03/01/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%81/
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net การสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนวัดหลวง รายชื่อสมาชิกกลุ่ม Happy Time นาย จิตรภานุ ทนานนท์ ม.6/1 เลขที่ 1 นาย ธนวัฒน์ วิระบรรณ ม.6/1 เลขที่ 20 นาย ภูมิภัทร วงษ์ปิติรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 38 นางสาว ปภัสสร ม้าห้วย ม.6/1 เลขที่ 39 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. นาย จิตรภานุ ทนานนท์ ม.6/1 เลขที่ 1 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ ต้นโป๊ยเซียนจักรพรรดิ์ (พืช)
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นวาสนา (พืช) 
2. นาย ธนวัฒน์ วิระบรรณ ม.6/1 เลขที่ 20
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ หอยทาก (สัตว์) 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ เห็ดกระด้าง (ฟังไจ)
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ บานไม่รู้โรย (พืช)
3. นาย ภูมิภัทร วงษ์ปิติรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 38 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ สุนัขบางแก้ว (สัตว์)
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ ทับทิม (พืช)
4. นางสาว ปภัสสร ม้าห้วย ม.6/1 เลขที่ 39 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นหยก (พืช)
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ ต้นลีลาวดี (พืช)
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ ต้นมะนาว (พืช)
Biocontest2014 happytime

More Related Content

What's hot

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
Kan Pan
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
Wichai Likitponrak
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
Wichai Likitponrak
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
Nattayaporn Dokbua
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
Wichai Likitponrak
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 

Viewers also liked

Biocontest2014 expolrer
Biocontest2014 expolrerBiocontest2014 expolrer
Biocontest2014 expolrer
Wichai Likitponrak
 
เซลล์ พืช
เซลล์ พืชเซลล์ พืช
เซลล์ พืช
Mammoth Kongkaew
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
Wichai Likitponrak
 
อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2) 2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2)  2557อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2)  2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2) 2557
Pinutchaya Nakchumroon
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
Pinutchaya Nakchumroon
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
Pinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (20)

Biocontest2014 expolrer
Biocontest2014 expolrerBiocontest2014 expolrer
Biocontest2014 expolrer
 
เซลล์ พืช
เซลล์ พืชเซลล์ พืช
เซลล์ พืช
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2) 2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2)  2557อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2)  2557
อวัยวะของพืช (Plant tissue) (2) 2557
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุขบทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 

Similar to Biocontest2014 happytime

group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
Aomsin Thanyathorn
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
sathitauerpairojkit
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
HatsayaAnantepa
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
plantmakatae
plantmakataeplantmakatae
plantmakataesomjaio
 
surinpittayakom
surinpittayakomsurinpittayakom
surinpittayakomtulaluk
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
Latcha MaMiew
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
Wichai Likitponrak
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
TitiratHu
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
sathitauerpairojkit
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
BhuritNantajeewarawa
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
naransuppataratarn
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
MetawadeeNongsana
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
PimlapusBoonsuphap
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
BellNattanan
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 SlidejanjaoKanjanjao
 

Similar to Biocontest2014 happytime (20)

group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
plantmakatae
plantmakataeplantmakatae
plantmakatae
 
surinpittayakom
surinpittayakomsurinpittayakom
surinpittayakom
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย...
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

Biocontest2014 happytime

  • 1. เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) การสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนวัดหลวง รายชื่อสมาชิกกลุ่ม Happy Time นาย จิตรภานุ ทนานนท์ ม.6/1 เลขที่ 1 นาย ธนวัฒน์ วิระบรรณ ม.6/1 เลขที่ 20 นาย ภูมิภัทร วงษ์ปิติรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 38 นางสาว ปภัสสร ม้าห้วย ม.6/1 เลขที่ 39 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ปัจจุบันนี้ประเทศไทยได้มีการพัฒนาขึ้น หรือเจริญก้าวหน้าขึ้น ทาให้ทุกที่ต่างๆได้ มีการเจริญก้าวหน้ามากขึ้น ทาให้ไม่สนใจเกี่ยวกับสภาพสิ่งแวดล้อมเลยแม้แต่น้อย ทาให้ ไม่สนใจธรรมชาติเล็กๆน้อยๆไปได้ อย่างเช่น สิ่งมีชีวิตต่างๆในธรรมชาติที่อยู่ในชุมชน เป็นต้น กระผมจึงเลือกทาโครงงานการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยา เพราะได้ทา การสืบค้นไปด้วยว่าสิ่งมีชีวิตที่สารวจพบในชุมชนมีลักษณะเป็นอย่างไร ดีหรือไม่ดี หรือ นาไปใช้ประโยชน์แก่ชุมชนได้อย่ารงไรบ้าง ซึ่งจะเป็นการศึกษาหาความรู้จากการสารวจ พบสิ่งมีชีวิตในชุมชนไปในตัวด้วย และยังได้รับข้อมูลต่างๆในชุมชนอีกด้วยว่ามีสภาพเป็น อย่างไร มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เยอะหรือไม่ เป็นต้น 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตที่เราสารวจพบในชุมชนวัดหลวงว่ามี รูปลักษณ์อย่างไร เช่น สารวจพบหอยทาก ก็นาไปหาข้อมูลว่า หอยทากมีลักษณะอย่างไร เคลื่อนไหวอย่างไร กินอาหารอย่างไร ชอบอาศัยอยู่บริเวณไหน และ ตัวของหอยทากมี ประโยชน์อย่างไร เป็นต้น 2. เพื่อศึกษาประโยชน์สิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดหลวง เช่น ประโยชน์ของต้นไม้หรือ ดอกไม้นั้นๆ เช่น สารวจพบ ต้นมะนาว ก็นาไปหาข้อมูลมาว่า มะนาวดีอย่างไร มี สรรพคุณและประโยชน์อย่างไร นาไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง เป็นต้น 3. เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชนวัดหลวงไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันของเรา เช่น สารวจพบ ดอกบานไม่รู้โรย ก็นาไปหาข้อมูลมาว่า สามารถ นาไปใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง ควรจะตกแต่งบ้านอย่างไรให้ออกมาสวยงาม เป็นต้น 3. สมมติฐานของการศึกษา ถ้าชุมชนวัดหลวงมีความหลากหลายของทรัพยากรทางชีวภาพอย่างแท้จริงแล้ว เมื่อเราทาการสารวจชุมชนวัดหลวง จะพบสิ่งมีชีวิตที่มีความแตกต่างด้านชนิดและสาย พันธุ์ เช่น ดอกบานไม่รู้โรย ต้นลีลาวดี เห็ดกระด้าง สุนัขบางแก้ว และ หอยทาก เป็นต้น
  • 3. 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1. ได้ศึกษาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตต่างๆที่สารวจพบในชุมชนวัดหลวง ว่ามีลักษณะ อย่างไรและมีประโยชน์ต่อชุมชนอย่างไร 2. ได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนวัดหลวงเพิ่มมากขึ้น ว่ามีอากาศที่ดีต่อ สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติและชุมชนหรือไม่ 3. เพื่อการเผยแพร่องค์ความรู้แก่ผู้ที่มีความสนใจในเรื่องการสารวจชุมชน ซึ่ง ข้อมูลต่างๆที่ได้จากการสารวจชุมชนวัดหลวงนี้ สามารถนาไปพัฒนาเป็นการสารวจ ข้อมูลต่างๆในระดับที่ใหญ่กว่านี้ได้ 5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน (ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้เขียนเป็นข้อๆ) 1. ต้นโป๊ยเซียนจักรพรรดิ์ มีดอกซ้อนกันหลายดอก ขนาดของลาต้น ใบและดอก แตกต่างกันมาก มีหนามแหลมลาต้นแข็งแรง ลาต้นตั้งตรงหรือเอนลู่ห้อยลง ใบหนาเป็น รูปใบพาย ออกดอกเป็นช่อ เช่น สีขาวครีม เหลือง ส้ม ชมพู ม่วง เขียว ออกดอกตลอด ปี มีลาต้นแข็งแรง มีหนามแหลม คล้ายต้นตะบองเพชร มียางสีขาวข้นคล้ายน้านมใบมี สีเขียวเข้ม บางชนิดมีจุดประต่าง ๆ บางชนิดมีขลิบสีอ่อน และตรงใจกลางดอกมีสีต่าง ๆ กัน บางชนิดมีชั้นเดียว แต่บางชนิดมีดอกซ้อนกันถึง 6 ชั้น ดอกบานตลอดปี และ ออกดอกมากในฤดูหนาว ดอกบานทนทาน 2. ต้นวาสนา เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลาต้นกลม ต้นตรง ไม่มีกิ่งก้าน ลา ต้นเป็นข้อถี่ ผิวเปลือกลาต้นมีสีน้าตาล เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากลาต้นส่วนยอดเรียงซ้อน กันเวียนรอบลาต้นเป็นรูปวงกลมลักษณะใบเรียวยาว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบ เกลี้ยงเป็นมันสีเขียว ออกดอกเป็นช่อตรงส่วนยอดของลาต้นช่อดอกมีขนาดใหญ่เป็น รูปทรงกลมช่อดอกยาวดอกมีขนาดเล็กอยู่รวมกันเป็นกลุ่มดอกมีสีขาวหรือเหลืองอ่อน 3. หอยทาก จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังไฟลัมมอลลัสคา หอยทากจะ พบแพร่หลายในช่วงฤดูฝน เพื่อออกหากินสะสมอาหารจานวนมากและแพร่ขยายพันธุ์ ชอบออกหากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะอาศัยที่ร่มหลบแสงแดด หอยทากมีการ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
  • 4. 4. เห็ดกระด้าง อกเห็ดเป็นดอกเดียว มีโคนก้านดอกเล็ก ปลายดอกบานออกเป็น ปากแตร หรือรูปกรวย ตรงกลางดอกเห็ดบุ๋มลึกลงไปเป็นรูปกรวย มีสีกากีหรือสีน้าตาล มีขนละเอียดคล้ายกามะหยี่ที่บริเวณด้านบนของดอกเห็ด ด้านล่างมีครีบหมวกเรียงเป็น รัศมีรอบก้าน และยาวขนานกับก้านดอกลงไปเกือบถึงโคนก้านดอก ดอกเห็ดด้านล่างมีซี่ หมวกสีน้าตาลเข้มกว่าด้านบน และเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลเข้มปนแดง เมื่อดอกเห็ดแก่ขอบ ของหมวกเห็ดบางกว่าส่วนกลางเพราะครีบหมวกค่อย ๆเรียวเล็กเชื่อมติดกับขอบหมวก ครีบหมวกแคบบางและไม่ลึกเหมือนเห็ดอื่นๆ ทั่วไป 5. บานไม่รู้โรย เป็นไม้ล้มลุกประเภทต้นเตี้ย ลาต้น กิ่งก้าน และใบมีขนละเอียดอ่อน นุ่มปกคลุม ลักษณะสีของลาต้นและกิ่งก้านจะเป็นตัวบ่งบอกสีของดอกได้ ใบ มีลักษณะ ยาวรี ขอบใบเรียบ ปลายใบจะมีทั้งแหลมและมน ใบมีสีเขียวอ่อนและมีขนละเอียดปกคลุม อยู่ ใบออกเป็นคู่ตรงกันข้าม สลับกันไปตามข้อของลาต้น 6. สุนัขบางแก้ว รูปร่างคล้ายรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีสัดส่วนที่กลมกลืน มี กล้ามเนื้อที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีการเลื่อนไหวที่คล่องแคล่ว รวดเร็ว ปราดเปรียว 7. ทับทิม ไม้ยืนต้น หรือพรรณไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลักษณะผิวเปลือกลาต้นเป็นสีเทา ส่วนที่เป็นกิ่งหรือยอดอ่อนจะเป็นเหลี่ยม หรือ มีหนามแหลมยาวขึ้น ใบ ใบมีลักษณะเป็น รูปยาวรี โคนใบมน แคบ ส่วนปลายใบเรียวแหลมสั้น ผิวหลังใบ เกลี้ยงเป็นมัน ใต้ท้องใบ จะเห็นเส้นใบได้ชัด ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็น ดอกเดียว ในบริเวณปลายยอด หรือ ง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สีส้ม สีขาว หรือสีแดง 8. ต้นหยก มีรูปแบบการเจริญเติบโตแตกต่างกัน แบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ 1) แตกเป็นรูปเขากวาง (Forming a cluster) ประกอบด้วยกิ่งแขนงแตกเป็นกลุ่มรอบโคน ต้น คล้ายเขากวาง บนขอบหรือสันกิ่งมีใบและหนามขนาดเล็กเป็นระยะๆ เช่น หยกพันธุ์ มงคล และพันธุ์มังกรแดง 2) แผ่เป็นรูปพัด (fan shaped) เป็นต้นเดี่ยวที่แขนงติดกันเป็นแผงรูปพัด แนวสัน (ridges) จะเป็นริ้วอยู่ทั่วแผง มีใบและหนามอยู่บนสันเช่นกัน ต่อมาใบจะร่วงเหลือแต่บริเวณใกล้ เรือนยอด (crowing tip) ส่วนหนามจะคงอยู่ทั่วแผง เช่น หยกพันธุ์ทองนพเก้า และพันธุ์ ทองคานพคุณ 3) แบบคลื่น (branched crested) เป็นต้นเดี่ยวที่แขนงติดกันเป็นแผง ไม่เป็นระนาบเดียวรูป พัด แต่จะพัฒนาแผ่ซ้อนเป็นร่องคลื่นคล้ายงูเลื้อย (forming a snaky ridge) เช่น หยกพันธุ์ เบญจรงค์ และพันธุ์ทับทิม
  • 5. 9. ต้นลีลาวดี ตกกิ่งก้านสาขาและพุ่มใบสวยงาม มีน้ายางสีขาวข้น เป็นไม้ผลัดที่ สลัดใบในฤดูแล้ง ก่อนที่จะผลิดอกและผลิใบรุ่นใหม่ ถ้าหากเป็นกิ่งที่ยังไม่แก่ จะมีสีเขียว อ่อนนุ่ม ดูเกือบจะอวบน้า ส่วนกิ่งแก่มีสีเทามีรอยตะปุ่มตะป่า กิ่งไม่สามารถทานน้าหนัก ได้ กิ่งเปราะ เปลือกลาต้นหนาต้นที่โตเต็มที่แล้วจะพัฒนาจนกระทั่งมีความแข็งแรงมากขึ้น เป็นใบเดี่ยว มีการเรียงตัวแบบสลับและหนาแน่นใกล้ปลายกิ่ง มีลักษณะแตกต่างกันไปทั้ง รูปร่าง ขนาด สี และความหนาแน่น โดยทั่วไปใบจะหนา เหนียวแข็ง และมีสีตั้งแต่สีเขียว อ่อนถึงสีเขียวเข้ม มีเส้นกลางใบแตกสาขาออกไปคล้ายขนนก ขนาดใบแตกต่างกัน ดอกจะผลิออกมาจากปลายยอดเหนือใบ เห็นเป็นช่อดอกใหญ่สวยงาม แต่ก็มีบางชนิดที่ ออกช่อดอกระหว่างใบ หรือใต้ใบบางชนิดห้อยลงบางชนิดตั้งขึ้น ในหนึ่งช่อจะมีดอกบาน พร้อมกัน 10 – 30 ดอก บางต้นที่มีความสมบูรณ์เต็มที่อาจมีดอกมากกว่า 100 ดอก ต่อ 1 ช่อ 10. ต้นมะนาว ไม้พุ่มสูง 2-4 เมตร เปลือกลาต้นมีสีเทาปนน้าตาล กิ่งอ่อนมีสี เขียวอ่อนเมื่อแก่สีเข้ม บนลาต้นและกิ่งก้านจะมีหนามแข็งแหลม ส่วนใหญ่เกิดที่ซอกใบ เป็นใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบเดียว เรียงสลับ มีสีเขียวอ่อนรูปร่างยาวรีหรือรูปไข่ ปลายใบมีลักษณะแหลมขอบใบ เป็นดอกเดี่ยวหรือช่อดอก เกิดบริเวณซอกใบและปลาย กิ่งกลีบดอกสีขาว กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนเกสรตัวผู้อยู่เป็นกลุ่ม เกสรตัวเมียรูปคล้าย ทรงกระบอก ผลสดรูปกลมและรูปยาวรีหรือรูปไข่ มีขนาดกว้าง ยาวประมาณ 3-12 เซนติเมตร ผิวเปลือกมีลักษณะขรุขระ และมีต่อมน้ามันที่ผิวขนาดเล็กคล้ายรูปไข่ ด้าน ปลายหัวจะแหลม ภายในเมล็ดมีเนื้อเยื่อสีขาว
  • 6. 6. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ - ไว้ศึกษาข้อมูลต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตที่สารวจได้ในชุมชน 2. กล้องถ่ายรูป , โทรศัพท์ – ไว้ถ่ายรูปสิ่งมีชีวิตต่างๆในชุมชน 3. สมุดจดบันทึก – ไว้จดสิ่งต่างๆที่ถ่ายได้ พร้อมทั้งร่างแผนที่คร่าวๆ 4. เว็บ www.biogang.net – ไว้ลงข้อมูลของสิ่งมีชีวิตที่สารวจพบในชุมชน - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 1. วางแผนเกี่ยวกับหัวข้อการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยาในชุมชน 2. วางแผนเลือกชุมชนที่จะไปสารวจ 3. รวบรวมข้อมูลชุมชนที่จะไปสารวจ 4. เริ่มทาการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยาในเขตชุมชนที่วางแผนไว้ 5. ถ่ายรูปคู่กับสิ่งที่มีชีวิตที่สารวจพบในชุมชน 6. ถ่ายสิ่งมีชีวิตต่างๆครบ 10 ชนิด แล้วทาการหาข้อมูลของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ 7. นาข้อมูลที่หามาได้ 10 ชนิด ไปลงใน www.biogang.net 8. เซฟข้อมูลที่ลงใน Biogang มาลงใน word เพื่อรวมข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน 9. ทารูปเล่มโครงงาน โดยเอาข้อมูลจากชุมชนที่สารวจได้มาลง E-Book 10. นา E-Book มาตรวจสอบความเรียบร้อย 11. นาเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
  • 7. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน ระยะเวลาในการ ทาโครงงาน 1. วางแผนเกี่ยวกับหัวข้อการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยา ในชุมชน 10 กรกฏาคม 2557 2. วางแผนเลือกชุมชนที่จะไปสารวจ 10 กรกฏาคม 2557 3. รวบรวมข้อมูลชุมชนที่จะไปสารวจ 12 กรกฏาคม 2557 4. เริ่มทาการสารวจความหลากหลายทางชีววิทยาในเขตชุมชนที่ วางแผนไว้ 17 กรกฏาคม 2557 5. ถ่ายรูปคู่กับสิ่งที่มีชีวิตที่สารวจพบในชุมชน 17 กรกฏาคม 2557 6. ถ่ายสิ่งมีชีวิตต่างๆครบ 10 ชนิด แล้วทาการหาข้อมูลของ สิ่งมีชีวิตนั้นๆ 17 กรกฏาคม 2557 7. นาข้อมูลที่หามาได้ 10 ชนิด ไปลงใน www.biogang.net 20 กรกฏาคม 2557 8. เซฟข้อมูลที่ลงใน Biogang มาลงใน word เพื่อรวมข้อมูลไว้ เป็นหลักฐาน 21 กรกฏาคม 2557 9. ทารูปเล่มโครงงาน โดยเอาข้อมูลจากชุมชนที่สารวจได้มาลง E- Book 22 กรกฏาคม 2557 10. นา E-Book มาตรวจสอบความเรียบร้อย 23-24 กรกฏาคม 2557 11. นาเสนอ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ 25 กรกฏาคม 2557
  • 8. 7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง (เขียนเป็น ข้อๆทั้งจากเว็ปไซต์และห้องสมุด หนังสือ ตารา) 1. http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/2549/m6/BotanicalGarden/poaysian.htm 2. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view3.aspx?id=10385 3. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9343 4. http://panmainaiban.blogspot.com/2011/06/blog-post_8674.html 5. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=3206 6. www.shc.ac.th/learning/botanical-garden/208.htm,www.sns.ac.th/www511/401/25.html 7. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=8607 8. http://www.moe.go.th/moe/th/blog/view-blog.php?memberid=159&blogid=69 9. http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9043 10.http://www.kasetonline.com/2011/03/01/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%81/
  • 9. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net การสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนวัดหลวง รายชื่อสมาชิกกลุ่ม Happy Time นาย จิตรภานุ ทนานนท์ ม.6/1 เลขที่ 1 นาย ธนวัฒน์ วิระบรรณ ม.6/1 เลขที่ 20 นาย ภูมิภัทร วงษ์ปิติรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 38 นางสาว ปภัสสร ม้าห้วย ม.6/1 เลขที่ 39 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นาย วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 10.
  • 11. 1. นาย จิตรภานุ ทนานนท์ ม.6/1 เลขที่ 1 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ ต้นโป๊ยเซียนจักรพรรดิ์ (พืช)
  • 12. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นวาสนา (พืช) 2. นาย ธนวัฒน์ วิระบรรณ ม.6/1 เลขที่ 20
  • 13. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ หอยทาก (สัตว์) ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ เห็ดกระด้าง (ฟังไจ)
  • 14. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ บานไม่รู้โรย (พืช)
  • 15. 3. นาย ภูมิภัทร วงษ์ปิติรัตน์ ม.6/1 เลขที่ 38 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ สุนัขบางแก้ว (สัตว์)
  • 17. 4. นางสาว ปภัสสร ม้าห้วย ม.6/1 เลขที่ 39 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นหยก (พืช)