SlideShare a Scribd company logo
1
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อ จํานวนยอด ของต้นเข็ม
นําเสน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตําแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาว ฐิตาพร มุทุธาร เลขที่ 4
2. นางสาวธัญญาธิณี เจตนาพรสําราญ เลขที่ 7
3. นางสาว ธัญวรัตน์ ธนเขตไพศาล เลขที่ 8
4. นางสาวลักษิกา สุทธิศิลธรรมเลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รูปสมาชิกโครงงานทั้งหมดหรือภาพกระบวนการทําโครงงานของนักเรียน
2
คํานํา
รายงานฉบับนี้ได้จัดทําขึ้นเพื่อแสดงผลของการใช้ฮอร์โมนอ๊อกซิน ต่อความสูงและอัตราการแตก
ตาด้านข้างของต้นไม้โดยการทดลองฉีดพ่นฮอร์โมนออกซินกับต้นเข็ม วัดความสูงและนับกิ่งก่อนและหลัง
การทดลอง
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5 คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะ
เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและคนทําสวนทั่วไปไม่มากก็น้อย ถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทํา
ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทํา
3
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนํา 4
บทที่ 2 7
บทที่ 3 10
บทที่ 4 11
บทที่ 5 13
บรรณานุกรม 13
ภาคผนวก 14
4
บทที่ 1 บทนํา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อ จํานวนยอดของ ต้นเข็ม
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาว ฐิตาพร มุทุธาร เลขที่ 4
2. นางสาวธัญญาธิณี เจตนาพรสําราญ เลขที่ 7
3. นางสาว ธัญวรัตน์ ธนเขตไพศาล เลขที่ 8
4. นางสาวลักษิกา สุทธิศิลธรรมเลขที่ 17
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
5
ที่มาและความสําคัญ
เนื่องจาก ต้นเข็มเป็นต้นไม้ที่มีผู้ปลูกมากเพื่อตกแต่ง พบได้ทั่วไป ปลูกง่าย ผู้คนจึงนิยม อีกทั้งยัง
เป็นต้นไม้ที่มีความสําคัญในด้านสังคม คือเป็นต้นไม้ที่ใช้ในประเพณีไหว้ครูของไทย. นอกจากนี้ ฮอร์โมน
ออกซินก็เป็นที่นิยมในหมู่เกษตรกร เป้าหมายในการศึกษา คือศึกษาว่า ความเข้มข้นของออกซินมีผลต่อการ
งอกใหม่ของยอดอย่างไร
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกก
ซิน .ที่มีต่อจํานวนยอดของต้นเข็ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าออกซินมีผลต่อการเพิ่มของจํานวนยอด
อย่างไร คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมี
ประโยชน์ต่อเกษตรกรและผู้ที่ปลูกต้นไม้ในอนาคตต่อไป
คําถามการทําโครงงาน
สารละลายฮอร์โมน ออกซิน ที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ ต้นเข็ม มีจํานวนยอด มากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซิน ที่ความเข้มข้น 4.4% มีผลต่อจํานวนยอด เจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน
ออกซิน ความเข้มข้น 0% จะทําให้จํานวนยอด มี จํานวนยอดน้อยที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่ทําให้ต้นเข็มเกิดจํานวนยอดมากที่สุด
2. เพื่อเปรียบเทียบว่าต้นเข็มที่ได้รับฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นมากจะมีจํานวนยอดอย่างไรเมื่อ
เปรียบเทียบกับจํานวนยอดของต้นเข็มที่ได้รับออกซินความเข้มข้นน้อยกว่า
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจผลของออกซินที่มีต่อจํานวนยอดของพืช
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นฮอร์โมนที่เหมาะสมที่ทําให้ต้นเข็มทีจํานวนยอดมากที่สุด
3. เป็นการส่งเสริมเกษตรกรในการใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้เกดผลดีมาก
ที่สุด
ขอบเขตของโครงงาน
การทําโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะยอดของต้นเข็ม
6
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของออกวิน
ตัวแปรตาม คือ จํานวนยอดของต้นเข็ม
ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน อุณหภูมิ
ช่วงระยะเวลาในการทําโครงงาน
13 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กรกฎาคม 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
นับจํานวนยอดทุกยอดแล้วนํามาหักลบกับจํานวนยอดของวันที่เริ่มทําการทดลอง เพื่อหาจํานวนยอดที่
เพิ่มขึ้น
ขั้นตอนกระบวนการทําการทดลอง
1.จัดเตรียมอุปกรณ์และต้นเข็ม
2.แยกกลุ่มการทดลองเป็น low dose(2.2%) high dose(4.4%) และ ชุดควบคุม
3.รดนํ้าและฉีดฮอร์โมนทุกวันโดยผลัดวันกันทําเวร
4.ทําการนับยอดทั้งหมดเพื่อหาจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นมาใหม่ทุกๆประมาณ 16 วัน
7
5.จดบันทึกการเปลี่ยนแปลงในตาราง
6.สรุปผลการทดลอง
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
การหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฮอร์โมนกับจํานวนยอดต้นเข็ม
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. เนื้อหาที่เกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใช้
ข้อมูลพืช ต้นเข็มแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Ixora chinensis Lamk. Ixora spp.
ชื่อวงศ์: RUBIACEAE
ชื่อสามัญ: West Indian Jasmine
ลักษณะทั่วไป:
ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ลําต้นสูงประมาณ 3–5 ฟุต จะแตกกิ่งก้านสาขาออกแผ่เป็น
พุ่ม ลําต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอแผ่สาขาออกไปเป็นต้นต้นเล็กกลมขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10
เซนติเมตรลําต้นเรียบสีนํ้าตาลกิ่งยอดมีสีเขียวแตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน
8
ใบ ใบของดอกเข็มแข็ง และเปราะง่าย มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออก
เรียงสลับกันคนละทิศทาง ลักษณะใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดพันธุ์
ดอก ดอกออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็น
หลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ลักษณะดอกและสีสรรแตกต่างกันไป
ฝัก/ผล เป็นผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดํา
การดูแลรักษา: ชอบอยู่กลางแจ้ง ขึ้นได้กับดินทุกชนิดแต่จะชอบดินที่ร่วนซุยมากกว่า มีความชุ่มชื้นพอดี
ทนทานต่อความแห้งแล้ง
การขยายพันธุ์: ปักชํากิ่ง เพาะเมล็ด กิ่งตอน
2. เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใช้
ผลของออกซินต่อพืช
1. กระตุ้นการแบ่งเซลล์ให้ขยายขนาดแทบทุกส่วน พืชจึงเจริญเติบโต เซลล์ขยายตัวออกทั้งความยาวและ
ความกว้าง
2. ควบคุมการเจริญของตาด้านข้าง โดยตายอดสร้างอ๊อกซินในปริมาณสูง แล้วลําเลียงลงสู่ด้านล่าง ออกซิน
จะยับยั้ง การเจริญเติบโตของตาและใบด้านข้าง พืชจึงสูงขึ้นแต่ไม่เป็นพุ่ม แต่เมื่อตัดยอดออกความเข้มข้น
ของออกซินจะลดลง ทําให้ไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของตาด้านข้างและใบได้พืชจึงแตกตาด้านข้าง
ได้ทําให้ต้นพืชมีลักษณะเป็นพุ่มขึ้น
3. อ๊อกซินในปริมาณที่พอเหมาะสามารถใช้กระตุ้นกิ่งตอนและกิ่งปักชําให้งอกรากได้
4. ควบคุมการเคลื่อนไหวของพืชแบบที่มีแสงเป็นสิ่งเร้า หรือมีแรงโน้มถ่วงของโลกเป็นสิ่งเร้า
9
5. ควบคุมการออกดอกของพืชบางชนิด เช่น สับปะรด มะม่วง ลิ้นจี่ ทําให้ออกดอกเร็วขึ้นและออกดอก
พร้อมกัน ชักนําให้ ดอกตัวผู้เป็นดอกตัวเมียเพิ่มขึ้น
6. ช่วยชะลอการหลุดร่วงของใบ ดอก และผล
7. ควบคุมการเจริญเติบโตของผล เช่น แตงโม องุ่น มะเขือเทศ บวบ เมื่อพ่นด้วยอ๊อกซินในปริมาณที่
พอเหมาะ จะทําให้รังไข่เจริญ เป็นผลได้โดยไม่มีเมล็ด
8. ออกซินบางชนิดใช้เป็นยาปราบวัชพืชได้จากการพบว่าออกซินนั้นหากมีปริมาณพอเหมาะจะมีผลในการ
กระตุ้นการเจริญเติบโต ของพืช แต่ถ้ามีปริมาณมากเกินไปกลับยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช จึงนําไปเป็นยา
ปราบวัชพืช
10
บทที่ 3 การดําเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ฟ๊อกกี้ 3 อัน
2. ฮอร์โมนออกซิน
3. ขวดแบ่งฮอร์โมนออกซิน
4. หลอดวัดปริมาตร
5. ต้นเข็ม 9 ต้น
ขั้นตอนการทําโครงงาน
1.จัดซื้ออุปกรณ์ที่ต้องใช้ได้แก่ ต้นเข็ม ฮอร์โมนออกซิน ฟอกกี้
2.แยกกลุ่มการทดลองเป็น low dose(2.2%) high dose(4.4%) และ ชุดควบคุม
3.รดนํ้าและฉีดฮอร์โมนทุกวันโดยผลัดวันกันทําเวร
4.ทําการนับยอดทั้งหมดเพื่อหาจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นมาใหม่ทุกๆประมาณ 16 วัน
5.จดบันทึกการเปลี่ยนแปลงในตาราง
6.สรุปผลการทดลอง
11
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่
จํานวนยอดที่เพิ่มขึ้น
ผู้รดน้าControl Low dose High dose
1 2 3 av 1 2 3 av 1 2 3 av
13/6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
14/6
15/6
16/6
17/6
18/6
19/6
20/6
21/6
22/6
23/6
24/6
25/6
26/6
27/6
28/6
29/6
30/6 7 5 5 5.6 3 5 4 4 1 2 1 1.3
1/7
2/7
3/7
4/7
5/7
6/7
7/7
8/7
9/7
10/7
11/7
12/7
13/7
14/7
15/7
16/7
17/7 10 9 10 9.6 7 8 6 7 2 3 3 2.6
18/7
19/7
20/7
21/7
22/7
23/7
24/7
25/7
26/7
27/7
28/7
29/7
30/7
31/7 13 13 14 13.3 9 10 8 9 3 3 4 3.3
12
กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าในชุด low dose และ high dose มีจํานวนยอดที่แตกใหม่น้อยกว่าชุด
ควบคุมอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะในชุด high dose
จึงสามารถสรุปผลการทดลองได้ว่า จํานวนยอดที่แตกใหม่แปรผกผันกับความเข้มข้นฮอร์โมนอ๊อก
ซิน
0
2
4
6
8
10
12
14
13-มิ.ย. 20-มิ.ย. 27-มิ.ย. 4-ก.ค. 11-ก.ค. 18-ก.ค. 25-ก.ค.
control
low dose
high dose
13
ที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินมีผลยับยั้งการงอกใหม่ของยอดของต้นเข็ม ดังนั้นต้นเข็มที่ได้รับ
ความเข้มข้นของออกซินมากจะมีจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นน้อยที่สุด และชุดควบคุม ซึ่งไม่ได้รับฮอร์โมนออก
ซินจะมีจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นมากที่สุด เนื่องจากด้านล่าง ออกซินจะยับยั้ง การเจริญเติบโตของตาและใบ
ด้านข้าง พืชจึงสูงขึ้นแต่ไม่เป็นพุ่ม มีจํานวนยอดน้อย
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
พบว่ามีปัญหาในระยะแรกคือต้นไม้เริ่มเหี่ยวเฉา เนื่องจากต้นเข็มเป็นพืชที่ต้องการแสงในปริมาณมาก แต่
บริเวณที่ทําการทดลองนั้นมีหลังคาบังแดด ทําให้ต้นเข็มได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ โดยในภายหลัง ได้ทํา
การย้ายสถานที่ทดลองไปไว้กลางแจ้ง เพื่อรับแสงแดดอย่างเพียงพอ
บรรณานุกรม
http://www.thaikasetsart.com/การใช้ออกซินสังเคราะห์
http://www.nanagarden.com/shop/เข็ม-west-indian-jasmine/02006
14
ภาคผนวก
รูปแสดง การติดตามความพร้อมของอุปกรณ์
รูปแสดงการจัดทําป้ายเพื่อระบุข้อมูลของแต่ละต้น
15
รูปแสดงการแบ่งกลุ่มตัวอย่าง
รูปแสดงการฉีดฮอร์โมน
รูปแสดงการติดตามผล
16

More Related Content

What's hot

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
Wichai Likitponrak
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 

Similar to Plant hor 8_77_60

M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
Wichai Likitponrak
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
PasinSuphaphol
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
Wichai Likitponrak
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
Wichai Likitponrak
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
Wichai Likitponrak
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
Latcha MaMiew
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
Wichai Likitponrak
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
sathitauerpairojkit
 

Similar to Plant hor 8_77_60 (20)

M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
Biocontest2014 kitty
Biocontest2014 kittyBiocontest2014 kitty
Biocontest2014 kitty
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant hor 8_77_60

  • 1. 1 โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อ จํานวนยอด ของต้นเข็ม นําเสน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตําแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาว ฐิตาพร มุทุธาร เลขที่ 4 2. นางสาวธัญญาธิณี เจตนาพรสําราญ เลขที่ 7 3. นางสาว ธัญวรัตน์ ธนเขตไพศาล เลขที่ 8 4. นางสาวลักษิกา สุทธิศิลธรรมเลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รูปสมาชิกโครงงานทั้งหมดหรือภาพกระบวนการทําโครงงานของนักเรียน
  • 2. 2 คํานํา รายงานฉบับนี้ได้จัดทําขึ้นเพื่อแสดงผลของการใช้ฮอร์โมนอ๊อกซิน ต่อความสูงและอัตราการแตก ตาด้านข้างของต้นไม้โดยการทดลองฉีดพ่นฮอร์โมนออกซินกับต้นเข็ม วัดความสูงและนับกิ่งก่อนและหลัง การทดลอง รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5 คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะ เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรและคนทําสวนทั่วไปไม่มากก็น้อย ถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทํา ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทํา
  • 3. 3 สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนํา 4 บทที่ 2 7 บทที่ 3 10 บทที่ 4 11 บทที่ 5 13 บรรณานุกรม 13 ภาคผนวก 14
  • 4. 4 บทที่ 1 บทนํา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อ จํานวนยอดของ ต้นเข็ม สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาว ฐิตาพร มุทุธาร เลขที่ 4 2. นางสาวธัญญาธิณี เจตนาพรสําราญ เลขที่ 7 3. นางสาว ธัญวรัตน์ ธนเขตไพศาล เลขที่ 8 4. นางสาวลักษิกา สุทธิศิลธรรมเลขที่ 17 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 5. 5 ที่มาและความสําคัญ เนื่องจาก ต้นเข็มเป็นต้นไม้ที่มีผู้ปลูกมากเพื่อตกแต่ง พบได้ทั่วไป ปลูกง่าย ผู้คนจึงนิยม อีกทั้งยัง เป็นต้นไม้ที่มีความสําคัญในด้านสังคม คือเป็นต้นไม้ที่ใช้ในประเพณีไหว้ครูของไทย. นอกจากนี้ ฮอร์โมน ออกซินก็เป็นที่นิยมในหมู่เกษตรกร เป้าหมายในการศึกษา คือศึกษาว่า ความเข้มข้นของออกซินมีผลต่อการ งอกใหม่ของยอดอย่างไร คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกก ซิน .ที่มีต่อจํานวนยอดของต้นเข็ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าออกซินมีผลต่อการเพิ่มของจํานวนยอด อย่างไร คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมี ประโยชน์ต่อเกษตรกรและผู้ที่ปลูกต้นไม้ในอนาคตต่อไป คําถามการทําโครงงาน สารละลายฮอร์โมน ออกซิน ที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ ต้นเข็ม มีจํานวนยอด มากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซิน ที่ความเข้มข้น 4.4% มีผลต่อจํานวนยอด เจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน ออกซิน ความเข้มข้น 0% จะทําให้จํานวนยอด มี จํานวนยอดน้อยที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่ทําให้ต้นเข็มเกิดจํานวนยอดมากที่สุด 2. เพื่อเปรียบเทียบว่าต้นเข็มที่ได้รับฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นมากจะมีจํานวนยอดอย่างไรเมื่อ เปรียบเทียบกับจํานวนยอดของต้นเข็มที่ได้รับออกซินความเข้มข้นน้อยกว่า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจผลของออกซินที่มีต่อจํานวนยอดของพืช 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นฮอร์โมนที่เหมาะสมที่ทําให้ต้นเข็มทีจํานวนยอดมากที่สุด 3. เป็นการส่งเสริมเกษตรกรในการใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้เกดผลดีมาก ที่สุด ขอบเขตของโครงงาน การทําโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะยอดของต้นเข็ม
  • 6. 6 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของออกวิน ตัวแปรตาม คือ จํานวนยอดของต้นเข็ม ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน อุณหภูมิ ช่วงระยะเวลาในการทําโครงงาน 13 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กรกฎาคม 2560 วิธีการเก็บข้อมูล นับจํานวนยอดทุกยอดแล้วนํามาหักลบกับจํานวนยอดของวันที่เริ่มทําการทดลอง เพื่อหาจํานวนยอดที่ เพิ่มขึ้น ขั้นตอนกระบวนการทําการทดลอง 1.จัดเตรียมอุปกรณ์และต้นเข็ม 2.แยกกลุ่มการทดลองเป็น low dose(2.2%) high dose(4.4%) และ ชุดควบคุม 3.รดนํ้าและฉีดฮอร์โมนทุกวันโดยผลัดวันกันทําเวร 4.ทําการนับยอดทั้งหมดเพื่อหาจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นมาใหม่ทุกๆประมาณ 16 วัน
  • 7. 7 5.จดบันทึกการเปลี่ยนแปลงในตาราง 6.สรุปผลการทดลอง วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล การหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฮอร์โมนกับจํานวนยอดต้นเข็ม บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. เนื้อหาที่เกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใช้ ข้อมูลพืช ต้นเข็มแดง ชื่อวิทยาศาสตร์: Ixora chinensis Lamk. Ixora spp. ชื่อวงศ์: RUBIACEAE ชื่อสามัญ: West Indian Jasmine ลักษณะทั่วไป: ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ลําต้นสูงประมาณ 3–5 ฟุต จะแตกกิ่งก้านสาขาออกแผ่เป็น พุ่ม ลําต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอแผ่สาขาออกไปเป็นต้นต้นเล็กกลมขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตรลําต้นเรียบสีนํ้าตาลกิ่งยอดมีสีเขียวแตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน
  • 8. 8 ใบ ใบของดอกเข็มแข็ง และเปราะง่าย มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออก เรียงสลับกันคนละทิศทาง ลักษณะใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดพันธุ์ ดอก ดอกออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็น หลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ลักษณะดอกและสีสรรแตกต่างกันไป ฝัก/ผล เป็นผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดํา การดูแลรักษา: ชอบอยู่กลางแจ้ง ขึ้นได้กับดินทุกชนิดแต่จะชอบดินที่ร่วนซุยมากกว่า มีความชุ่มชื้นพอดี ทนทานต่อความแห้งแล้ง การขยายพันธุ์: ปักชํากิ่ง เพาะเมล็ด กิ่งตอน 2. เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใช้ ผลของออกซินต่อพืช 1. กระตุ้นการแบ่งเซลล์ให้ขยายขนาดแทบทุกส่วน พืชจึงเจริญเติบโต เซลล์ขยายตัวออกทั้งความยาวและ ความกว้าง 2. ควบคุมการเจริญของตาด้านข้าง โดยตายอดสร้างอ๊อกซินในปริมาณสูง แล้วลําเลียงลงสู่ด้านล่าง ออกซิน จะยับยั้ง การเจริญเติบโตของตาและใบด้านข้าง พืชจึงสูงขึ้นแต่ไม่เป็นพุ่ม แต่เมื่อตัดยอดออกความเข้มข้น ของออกซินจะลดลง ทําให้ไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของตาด้านข้างและใบได้พืชจึงแตกตาด้านข้าง ได้ทําให้ต้นพืชมีลักษณะเป็นพุ่มขึ้น 3. อ๊อกซินในปริมาณที่พอเหมาะสามารถใช้กระตุ้นกิ่งตอนและกิ่งปักชําให้งอกรากได้ 4. ควบคุมการเคลื่อนไหวของพืชแบบที่มีแสงเป็นสิ่งเร้า หรือมีแรงโน้มถ่วงของโลกเป็นสิ่งเร้า
  • 9. 9 5. ควบคุมการออกดอกของพืชบางชนิด เช่น สับปะรด มะม่วง ลิ้นจี่ ทําให้ออกดอกเร็วขึ้นและออกดอก พร้อมกัน ชักนําให้ ดอกตัวผู้เป็นดอกตัวเมียเพิ่มขึ้น 6. ช่วยชะลอการหลุดร่วงของใบ ดอก และผล 7. ควบคุมการเจริญเติบโตของผล เช่น แตงโม องุ่น มะเขือเทศ บวบ เมื่อพ่นด้วยอ๊อกซินในปริมาณที่ พอเหมาะ จะทําให้รังไข่เจริญ เป็นผลได้โดยไม่มีเมล็ด 8. ออกซินบางชนิดใช้เป็นยาปราบวัชพืชได้จากการพบว่าออกซินนั้นหากมีปริมาณพอเหมาะจะมีผลในการ กระตุ้นการเจริญเติบโต ของพืช แต่ถ้ามีปริมาณมากเกินไปกลับยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช จึงนําไปเป็นยา ปราบวัชพืช
  • 10. 10 บทที่ 3 การดําเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ฟ๊อกกี้ 3 อัน 2. ฮอร์โมนออกซิน 3. ขวดแบ่งฮอร์โมนออกซิน 4. หลอดวัดปริมาตร 5. ต้นเข็ม 9 ต้น ขั้นตอนการทําโครงงาน 1.จัดซื้ออุปกรณ์ที่ต้องใช้ได้แก่ ต้นเข็ม ฮอร์โมนออกซิน ฟอกกี้ 2.แยกกลุ่มการทดลองเป็น low dose(2.2%) high dose(4.4%) และ ชุดควบคุม 3.รดนํ้าและฉีดฮอร์โมนทุกวันโดยผลัดวันกันทําเวร 4.ทําการนับยอดทั้งหมดเพื่อหาจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นมาใหม่ทุกๆประมาณ 16 วัน 5.จดบันทึกการเปลี่ยนแปลงในตาราง 6.สรุปผลการทดลอง
  • 11. 11 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ จํานวนยอดที่เพิ่มขึ้น ผู้รดน้าControl Low dose High dose 1 2 3 av 1 2 3 av 1 2 3 av 13/6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14/6 15/6 16/6 17/6 18/6 19/6 20/6 21/6 22/6 23/6 24/6 25/6 26/6 27/6 28/6 29/6 30/6 7 5 5 5.6 3 5 4 4 1 2 1 1.3 1/7 2/7 3/7 4/7 5/7 6/7 7/7 8/7 9/7 10/7 11/7 12/7 13/7 14/7 15/7 16/7 17/7 10 9 10 9.6 7 8 6 7 2 3 3 2.6 18/7 19/7 20/7 21/7 22/7 23/7 24/7 25/7 26/7 27/7 28/7 29/7 30/7 31/7 13 13 14 13.3 9 10 8 9 3 3 4 3.3
  • 12. 12 กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าในชุด low dose และ high dose มีจํานวนยอดที่แตกใหม่น้อยกว่าชุด ควบคุมอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะในชุด high dose จึงสามารถสรุปผลการทดลองได้ว่า จํานวนยอดที่แตกใหม่แปรผกผันกับความเข้มข้นฮอร์โมนอ๊อก ซิน 0 2 4 6 8 10 12 14 13-มิ.ย. 20-มิ.ย. 27-มิ.ย. 4-ก.ค. 11-ก.ค. 18-ก.ค. 25-ก.ค. control low dose high dose
  • 13. 13 ที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินมีผลยับยั้งการงอกใหม่ของยอดของต้นเข็ม ดังนั้นต้นเข็มที่ได้รับ ความเข้มข้นของออกซินมากจะมีจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นน้อยที่สุด และชุดควบคุม ซึ่งไม่ได้รับฮอร์โมนออก ซินจะมีจํานวนยอดที่เพิ่มขึ้นมากที่สุด เนื่องจากด้านล่าง ออกซินจะยับยั้ง การเจริญเติบโตของตาและใบ ด้านข้าง พืชจึงสูงขึ้นแต่ไม่เป็นพุ่ม มีจํานวนยอดน้อย ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม พบว่ามีปัญหาในระยะแรกคือต้นไม้เริ่มเหี่ยวเฉา เนื่องจากต้นเข็มเป็นพืชที่ต้องการแสงในปริมาณมาก แต่ บริเวณที่ทําการทดลองนั้นมีหลังคาบังแดด ทําให้ต้นเข็มได้รับแสงแดดไม่เพียงพอ โดยในภายหลัง ได้ทํา การย้ายสถานที่ทดลองไปไว้กลางแจ้ง เพื่อรับแสงแดดอย่างเพียงพอ บรรณานุกรม http://www.thaikasetsart.com/การใช้ออกซินสังเคราะห์ http://www.nanagarden.com/shop/เข็ม-west-indian-jasmine/02006
  • 16. 16