SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน เรื่องการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรม
ของพืชสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
จัดทําโดย กลุ่มที่ 4
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทย์-คณิต
งานนําเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ว30246
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
นําเสนอ
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิกกลุ่มนําเสนอ
1. น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10
2. น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ 11
3. น.ส.วริศราวิวัลย์ศิริกุล เลขที่ 17
4. น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22
กลุ่มชีววิทยาที่ 4 ห้อง 125
ภาพสมาชิกกลุ่ม
คํานํา
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสืบค้น
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชวงศ์ RUBIACEAE ซึ่งโครงงานนี้มีเนื้อหา
เกี่ยวกับข้อมูลของพืชบางชนิดในวงศ์ RUBIACEAE เช่น ลักษณะ การกระจาย
พันธุ์ และประโยชน์ใช้สอย เป็นต้น
คณะผู้จัดทําหวังว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่ศึกษา หากมี
ข้อแนะนําหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทําขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้
ด้วย
คณะผู้จัดทํา
สารบัญ
เรื่อง สไลด์ที่
สมาชิกกลุ่ม 3
คํานํา 5
คัดเค้า 8
แก้มขาว 10
ยอบ้าน 12
ข้าวสารป่า 13
พุดแตรงอน 15
หนามแท่ง 17
กระทุ่มบก 19
กาแฟอาราบิกา 23
ตะลุมพุก 26
มะคังแดง 29
คําหมอกหลวง 31
ชมพูพิมพ์ใจ 33
เอกสารอ้างอิง 35
กิตติกรรมประกาศ 36
วงศ์เข็ม
(RUBIACEAE)
đΘĽIJđ▫Φ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxyceros
horridus Lour.
ชื่อสามัญ : Siamese randia
ชื่อเรียกอื่น : คัดเค้าเครือ คัดเค้าหนาม พญา
เท้าเอว เค็ดเค้า หนามลิดเค้า
ลักษณะ : ไม้รอเลื้อยหรือไม้พุ่มขนาดกลาง มี
หนามโค้งแข็งเป็นคู่ตามข้อ ใบ เป็นใบเดี่ยว
รูปรี แกมขอบขนาน โคนใบสอบ ปลายใบ
แหลม ดอก สีขาวนวลแกมเหลือง กลีบดอก
ส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยก
เป็น 5 กลีบ
คัดเค้า
การกระจายพันธุ์ : มีถิ่นกําเนิดในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้และแอฟริกาเขตร้อน ออกดอกเดือนธันวาคม-มกราคม
ประโยชน์ : เป็นพรรณไม้ดอกหอม รากมีรสฝาด แก้ไข้และเลือดออกตามไรฟัน ผลมี
สารจําพวกไตรเทอร์ปีน มีฤทธิ์เบื่อปลา
ผู้รับผิดชอบ : น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10
ijć ▫ř ČΦť
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mussaenda
sanderiana Roxb.
ชื่อสามัญ : Butterfly flower
ชื่อเรียกอื่น : แก้มอ้น ใบต่างดอก ดอนย่าป่า กําเบ้อ
กะเบ้อขาว ผีเสื้อ พอแต
ลักษณะ : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม
รูปรี ปลายแหลม โคนมีขนอ่อนนุ่ม มีหูใบชัดเจน
ดอก สีเหลืองสดถึงเหลืองส้ม ออกเป็นช่อสั้น ๆ ที่
ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงส่วนโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย
ปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกแก่มีใบเลี้ยงขยายใหญ่เป็น
1 กลีบ สีขาวนวล ผลรูปไข่ขนาดเล็ก เมล็ดจํานวน
มาก
แก้มขาว
การกระจายพันธุ์ : ถิ่นกําเนิดในคาบสมุทรอินโดจีน พบมากตามชายป่าดิบทาง
ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สูงจากระดับนํ้าทะเล 400-1300 เมตร ชอบที่
ชุ่มชื้นมีแดดปานกลาง
ประโยชน์ : เป็นไม้ดอกไม้ประดับทั่วไป
ผู้รับผิดชอบ : น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia L.
ชื่อสามัญ : Indian Mulberry
ชื่อเรียกอื่น : มะตาเสือ แยใหญ่
ลักษณะ : ไม้ยืนต้นขนาดเล็กสูงถึง 6 ม. ใบเดี่ยว
ออกตรงข้าม รูปรีกว้าง ดอกออกเป็นช่อกลมจากซอก
ใบ ดอกสีขาว ผลรูปไข่ สีเขียว ผลสุก สีเขียวแกมขาว
ประโยชน์ : ใบอ่อนนํามาประกอบอาหารหลายชนิด
เช่น ห่อหมกใบยอ ผลสุกมีรสขม จิ้มเกลือรับประทาน
มีสรรพคุณแก้อักเสบ แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ และเป็น
ยาบํารุง
ผู้รับผิดชอบ : น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10
ยอบ้าน
ข้าวสารป่า
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pavetta tomentosa Roxb. ex Smith
ชื่อพ้อง Ixora tomentosa Roxb. ex Sm. Pavetta praecox Bremek.
ชื่อเรียกอื่น กระดูกงูเหลือม, เข็มขาว (สุรินทร์), เข็มป่า, เข็มแพะ
แหล่งที่พบ พบขึ้นกระจายในอินเดีย ลาว เวียดนาม และกัมพูชา ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปใน
ป่าเต็งรัง ที่ความสูง 300-600 ม. จากระดับนํ้าทะเล ออกดอกและติดผลเดือนเมษายน-สิงหาคม
ข้าวสารป่า
ลักษณะ ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-4 เมตร กิ่งอ่อนกลวง มีขนปกคลุมทั่วไป ใบเป็นใบ
เดี่ยว ออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรีแกมขอบขนาน หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบมน
หรือแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนปกคลุมทั้งสองด้าน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุด
ร่วงง่าย ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง ช่อดอกกลม ดอกย่อยมีจํานวน
มาก ส่วนโคนเป็นหลอด ปลายแผ่แยกเป็น 4 กลีบ ผลกลม เมื่อแก่เป็นสีดํา ภายในมี 2 เมล็ด
ประโยชน์
1. เป็นไม้ประดับได้ดี ดอกมีลักษณะสวยงาม มีกลิ่นหอมอ่อน
2. ยาพื้นบ้านอีสานใช้ รากหรือลําต้น ใช้ผสมสมุนไพรอื่นหลายชนิดต้มนํ้าดื่ม แก้
มะเร็ง รากต้มนํ้าดื่มช่วยเพิ่มนํ้านม โดยใบมีรสเมาเบื่อ รักษาโรคในจมูก ฆ่าพยาธิ
ใช้นํ้าต้ม แก้อาการไข้
ผู้รับผิดชอบ : น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ ๑๑
ข้าวสารป่า
พุดแตรงอน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Euclinia longiflora Salisb.
ชื่อพ้อง -
ชื่อสามัญ Angel’s trumpet
ชื่อเรียกอื่น African Angel Trumpet, Tree
Gardenia
แหล่งที่พบ พบในเขตร้อนของแอฟริกาออกดอกตลอดปีปลูก
เลี้ยงในดินร่วน แสงแดดจัดถึงปานกลาง ต้องการนํ้าปาน
กลางขยายพันธุ์โดยการปักชํากิ่ง
พุดแตรงอน
พุดแตรงอน
ลักษณะ ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบ
เรียบ ดอกเดี่ยว ออกที่ยอดตามซอกใบปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เชื่อม
ติดกันเป็นหลอดยาว รูปแตร เมื่อใกล้โรยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน
ประโยชน์ เป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอม
ผู้รับผิดชอบ : น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ ๑๑
พุดแตรงอน
หนามแท่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Catunaregam tomentosum(Kurz)Bakh.f.
ชื่อพ้อง Randia dasycarpa Bakh.f.
ชื่อสามัญ -
ชื่อเรียกอื่น เคด กะแทง หนามเค็ด เคล็ด เคล็ดทุ่ง แท้ง หนามแท่ง
ตะเคล็ด ระเวียง มะเค็ด
แหล่งที่พบ จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในบริเวณพื้นที่
เปิดหรือทุ่งหญ้าที่ระดับความสูงถึง 500 ม. โดยออกดอกและติดผล
ช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
หนามแท่ง
หนามแท่ง
ลักษณะ ไม้พุ่ม สูง 2-6 ม. มีหนามแข็งเป็นคู่ ยาว 2-5 ซม. กิ่งและยอดอ่อนมีขนนุ่มสีนํ้าตาล
ดอกเดี่ยวหรือออกกระจุกที่ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก มี 2-6 ดอก กลีบดอกสีขาว เมื่อแก่
เปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอมที่โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 8-9 แฉก ผลเป็นผลสดรูป
กลมหรือรี ขนาด 4.5-5.5 ซม. มีขนนุ่มสีนํ้าตาลแกมเขียวปกคลุม
ประโยชน์ ผลใช้สระผม และสามารถใช้ซักผ้า ต้นใช้ปลูกเป็นรั้วปศุสัตว์ได้
ผู้รับผิดชอบ : น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ ๑๑
หนามแท่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp.
ชื่อพ้อง : Neonauclea purpurea (Roxb.) Merr.
ชื่อสามัญ : Wild cinchona
ชื่อท้องถิ่น : ตะกู (จันทบุรี, นครศรีธรรมราช, สุโขทัย), ตะโกใหญ่ (ตราด), ตุ้มพราย, ทุ่มพราย
(ขอนแก่น), กระทุ่มบก กระทุ่มก้านยาว (กรุงเทพ), ตะโกส้ม (ชัยภูมิ, ชลบุรี), แคแสง (ชลบุรี), โก
หว่า (ตรัง), กรองประหยัน (ยะลา), ตุ้มก้านซ้วง ตุ้มก้านยาว ตุ้มเนี่ยง ตุ้มหลวง (ภาคเหนือ), กระทุ่ม
(ภาคกลาง, ภาคเหนือ), ตุ้มขี้หมู (ภาคใต้), กว๋าง (ลาว), ปะแด๊ะ เปอแด๊ะ สะพรั่ง (กะเหรี่ยง-
แม่ฮ่องสอน), ปาแย (มลายู-ปัตตานี)
กระทุ่มบก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp.
ลักษณะของพืช
ต้นกระทุ่ม จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร
บางครั้งมีพูพอน ลําต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลําต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลําต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็น
ร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง
ใบ
ใบกระทุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี รูปไข่
หรือรูปขอบขนาน ปลายใบมนออกแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบมน กลม หรือเป็นรูป
หัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-17 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20
เซนติเมตร แผ่นใบบางและเหนียว หลังใบเรียบเป็นมัน ส่วนท้องใบมีขนสั้นนุ่มหรือบางที
เกลี้ยง มีเส้นแขนงของใบประมาณ 11-20 คู่ ส่วนก้านใบยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร
และมีหูใบลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร
ดอก
ดอกกระทุ่ม ออกดอกที่ปลายกิ่งเป็นช่อกลมกระจุกแน่น มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
4-5 เซนติเมตร ดอกย่อยมีขนาดเล็กอัดกันแน่น ติดบนใบประดับขนาดเล็กประมาณ 1-3 คู่
กลีบเลี้ยงดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ยาวประมาณ 0.2 เซนติเมตร กลีบดอกเป็นสีเหลือง
อับเรณูมีลักษณะเป็นรูปแถบ ดอกมีกลีบดอก สีขาว 5 กลีบ ปลายกลีบหยักแผ่ขยายออกและ
มีขนนุ่ม ๆ ทางด้านนอก มีกลีบเลี้ยงดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ ดอกมี
เกสรเพศผู้จํานวน 5 ก้าน ส่วนเกสรเพศเมียยาว
ผลกระทุ่ม
ผลเป็นผลรวมที่เกิดจากวงกลีบเลี้ยงที่เชื่อมติดกัน หรือผลเป็นกระจุกกลม
มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-4 เซนติเมตร ผลย่อยแยกกัน มีขนาด
ประมาณ 0.3 เซนติเมตร ผิวขรุขระ อุ้มนํ้า ภายในผลมีเมล็ดขนาดเล็ก
แหล่งที่พบ
สามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและ
มาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตาม
ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลําธารที่ระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเล
ตั้งแต่ 500-1,500 เมตร
ประโยชน์
ไม้กระทุ่มมีเนื้อไม้ที่ละเอียด สีเหลืองหรือสีขาว สามารถนํามาใช้ทําพื้นและฝาที่ใช้งานร่ม
หรือนํามาใช้ทํากล่อง ทําอุปกรณ์หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีนํ้าหนักเบา และยังสามารถนํามาใช้ทําเป็นเยื่อ
กระดาษได้อีกด้วย
ในประเทศจีนและประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะนิยมปลูกเป็นสวนป่าเพื่อการใช้
สอย ส่วนในประเทศไทยกําลังได้รับความนิยมเป็นไม้เศรษฐกิจตัวใหม่ให้ผลตอบแทนเร็ว เนื่องจากเป็นไม้
โตเร็ว
นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.วริศรา วิวัลย์สิริกุล เลขที่ 17
กาแฟอาราบิกา
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Coffea arabica L.
ชื่อสามัญ Arabian coffee, Coffee, Kofi, Koffie, Brazillian coffee
ชื่อพ้อง : -
ชื่อเรียกอื่น : Arabica coffee
ลักษณะ :
ไม้ต้นขนาดเล็ก ทรงพุ่มเตี้ย สูง 1-1.5เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนานแกมรี สีเขียวเข้ม
ดอกสีขาว ผลอ่อนจะเป็นสีเขียวหรือเหลืองแล้วแต่ชนิด เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือแดงเข้ม ในผลหนึ่งจะ
มี ๒ เมล็ด กาแฟอาราบิก้าถือว่าเป็นกาแฟที่มีคุณภาพดี กลิ่นหอม และมีเปอร์เซ็นต์คาเฟอีนตํ่า ชอบ
เจริญเติบโตบนที่สูง ที่ระดับความสูง 700-1800 เมตร จากระดับนํ้าทะเล
แหล่งที่พบ : เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปแอฟริกา บริเวณประเทศ
เอธิโอเปีย เจริญเติบโตได้ดีในสภาพพื้นที่บนที่สูง และมีอากาศหนาวเย็นทาง
ภาคเหนือ
ประโยชน์
1.เมล็ดกาแฟถูกนํามาผลิตจนเป็นเครื่องดื่มที่แพร่หลายไปทั่วโลก ในประเทศไทยมีการผลิตกาแฟอาราบิก้าและกาแฟ
โรบัสต้าได้มากพอ ทําให้บางปีก็มีการส่งออกไปขายยังต่างประเทศด้วย แต่ยังต้องมีการนําเข้ากาแฟคุณภาพดีเข้ามา
ผสม เพื่อใช้ผลิตเป็นผงกาแฟสําเร็จรูปสําหรับการบริโภคในประเทศเช่นกัน
2.กาแฟมีสารต้านอนุมูลอิสระ เป็นตัวช่วยต้านสารพิษที่เกิดจากภายในและภายนอกร่างกาย
นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.วริศรา วิวัลย์สิริกุล เลขที่17
ตะลุมพุก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Catunaregam uliginosa (Poir) Tirveng.
ชื่อพ้อง : Randia uliginosa (Retz.) Poir., Gardenia uliginosa Retz.
(basionym)
ชื่อสามัญ : TOLI SHAD
ชื่อท้องถิ่น : กระลําพุก มะคังขาว (ภาคกลาง ราชบุรี สท); ลุมพุก (ลพบุรี นว นครราชสีมา กาญจนบุรี);
มอกนํ้าข้าว มะข้าว (เหนือ); หนามแท่ง (ตาก); มะคัง (อุตรดิตถ์); ลุมปุ๊ก (ตะวันออกเฉียงเหนือ); มุยขาว
โรคขาว
ลักษณะทั่วไป
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กสูงประมาณ ๖-๘ เมตร มีหนาม ตามข้อใบเป็นคู่ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรง
ข้าเป็นคู่ ใบรูปไข่กลีบ ปลายใบมีติ่ง โคนใบสอบ ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีขาว มี ๖ กลีบ เกสรสีเหลือง ผลคล้าย
ผลฝรั่งขนาดเล็กผลอ่อนสีเขียวผลแก่สีเหลืองขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง
แหล่งที่พบ :
มีถิ่นกําเนิดในประเทศไทย อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา และเวียดนาม มักพบขึ้นตามริมนํ้า ในป่าเบญจ
พรรณและตามป่าเต็งรังที่ระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 100-800 เมตร เป็นพันธุ์ป่าที่มีความ
ทนทานต่อภาพแวดล้อม ไม่มีโรคและแมลงมารบกวน มีรูปทรงของต้นไม่แน่นอน
สรรพคุณของตะลุมพุก
แก่นตะลุมพุกใช้ผสมกับแก่นตะลุมพุกแดง (มะคังแดง) นํ้ามาต้มกับนํ้าดื่มเป็นยาบํารุงร่างกาย
รากและแก่นต้มกับนํ้าดื่ม ช่วยบํารุงเลือดผลและรากมีรสฝาดสุขุม
ประโยชน์ของตะลุมพุก
ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีการปลูกต้นตะลุมพุกไว้เป็นไม้ประดับ เพราะสามารถดัดหรือตัดแต่งได้ไม่ยาก
ขยายพันธุ์และปลูกเลี้ยงดูแลได้ง่าย ดอกสวยและมีกลิ่นหอม เป็นพันธุ์ไม้ที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม
ได้ดี เมื่อเจริญเติบโตจะสามารถให้ร่มเงาได้ดีเนื่องจากเป็นต้นไม้ที่มีใบเป็นจํานวนมาก
นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.วริศรา วิวัลย์ศิริกุล เลขที่ 17
ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia erythroclada Kurz.
ชื่อสามัญ : มะคังแดง
ชื่อท้องถิ่น : จงก่าขาว ตะลุมพุกแดง (กาญจนบุรี) ; จิ้งก่าขาว ชันยอด (ราชบุรี); ตุมกาแดง (กลาง)
มะคัง (เชียงใหม่) มะคังป่า (กลาง เหนือ) ; มุยแดง ลุมพุกแดง (นครราชสีมา) โรคแดง
มะคังแดง
ลักษณะทั่วไป: ไม้ต้นขนาดกลาง สุง 6-12 เมตร โคนมี
หนาม กิ่งก้านมีสีนํ้าตาลแดง จนมีสีเข้มชัดเจนที่ปลาย
กิ่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือไข่กลับ
กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูป
สามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง
ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็นผลสด รูป
กระสวยมีสันนูนเล็กๆ ตามยาว ส่วนปลายผลมีกลีบ
เลี้ยงติดอยู่
ประโยชน์ :เนื้อไม้ใช้ทําหน้าไม้ เครื่องมือทาง
การเกษตร ต้มนํ้าดื่ม แก้เลือดลมเดินไม่สะดวก แก้ปวด
ท้อง เปลือกต้นตําพอกแผลสดห้ามเลือด
นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22
มะคังแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia sootepensis Hutch.
ชื่อสามัญ : Golden Gardenia
ชื่อท้องถิ่น : ไข่เน่า คํามอกช้าง ผ่าด้าม หอมไก๋ ยางมอกใหญ่ แสลงหอมไก๋
การกระจายพันธุ์ : พบตั้งแต่พม่า ไทย และลาว ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ
ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ตามป่าเต็งรัง ที่ความสูง 200-400 เมตร จาก
ระดับนํ้าทะเล ออกดอกติดผลระหว่างเดือนมีนาคม-กรกฎาคม
คํามอกหลวง
ลักษณะทั่วไป: ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 7-15 เมตร มีนํ้ายาง
เหลือง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ผลัดใบช่วงสั้นๆ เวลาออกดอก
ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีขอบขนานหรือแกมรูป
ไข่กลับ กว้าง 12-18 ซม. ยาว 22-30 ซม. ปลายใบแหลม
หรือมน โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีหูใบเป็นปลอกที่บริเวณ
รอบกิ่ง หลุดร่วงง่ายเห็นรอยแผลชัดเจน ดอกเดี่ยวสี
เหลืองสด เปลี่ยนเป็นสีซีดหรือขาวนวลเมื่อร่วง ออกที่ซอก
ใบ มีกลิ่นหอม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5.5-7 ซม. ผลเป็นผล
สด รูปรีหรือรูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 1.8-2.5 ซม. ยาว
2.2-4 ซม.
ประโยชน์: ปลูกเป็นไม้ประดับได้ดี ให้ดอกสวยงาม ตํารา
ยาพื้นบ้าน ใช้เมล็ดต้มเคี่ยวกับนํ้าผสมเป็นยาสระผมฆ่า
เหา
นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22
คํามอกหลวง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Luculia gratissima Sw.
ชื่อสามัญ : -
ชื่ออื่นๆ : พิมพ์ใจ
การกระจายพันธุ์ : กระจายในเขตหนาวของเทือกเขาหิมาลัยจากเนปาลถึงภูฐาน ที่ระดับความสูง
1,300-2,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
ชมพูพิมพ์ใจ
ลักษณะทั่วไป: ไม้พุ่ม สูง 1.5-2 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบหอก
กว้าง 5-10 ซม. ยาว 15-20 ซม. โคนและปลายใบแหลม เนื้อใบ
คล้ายแผ่นหนัง เกลี้ยง หูใบเป็นแผ่นรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย
ดอกสีชมพู มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อลักษณะเป็นชั้นลดหลั่นกัน
เป็นระนาบ ก้านดอกยาวไม่เท่ากัน ดอกที่โคนช่อจะมีก้านยาว
กว่า กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายแยกแผ่เป็นปากแตร มี 5 แฉก
กลมมน เกสรผู้ 5 อัน สีเหลือง มีก้านสั้นอยู่ภายในหลอดดอก
ผลคล้ายรูปไข่กลับ ผิวแข็ง เมื่อแก่จะแห้งและแตกตามยาวเป็น
2 ซีก ขนาด 0.8-1.2 ซม. เมล็ดขนาดเล็กมีปีกสั้นๆ ที่ปลาย มี
จํานวนมาก
ประโยชน์: เป็นพืชที่หายากของประเทศไทยพบเฉพาะที่ดอย
เชียงดาว
นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22
ชมพูพิมพ์ใจ
เอกสารอ้างอิง
1. หนังสือสมุนไพรไทย เล่ม 1. “ตะลุมพุก (Talum Phuk)”. (ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, ธวัชชัย มังคละคุปต์). หน้า 127.
2. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ตะลุกพุก”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
www.phargarden.com. [10 มี.ค. 2014].
3. 3.ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. “ตะลุมพุก”. (นพพล เกตุประสาท). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก: clgc.rdi.ku.ac.th. [10 มี.ค. 2014].
4. “มะคังแดง.” มะคังแดง - ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ ม.อุบล,
5. www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=91
6. http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_
detail.asp?botanic_id=1029
7. http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_
detail.asp?botanic_id=790
8. http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_
detail.asp?botanic_id=2888
กิตติกรรมประกาศ
ในการทําโครงงานการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
พืชสวนพฤกษศาสตร์ คณะผู้จัดทําขอขอบพระคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพร
รักษ์ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนว
ทางการทําโครงงานนี้
ขอบคุณเพื่อนทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนคําแนะนําที่เป็น
ประโยชน์ในการทําโครงงาน ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและ
คุณแม่ ที่เป็นผู้ให้กําลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง
คณะผู้จัดทํา

More Related Content

What's hot

Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
Wichai Likitponrak
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
KalyakornWongchalard
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
Wichai Likitponrak
 
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
Soda Soda
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
Wichai Likitponrak
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
DaruneeWongthai
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
naransuppataratarn
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
JittapatS
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
Z-class Puttichon
 

What's hot (20)

Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
พาวเวอร์พ้อย ดอกไม้นานาพันธุ์ (1)
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 

Similar to Plant ser 125_60_4

A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
MetawadeeNongsana
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
lookpedkeele
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
HatsayaAnantepa
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
Call Me Blink
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
BellNattanan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
JittapatS
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
รัตน์ดา ทองดอนเหมือน
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptangkhana
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
Wichai Likitponrak
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
SuwattanaSonsang
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
Wichai Likitponrak
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
พัน พัน
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
PasinSuphaphol
 
931 pre5
931 pre5931 pre5
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
Wichai Likitponrak
 

Similar to Plant ser 125_60_4 (20)

A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
931 pre5
931 pre5931 pre5
931 pre5
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

Plant ser 125_60_4

  • 1. โครงงาน เรื่องการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรม ของพืชสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จัดทําโดย กลุ่มที่ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทย์-คณิต งานนําเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ว30246 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
  • 3. สมาชิกกลุ่มนําเสนอ 1. น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10 2. น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ 11 3. น.ส.วริศราวิวัลย์ศิริกุล เลขที่ 17 4. น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22 กลุ่มชีววิทยาที่ 4 ห้อง 125
  • 5. คํานํา โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 6 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสืบค้น ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชวงศ์ RUBIACEAE ซึ่งโครงงานนี้มีเนื้อหา เกี่ยวกับข้อมูลของพืชบางชนิดในวงศ์ RUBIACEAE เช่น ลักษณะ การกระจาย พันธุ์ และประโยชน์ใช้สอย เป็นต้น คณะผู้จัดทําหวังว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ที่ศึกษา หากมี ข้อแนะนําหรือข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทําขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วย คณะผู้จัดทํา
  • 6. สารบัญ เรื่อง สไลด์ที่ สมาชิกกลุ่ม 3 คํานํา 5 คัดเค้า 8 แก้มขาว 10 ยอบ้าน 12 ข้าวสารป่า 13 พุดแตรงอน 15 หนามแท่ง 17 กระทุ่มบก 19 กาแฟอาราบิกา 23 ตะลุมพุก 26 มะคังแดง 29 คําหมอกหลวง 31 ชมพูพิมพ์ใจ 33 เอกสารอ้างอิง 35 กิตติกรรมประกาศ 36
  • 8. đΘĽIJđ▫Φ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxyceros horridus Lour. ชื่อสามัญ : Siamese randia ชื่อเรียกอื่น : คัดเค้าเครือ คัดเค้าหนาม พญา เท้าเอว เค็ดเค้า หนามลิดเค้า ลักษณะ : ไม้รอเลื้อยหรือไม้พุ่มขนาดกลาง มี หนามโค้งแข็งเป็นคู่ตามข้อ ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปรี แกมขอบขนาน โคนใบสอบ ปลายใบ แหลม ดอก สีขาวนวลแกมเหลือง กลีบดอก ส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยก เป็น 5 กลีบ คัดเค้า
  • 9. การกระจายพันธุ์ : มีถิ่นกําเนิดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และแอฟริกาเขตร้อน ออกดอกเดือนธันวาคม-มกราคม ประโยชน์ : เป็นพรรณไม้ดอกหอม รากมีรสฝาด แก้ไข้และเลือดออกตามไรฟัน ผลมี สารจําพวกไตรเทอร์ปีน มีฤทธิ์เบื่อปลา ผู้รับผิดชอบ : น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10
  • 10. ijć ▫ř ČΦť ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mussaenda sanderiana Roxb. ชื่อสามัญ : Butterfly flower ชื่อเรียกอื่น : แก้มอ้น ใบต่างดอก ดอนย่าป่า กําเบ้อ กะเบ้อขาว ผีเสื้อ พอแต ลักษณะ : ไม้พุ่ม สูง 1-2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรี ปลายแหลม โคนมีขนอ่อนนุ่ม มีหูใบชัดเจน ดอก สีเหลืองสดถึงเหลืองส้ม ออกเป็นช่อสั้น ๆ ที่ ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงส่วนโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็น 5 แฉก ดอกแก่มีใบเลี้ยงขยายใหญ่เป็น 1 กลีบ สีขาวนวล ผลรูปไข่ขนาดเล็ก เมล็ดจํานวน มาก แก้มขาว
  • 11. การกระจายพันธุ์ : ถิ่นกําเนิดในคาบสมุทรอินโดจีน พบมากตามชายป่าดิบทาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สูงจากระดับนํ้าทะเล 400-1300 เมตร ชอบที่ ชุ่มชื้นมีแดดปานกลาง ประโยชน์ : เป็นไม้ดอกไม้ประดับทั่วไป ผู้รับผิดชอบ : น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10
  • 12. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia L. ชื่อสามัญ : Indian Mulberry ชื่อเรียกอื่น : มะตาเสือ แยใหญ่ ลักษณะ : ไม้ยืนต้นขนาดเล็กสูงถึง 6 ม. ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีกว้าง ดอกออกเป็นช่อกลมจากซอก ใบ ดอกสีขาว ผลรูปไข่ สีเขียว ผลสุก สีเขียวแกมขาว ประโยชน์ : ใบอ่อนนํามาประกอบอาหารหลายชนิด เช่น ห่อหมกใบยอ ผลสุกมีรสขม จิ้มเกลือรับประทาน มีสรรพคุณแก้อักเสบ แก้ท้องเสีย ขับปัสสาวะ และเป็น ยาบํารุง ผู้รับผิดชอบ : น.ส.นัทพร สุรินทร์ศิริรัฐ เลขที่ 10 ยอบ้าน
  • 13. ข้าวสารป่า ชื่อวิทยาศาสตร์ Pavetta tomentosa Roxb. ex Smith ชื่อพ้อง Ixora tomentosa Roxb. ex Sm. Pavetta praecox Bremek. ชื่อเรียกอื่น กระดูกงูเหลือม, เข็มขาว (สุรินทร์), เข็มป่า, เข็มแพะ แหล่งที่พบ พบขึ้นกระจายในอินเดีย ลาว เวียดนาม และกัมพูชา ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปใน ป่าเต็งรัง ที่ความสูง 300-600 ม. จากระดับนํ้าทะเล ออกดอกและติดผลเดือนเมษายน-สิงหาคม
  • 14. ข้าวสารป่า ลักษณะ ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-4 เมตร กิ่งอ่อนกลวง มีขนปกคลุมทั่วไป ใบเป็นใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรีแกมขอบขนาน หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ปลายใบมน หรือแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบมีขนปกคลุมทั้งสองด้าน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุด ร่วงง่าย ดอกสีขาว ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง ช่อดอกกลม ดอกย่อยมีจํานวน มาก ส่วนโคนเป็นหลอด ปลายแผ่แยกเป็น 4 กลีบ ผลกลม เมื่อแก่เป็นสีดํา ภายในมี 2 เมล็ด ประโยชน์ 1. เป็นไม้ประดับได้ดี ดอกมีลักษณะสวยงาม มีกลิ่นหอมอ่อน 2. ยาพื้นบ้านอีสานใช้ รากหรือลําต้น ใช้ผสมสมุนไพรอื่นหลายชนิดต้มนํ้าดื่ม แก้ มะเร็ง รากต้มนํ้าดื่มช่วยเพิ่มนํ้านม โดยใบมีรสเมาเบื่อ รักษาโรคในจมูก ฆ่าพยาธิ ใช้นํ้าต้ม แก้อาการไข้ ผู้รับผิดชอบ : น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ ๑๑ ข้าวสารป่า
  • 15. พุดแตรงอน ชื่อวิทยาศาสตร์ Euclinia longiflora Salisb. ชื่อพ้อง - ชื่อสามัญ Angel’s trumpet ชื่อเรียกอื่น African Angel Trumpet, Tree Gardenia แหล่งที่พบ พบในเขตร้อนของแอฟริกาออกดอกตลอดปีปลูก เลี้ยงในดินร่วน แสงแดดจัดถึงปานกลาง ต้องการนํ้าปาน กลางขยายพันธุ์โดยการปักชํากิ่ง พุดแตรงอน
  • 16. พุดแตรงอน ลักษณะ ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบ เรียบ ดอกเดี่ยว ออกที่ยอดตามซอกใบปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เชื่อม ติดกันเป็นหลอดยาว รูปแตร เมื่อใกล้โรยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน ประโยชน์ เป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอม ผู้รับผิดชอบ : น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ ๑๑ พุดแตรงอน
  • 17. หนามแท่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Catunaregam tomentosum(Kurz)Bakh.f. ชื่อพ้อง Randia dasycarpa Bakh.f. ชื่อสามัญ - ชื่อเรียกอื่น เคด กะแทง หนามเค็ด เคล็ด เคล็ดทุ่ง แท้ง หนามแท่ง ตะเคล็ด ระเวียง มะเค็ด แหล่งที่พบ จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในบริเวณพื้นที่ เปิดหรือทุ่งหญ้าที่ระดับความสูงถึง 500 ม. โดยออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน หนามแท่ง
  • 18. หนามแท่ง ลักษณะ ไม้พุ่ม สูง 2-6 ม. มีหนามแข็งเป็นคู่ ยาว 2-5 ซม. กิ่งและยอดอ่อนมีขนนุ่มสีนํ้าตาล ดอกเดี่ยวหรือออกกระจุกที่ปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็ก มี 2-6 ดอก กลีบดอกสีขาว เมื่อแก่ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอมที่โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 8-9 แฉก ผลเป็นผลสดรูป กลมหรือรี ขนาด 4.5-5.5 ซม. มีขนนุ่มสีนํ้าตาลแกมเขียวปกคลุม ประโยชน์ ผลใช้สระผม และสามารถใช้ซักผ้า ต้นใช้ปลูกเป็นรั้วปศุสัตว์ได้ ผู้รับผิดชอบ : น.ส.ปริม ศิลปรัตนาภรณ์ เลขที่ ๑๑ หนามแท่ง
  • 19. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. ชื่อพ้อง : Neonauclea purpurea (Roxb.) Merr. ชื่อสามัญ : Wild cinchona ชื่อท้องถิ่น : ตะกู (จันทบุรี, นครศรีธรรมราช, สุโขทัย), ตะโกใหญ่ (ตราด), ตุ้มพราย, ทุ่มพราย (ขอนแก่น), กระทุ่มบก กระทุ่มก้านยาว (กรุงเทพ), ตะโกส้ม (ชัยภูมิ, ชลบุรี), แคแสง (ชลบุรี), โก หว่า (ตรัง), กรองประหยัน (ยะลา), ตุ้มก้านซ้วง ตุ้มก้านยาว ตุ้มเนี่ยง ตุ้มหลวง (ภาคเหนือ), กระทุ่ม (ภาคกลาง, ภาคเหนือ), ตุ้มขี้หมู (ภาคใต้), กว๋าง (ลาว), ปะแด๊ะ เปอแด๊ะ สะพรั่ง (กะเหรี่ยง- แม่ฮ่องสอน), ปาแย (มลายู-ปัตตานี)
  • 20. กระทุ่มบก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. ลักษณะของพืช ต้นกระทุ่ม จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบหรือไม่ผลัดขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-30 เมตร บางครั้งมีพูพอน ลําต้นเปลาตรง แตกกิ่งก้านตั้งฉากกับลําต้น ปลายกิ่งโน้มลง เปลือกลําต้นเป็นสีเทาแก่ แตกเป็น ร่องตามยาว มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง ใบ ใบกระทุ่ม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ปลายใบมนออกแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบมน กลม หรือเป็นรูป หัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-17 เซนติเมตรและยาวประมาณ 20 เซนติเมตร แผ่นใบบางและเหนียว หลังใบเรียบเป็นมัน ส่วนท้องใบมีขนสั้นนุ่มหรือบางที เกลี้ยง มีเส้นแขนงของใบประมาณ 11-20 คู่ ส่วนก้านใบยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร และมีหูใบลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร
  • 21. ดอก ดอกกระทุ่ม ออกดอกที่ปลายกิ่งเป็นช่อกลมกระจุกแน่น มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-5 เซนติเมตร ดอกย่อยมีขนาดเล็กอัดกันแน่น ติดบนใบประดับขนาดเล็กประมาณ 1-3 คู่ กลีบเลี้ยงดอกมีลักษณะเป็นหลอดสั้น ยาวประมาณ 0.2 เซนติเมตร กลีบดอกเป็นสีเหลือง อับเรณูมีลักษณะเป็นรูปแถบ ดอกมีกลีบดอก สีขาว 5 กลีบ ปลายกลีบหยักแผ่ขยายออกและ มีขนนุ่ม ๆ ทางด้านนอก มีกลีบเลี้ยงดอก 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดสั้น ๆ ดอกมี เกสรเพศผู้จํานวน 5 ก้าน ส่วนเกสรเพศเมียยาว ผลกระทุ่ม ผลเป็นผลรวมที่เกิดจากวงกลีบเลี้ยงที่เชื่อมติดกัน หรือผลเป็นกระจุกกลม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-4 เซนติเมตร ผลย่อยแยกกัน มีขนาด ประมาณ 0.3 เซนติเมตร ผิวขรุขระ อุ้มนํ้า ภายในผลมีเมล็ดขนาดเล็ก
  • 22. แหล่งที่พบ สามารถพบได้ตั้งแต่ประเทศเนปาล บังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย พม่า จีน ภูมิภาคอินโดจีนและ มาเลเซีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์และปาปัวนิวกินี ส่วนในประเทศไทยสามารถพบได้ทั่วทุกภาค โดยมักจะขึ้นตาม ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง หรือตามหุบเขาหรือริมลําธารที่ระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเล ตั้งแต่ 500-1,500 เมตร ประโยชน์ ไม้กระทุ่มมีเนื้อไม้ที่ละเอียด สีเหลืองหรือสีขาว สามารถนํามาใช้ทําพื้นและฝาที่ใช้งานร่ม หรือนํามาใช้ทํากล่อง ทําอุปกรณ์หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่มีนํ้าหนักเบา และยังสามารถนํามาใช้ทําเป็นเยื่อ กระดาษได้อีกด้วย ในประเทศจีนและประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะนิยมปลูกเป็นสวนป่าเพื่อการใช้ สอย ส่วนในประเทศไทยกําลังได้รับความนิยมเป็นไม้เศรษฐกิจตัวใหม่ให้ผลตอบแทนเร็ว เนื่องจากเป็นไม้ โตเร็ว นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.วริศรา วิวัลย์สิริกุล เลขที่ 17
  • 23. กาแฟอาราบิกา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Coffea arabica L. ชื่อสามัญ Arabian coffee, Coffee, Kofi, Koffie, Brazillian coffee ชื่อพ้อง : - ชื่อเรียกอื่น : Arabica coffee
  • 24. ลักษณะ : ไม้ต้นขนาดเล็ก ทรงพุ่มเตี้ย สูง 1-1.5เมตร ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปขอบขนานแกมรี สีเขียวเข้ม ดอกสีขาว ผลอ่อนจะเป็นสีเขียวหรือเหลืองแล้วแต่ชนิด เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือแดงเข้ม ในผลหนึ่งจะ มี ๒ เมล็ด กาแฟอาราบิก้าถือว่าเป็นกาแฟที่มีคุณภาพดี กลิ่นหอม และมีเปอร์เซ็นต์คาเฟอีนตํ่า ชอบ เจริญเติบโตบนที่สูง ที่ระดับความสูง 700-1800 เมตร จากระดับนํ้าทะเล
  • 25. แหล่งที่พบ : เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปแอฟริกา บริเวณประเทศ เอธิโอเปีย เจริญเติบโตได้ดีในสภาพพื้นที่บนที่สูง และมีอากาศหนาวเย็นทาง ภาคเหนือ ประโยชน์ 1.เมล็ดกาแฟถูกนํามาผลิตจนเป็นเครื่องดื่มที่แพร่หลายไปทั่วโลก ในประเทศไทยมีการผลิตกาแฟอาราบิก้าและกาแฟ โรบัสต้าได้มากพอ ทําให้บางปีก็มีการส่งออกไปขายยังต่างประเทศด้วย แต่ยังต้องมีการนําเข้ากาแฟคุณภาพดีเข้ามา ผสม เพื่อใช้ผลิตเป็นผงกาแฟสําเร็จรูปสําหรับการบริโภคในประเทศเช่นกัน 2.กาแฟมีสารต้านอนุมูลอิสระ เป็นตัวช่วยต้านสารพิษที่เกิดจากภายในและภายนอกร่างกาย นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.วริศรา วิวัลย์สิริกุล เลขที่17
  • 26. ตะลุมพุก ชื่อวิทยาศาสตร์: Catunaregam uliginosa (Poir) Tirveng. ชื่อพ้อง : Randia uliginosa (Retz.) Poir., Gardenia uliginosa Retz. (basionym) ชื่อสามัญ : TOLI SHAD ชื่อท้องถิ่น : กระลําพุก มะคังขาว (ภาคกลาง ราชบุรี สท); ลุมพุก (ลพบุรี นว นครราชสีมา กาญจนบุรี); มอกนํ้าข้าว มะข้าว (เหนือ); หนามแท่ง (ตาก); มะคัง (อุตรดิตถ์); ลุมปุ๊ก (ตะวันออกเฉียงเหนือ); มุยขาว โรคขาว
  • 27. ลักษณะทั่วไป เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กสูงประมาณ ๖-๘ เมตร มีหนาม ตามข้อใบเป็นคู่ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรง ข้าเป็นคู่ ใบรูปไข่กลีบ ปลายใบมีติ่ง โคนใบสอบ ดอกเดี่ยว กลีบดอกสีขาว มี ๖ กลีบ เกสรสีเหลือง ผลคล้าย ผลฝรั่งขนาดเล็กผลอ่อนสีเขียวผลแก่สีเหลืองขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง
  • 28. แหล่งที่พบ : มีถิ่นกําเนิดในประเทศไทย อินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา และเวียดนาม มักพบขึ้นตามริมนํ้า ในป่าเบญจ พรรณและตามป่าเต็งรังที่ระดับความสูงจากระดับนํ้าทะเลประมาณ 100-800 เมตร เป็นพันธุ์ป่าที่มีความ ทนทานต่อภาพแวดล้อม ไม่มีโรคและแมลงมารบกวน มีรูปทรงของต้นไม่แน่นอน สรรพคุณของตะลุมพุก แก่นตะลุมพุกใช้ผสมกับแก่นตะลุมพุกแดง (มะคังแดง) นํ้ามาต้มกับนํ้าดื่มเป็นยาบํารุงร่างกาย รากและแก่นต้มกับนํ้าดื่ม ช่วยบํารุงเลือดผลและรากมีรสฝาดสุขุม ประโยชน์ของตะลุมพุก ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีการปลูกต้นตะลุมพุกไว้เป็นไม้ประดับ เพราะสามารถดัดหรือตัดแต่งได้ไม่ยาก ขยายพันธุ์และปลูกเลี้ยงดูแลได้ง่าย ดอกสวยและมีกลิ่นหอม เป็นพันธุ์ไม้ที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม ได้ดี เมื่อเจริญเติบโตจะสามารถให้ร่มเงาได้ดีเนื่องจากเป็นต้นไม้ที่มีใบเป็นจํานวนมาก นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.วริศรา วิวัลย์ศิริกุล เลขที่ 17
  • 29. ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia erythroclada Kurz. ชื่อสามัญ : มะคังแดง ชื่อท้องถิ่น : จงก่าขาว ตะลุมพุกแดง (กาญจนบุรี) ; จิ้งก่าขาว ชันยอด (ราชบุรี); ตุมกาแดง (กลาง) มะคัง (เชียงใหม่) มะคังป่า (กลาง เหนือ) ; มุยแดง ลุมพุกแดง (นครราชสีมา) โรคแดง มะคังแดง
  • 30. ลักษณะทั่วไป: ไม้ต้นขนาดกลาง สุง 6-12 เมตร โคนมี หนาม กิ่งก้านมีสีนํ้าตาลแดง จนมีสีเข้มชัดเจนที่ปลาย กิ่ง ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูป สามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเป็นผลสด รูป กระสวยมีสันนูนเล็กๆ ตามยาว ส่วนปลายผลมีกลีบ เลี้ยงติดอยู่ ประโยชน์ :เนื้อไม้ใช้ทําหน้าไม้ เครื่องมือทาง การเกษตร ต้มนํ้าดื่ม แก้เลือดลมเดินไม่สะดวก แก้ปวด ท้อง เปลือกต้นตําพอกแผลสดห้ามเลือด นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22 มะคังแดง
  • 31. ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia sootepensis Hutch. ชื่อสามัญ : Golden Gardenia ชื่อท้องถิ่น : ไข่เน่า คํามอกช้าง ผ่าด้าม หอมไก๋ ยางมอกใหญ่ แสลงหอมไก๋ การกระจายพันธุ์ : พบตั้งแต่พม่า ไทย และลาว ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ตามป่าเต็งรัง ที่ความสูง 200-400 เมตร จาก ระดับนํ้าทะเล ออกดอกติดผลระหว่างเดือนมีนาคม-กรกฎาคม คํามอกหลวง
  • 32. ลักษณะทั่วไป: ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 7-15 เมตร มีนํ้ายาง เหลือง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ผลัดใบช่วงสั้นๆ เวลาออกดอก ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีขอบขนานหรือแกมรูป ไข่กลับ กว้าง 12-18 ซม. ยาว 22-30 ซม. ปลายใบแหลม หรือมน โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีหูใบเป็นปลอกที่บริเวณ รอบกิ่ง หลุดร่วงง่ายเห็นรอยแผลชัดเจน ดอกเดี่ยวสี เหลืองสด เปลี่ยนเป็นสีซีดหรือขาวนวลเมื่อร่วง ออกที่ซอก ใบ มีกลิ่นหอม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5.5-7 ซม. ผลเป็นผล สด รูปรีหรือรูปขอบขนาน ขนาดกว้าง 1.8-2.5 ซม. ยาว 2.2-4 ซม. ประโยชน์: ปลูกเป็นไม้ประดับได้ดี ให้ดอกสวยงาม ตํารา ยาพื้นบ้าน ใช้เมล็ดต้มเคี่ยวกับนํ้าผสมเป็นยาสระผมฆ่า เหา นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22 คํามอกหลวง
  • 33. ชื่อวิทยาศาสตร์: Luculia gratissima Sw. ชื่อสามัญ : - ชื่ออื่นๆ : พิมพ์ใจ การกระจายพันธุ์ : กระจายในเขตหนาวของเทือกเขาหิมาลัยจากเนปาลถึงภูฐาน ที่ระดับความสูง 1,300-2,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ ชมพูพิมพ์ใจ
  • 34. ลักษณะทั่วไป: ไม้พุ่ม สูง 1.5-2 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบหอก กว้าง 5-10 ซม. ยาว 15-20 ซม. โคนและปลายใบแหลม เนื้อใบ คล้ายแผ่นหนัง เกลี้ยง หูใบเป็นแผ่นรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีชมพู มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อลักษณะเป็นชั้นลดหลั่นกัน เป็นระนาบ ก้านดอกยาวไม่เท่ากัน ดอกที่โคนช่อจะมีก้านยาว กว่า กลีบดอกโคนเชื่อมกัน ปลายแยกแผ่เป็นปากแตร มี 5 แฉก กลมมน เกสรผู้ 5 อัน สีเหลือง มีก้านสั้นอยู่ภายในหลอดดอก ผลคล้ายรูปไข่กลับ ผิวแข็ง เมื่อแก่จะแห้งและแตกตามยาวเป็น 2 ซีก ขนาด 0.8-1.2 ซม. เมล็ดขนาดเล็กมีปีกสั้นๆ ที่ปลาย มี จํานวนมาก ประโยชน์: เป็นพืชที่หายากของประเทศไทยพบเฉพาะที่ดอย เชียงดาว นักเรียนผู้รับผิดชอบ: น.ส.สิริกร อัศวนิก เลขที่ 22 ชมพูพิมพ์ใจ
  • 35. เอกสารอ้างอิง 1. หนังสือสมุนไพรไทย เล่ม 1. “ตะลุมพุก (Talum Phuk)”. (ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, ธวัชชัย มังคละคุปต์). หน้า 127. 2. ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. “ตะลุกพุก”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.phargarden.com. [10 มี.ค. 2014]. 3. 3.ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. “ตะลุมพุก”. (นพพล เกตุประสาท). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: clgc.rdi.ku.ac.th. [10 มี.ค. 2014]. 4. “มะคังแดง.” มะคังแดง - ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ ม.อุบล, 5. www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=91 6. http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_ detail.asp?botanic_id=1029 7. http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_ detail.asp?botanic_id=790 8. http://www.qsbg.org/Database/Botanic_Book%20full%20option/search_ detail.asp?botanic_id=2888
  • 36. กิตติกรรมประกาศ ในการทําโครงงานการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของ พืชสวนพฤกษศาสตร์ คณะผู้จัดทําขอขอบพระคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพร รักษ์ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนว ทางการทําโครงงานนี้ ขอบคุณเพื่อนทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนคําแนะนําที่เป็น ประโยชน์ในการทําโครงงาน ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อและ คุณแม่ ที่เป็นผู้ให้กําลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง คณะผู้จัดทํา