SlideShare a Scribd company logo
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์
ของพืชตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ บัว กล้วยไม้ และ เข็ม
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ 1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 11
1. น ส จิดาภา อุดมพาณิชวงศ์ เลขที่ 2
2. น ส วิชญาดา เลิศเพียรธรรม เลขที่ 29
3 น ส อชิรญา จงสวัสดิ์พัฒนา เลขที่ 34
4 นายภูริชน์ นันทจีวรวัฒน์ เลขที่ 45
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 931 แผนการเรียนคุณภาพชีวิต
ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
คำนำ
หนังสือเล่มเล็ก เรื่องโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ
วิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีจุดประสงค์เพื่อใช้ศึกษาเรียนรู้
โครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์พืชตัวอย่าง ได้แก่ ดอกบัวหลวง ดอกกล้วยไม้ และดอกเข็ม
ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้และแนวทาง
การศึกษา เพื่อนๆทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
หนังสือเล่มเล็กเล่มนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นทุกๆท่าน
คณะผู้จัดทา
21 พฤศจิกายน 2561
Link slide share:
QR
สำรบัญ
หัวข้อนาเสนอ หน้า
การจัดกลุ่มโครงสร้างดอกตามลักษณะสาคัญ 1
1 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ บัว
1 1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 2
1 2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 4
1 3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้างสาคัญ 5
ของดอก
2 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ กล้วยไม้
2 1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 6
2 2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 8
2 3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้างสาคัญ 9
ของดอก
3 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ เข็ม
3 1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 10
3 2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 12
3 3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้างสาคัญ 13
ของดอก
4 Clip VDO ประกอบการศึกษา 14
5 บรรณานุกรม 15
6 ภาคผนวก 16
กำรจัดกลุ่มโครงสร้ำงดอกตำมลักษณะสำคัญ กำรศึกษำโครงสร้ำงดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกบัวหลวง
2.2.ลักษณะทั่วไปทำงพฤกษศำสตร์
ชื่อวิทยำศำสตร์: Nelumbo nucifera Gaertn
ชื่อสำมัญ: Sacred lotus, pink lotus-lily
ชื่ออื่นๆ: บุณฑริก ปทุม โกกระณต สัตตบุษย์
วงศ์: Nelumbonaceae
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์:
พืชน้าอายุหลายปี ลาต้นเป็นเหง้าใต้ดินหรือเป็นไหลเหนือดินนามารับประทาน
เรียกว่า “รากบัว”
ใบ ใบเดี่ยวแตกจากข้อของลาต้น ใบรูปกลมใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-40ซม
ขอบใบเรียบและเป็นคลื่น สีเขียว มีนวลเคลือบทาให้ไม่เปียกน้า ก้านใบและก้าน
ดอกกลมเรียวแข็งมีหนามเล็กๆ ชูขึ้นเหนือน้า มีเส้นใยสีขาว
รากบัว ไหลบัว ใบบัว
ครบส่วน
ส่วน
ไม่ครบส่วน
ดอกไม้ที่ศึกษำ
ดอกเดี่ยว ดอกช่อ
ครบส่วน ไม่ครบส่วน
ดอกบัว
หลวง
ดอก
กล้วยไม้
ดอกเข็ม
Superior ovary Inferior ovary
สมมาตร
แบบรัศมี
สมมาตร
แบบครึ่งซีก
Superior ovary Inferior ovary
สมมาตร
แบบรัศมี
สมมาตร
แบบครึ่งซีก
ovary
สมบูรณ์เพศ สมบูรณ์เพศ
21
ดอก ดอกเดี่ยวออกจากข้อของเหง้าใต้ดิน ที่บริเวณซอกใบ กลีบเลี้ยง
ขนาดเล็ก 4-5 กลีบ กลีบดอกจานวนมากเรียงซ้อนกันหลายชั้น สีขาว หรือสีชมพู
เกสรเพศผู้สีเหลืองจานวนมาก บางครั้งเปลี่ยนไปเป็นกลีบดอกทาให้กลีบดอก
ซ้อนกันแน่น ฐานรองดอกบวมขยายใหญ่เรียกว่า “ฝักบัว”
ผล ผลกลุ่ม ประกอบด้วยผลย่อยจานวนมาก เจริญอยู่ภายใน
ฝักบัว ภายในผลย่อยมีเมล็ดขนาดใหญ่ ใบเลี้ยงหนานามารับประทานได้ เรียกว่า
“เม็ดบัว”
1.2. องค์ประกอบโครงสร้ำงสำคัญของดอกบัว
ดอกบัว
เม็ดบัว
ฝักบัว
กลีบรวม tepal
ฐานดอกนูน torus
เกสรเพศผู้ stamen
ก้านชูอับเรณู filament
อับเรณู anther
ยอดเกสรเพศเมีย stigma
รังไข่ ovary
ก้านชูยอดเกสรเพศเมีย
ออวุล ovule
appendage
ก้านดอก peduncle
3 4
1.3.ตัวอย่ำงแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้ำง กำรศึกษำโครงสร้ำงดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกกล้วยไม้
2.1. ลักษณะทั่วไปทำงพฤกษศำสตร์
ชื่อวิทยำศำสตร์: Orchidaceae
ชื่อสำมัญ: Orchid
ชื่ออื่นๆ: เอื้อง (ภาคเหนือ)
วงศ์: Orchidaceae Juss.
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์:
ลำต้น ลาต้นของกล้วยไม้ไม่มีแก่นและเปลือก เนื้อในเสมอกัน ลาต้นมี
2 ลักษณะ คือ ลาต้นแท้มีข้อและปล้องเหมือนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป
มีการเจริญเติบโตทางยอด และ ลาต้นเทียมหรือลาลูกกล้วยไว้สะสมอาหาร
มีลาต้นเป็นเหง้า มีข้อและปล้องถี่ เจริญในแนวนอนไปตามผิวของเครื่องปลูก
รำก รากกลมอวบเป็นเส้นเล็กแข็งหรือแบนราบ มีทั้งรากดิน รากกึ่งดิน รากกึ่ง
อากาศ และรากอากาศ
ลาต้น ราก
5 6
ใบ ใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยวมีลักษณะต่างกันออกไป เช่น รูปแถบ รูปกลมยาว
หรือลดรูปเป็นเพียงเกล็ด แผ่นใบบางคล้ายใบหมาก หนาอวบน้า หรือเป็นแท่งกลม
ส่วนมากแล้วไม่มีส่วนที่เป็นก้านใบชัดเจน สีของใบเป็นสีเขียวสด บางชนิดเป็นสีม่วง
คล้า บางชนิดก็มีลวดลาย ดอกออกที่ปลายลาต้น ซอกใบหรือข้างลาต้น
ดอก ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยง 3 กลีบเรียง
สลับกันกับกลีบดอก 3 กลีบ กลีบดอกอันล่างมีลักษณะต่างออกไปเรียกว่ากลีบปาก
หรือกลีบกระเป๋าไว้สาหรับล่อแมลง ก้านเกสรตัวเมียและยอดเกสรตัวเมียเชื่อมติดกัน
กับเกสรตัวผู้เป็นเส้าเกสรอยู่กลางดอก เกสรตัวผู้อยู่รวมกันเป็นก้อนเป็นกลุ่มเรณู
แต่ละอับเรณูมีฝาปิด มี 2, 4 หรือ 8 ก้อนแล้วแต่ชนิดกล้วยไม้ ยอดเกสรตัวเมียอยู่ใต้
อับเรณู มีลักษณะเป็นเมือกเหนียว รังไข่อยู่ตรงส่วนของก้านดอก เมื่อได้รับการผสม
จะเจริญไปเป็นเมล็ดต่อไป
2.2.องค์ประกอบโครงสร้ำงสำคัญของดอกกล้วยไม้
ดอก
ใบ
ก้ำนดอกย่อย Pedicels
ก้ำนดอก Peduncle
กลีบดอก - petal
กลีบปำก - labellum
กลีบเลี้ยงคู่ล่ำง - lateral sepal
กลีบเลี้ยงกลีบบน – dorsal sepal
กลีบเลี้ยงสวยงำม Petaloid
เส้ำเกสร column รังไข่
ovary
ก้อนเรณู pollinia
ละอองเรณู pollen
87
2.3.ตัวอย่ำงแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้ำง กำรศึกษำโครงสร้ำงดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกเข็ม
3.1. ลักษณะทั่วไปทำงพฤกษศำสตร์
ชื่อวิทยำศำสตร์: Ixora chinensis Lam.
ชื่อสำมัญ: West Indian Jasmine
ชื่ออื่นๆ: เงาะ (สุราษฎร์ธานี), จะปูโย (มลายู-นราธิวาส), ตุโดบุโยบูเก๊ะ (มลายู)
วงศ์: RUBIACEAE
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์:
เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม
ลำต้น สูงประมาณ 3–5 ฟุต แตกกิ่งก้านสาขาแผ่เป็นพุ่ม ลาต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือ
แตกแผ่สาขาออกไปเป็นต้นเล็กกลม ขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตร ลา
ต้นเรียบสีน้าตาล กิ่งยอดมีสีเขียว แตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน
ใบ ใบแข็ง เปราะ มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน
ใบจะออกเรียงสลับกันคนละทิศทาง
ต้น ใบ
109
ดอก ออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะ
ประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็นหลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่
4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม
ฝัก/ผล ผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดา
3.2.องค์ประกอบโครงสร้ำงสำคัญของดอกเข็ม
ผล
ดอก
ยอดเกสรเพศเมีย stigma
กลีบดอก petal
ฐานรองดอก
receptacle
ก้านดอก
peduncle
ยอดเพสรเพศเมีย
stigma
ก้านชูเกสร
เพศเมีย
style
วงกลีบเลี้ยง
calyx
หลอดกลีบดอก corolla tube
ออวุล ovule
เกสรเพศผู้
stamen
1211
3.3.ตัวอย่ำงแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้ำง Link Youtube:https://youtu.be/nR4itAru02g
QR code
13 14
บรรณานุกรม
กัญญารัตน์ (2558) ต้นดอกเข็ม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://kanyaratpunalao.wordpress.com/%E0% (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18
พฤศจิกายน 2561)
ครูบุรีรัมย์ (2556) ดอกบัว [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://oknation.nationtv.tv/blog/Doodekdee2 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18
พฤศจิกายน 2561)
ทริพอด (2555). ลักษณะทั่วไปของกล้วยไม้. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :
http://orchids21.tripod.com/Html/other.html (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17
พฤศจิกายน 2561).
วิกิพีเดีย (2561) บัว [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561)
สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (2550). ลักษณะทั่วไปของกล้วยไม้
[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://kasetinfo.arda.or.th/orchid/?page_id=9
(วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561).
ภาคผนวก
15 16
ภาคผนวก
ครูผู้สอน: นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คณะนักเรียนผู้จัดทา: ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 931
น.ส.จิดาภา อุดมพาณิชวงศ์ เลขที่ 2 น.ส.วิชญาดา เลิศเพียรธรรม เลขที่ 29
น.ส.อชิรญา จงสวัสดิ์พัฒนา เลขที่ 34 นายภูริชน์ นันทจีวรวัฒน์ เลขที่ 45
17

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
น๊อต เอกลักษณ์
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
JittapatS
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
Wichai Likitponrak
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Thanyamon Chat.
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
Benjapron Seesukong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 

Similar to หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย่าง จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ บัว กล้วยไม้ และ เข็ม

Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
sathitauerpairojkit
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
JittapatS
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
HatsayaAnantepa
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
ParitaraVanichanon
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
ditdanaipataradool
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
PattriyaTowanasutr
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
PimlapusBoonsuphap
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
NarubordinPremsri
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
HatsayaAnantepa
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
Aomsin Thanyathorn
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
Don Tanadon
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ssuser9ded021
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
ParitaraVanichanon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
dijchanokbunyaratave
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
dijchanokbunyaratave
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
sathitauerpairojkit
 
Bio minibook ab complete
Bio minibook ab completeBio minibook ab complete
Bio minibook ab complete
OninUntarijan
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
Call Me Blink
 

Similar to หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย่าง จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ บัว กล้วยไม้ และ เข็ม (20)

Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
การศึกษาโครงสร้างดอกลิลลี่ ดอกประทัดจีน และดอกปีบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม....
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
ดอกลีลาวดี ดอกอัญชัน และดอกประทัดจีน กลุ่มที่3 ม.5 ห้อง652
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
Bio minibook ab complete
Bio minibook ab completeBio minibook ab complete
Bio minibook ab complete
 
Minibook
MinibookMinibook
Minibook
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย่าง จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ บัว กล้วยไม้ และ เข็ม

  • 1. หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ ของพืชตัวอย่าง จานวน 3 ชนิด ได้แก่ บัว กล้วยไม้ และ เข็ม นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ 1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะผู้จัดทา กลุ่มที่ 11 1. น ส จิดาภา อุดมพาณิชวงศ์ เลขที่ 2 2. น ส วิชญาดา เลิศเพียรธรรม เลขที่ 29 3 น ส อชิรญา จงสวัสดิ์พัฒนา เลขที่ 34 4 นายภูริชน์ นันทจีวรวัฒน์ เลขที่ 45 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 931 แผนการเรียนคุณภาพชีวิต ชิ้นงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว 30244) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
  • 2. คำนำ หนังสือเล่มเล็ก เรื่องโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ วิชา ว30244 ชีววิทยา 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีจุดประสงค์เพื่อใช้ศึกษาเรียนรู้ โครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์พืชตัวอย่าง ได้แก่ ดอกบัวหลวง ดอกกล้วยไม้ และดอกเข็ม ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้และแนวทาง การศึกษา เพื่อนๆทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มเล็กเล่มนี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นทุกๆท่าน คณะผู้จัดทา 21 พฤศจิกายน 2561 Link slide share: QR สำรบัญ หัวข้อนาเสนอ หน้า การจัดกลุ่มโครงสร้างดอกตามลักษณะสาคัญ 1 1 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ บัว 1 1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 2 1 2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 4 1 3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้างสาคัญ 5 ของดอก 2 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ กล้วยไม้ 2 1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 6 2 2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 8 2 3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้างสาคัญ 9 ของดอก 3 การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ เข็ม 3 1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 10 3 2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 12 3 3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้างสาคัญ 13 ของดอก 4 Clip VDO ประกอบการศึกษา 14 5 บรรณานุกรม 15 6 ภาคผนวก 16
  • 3. กำรจัดกลุ่มโครงสร้ำงดอกตำมลักษณะสำคัญ กำรศึกษำโครงสร้ำงดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกบัวหลวง 2.2.ลักษณะทั่วไปทำงพฤกษศำสตร์ ชื่อวิทยำศำสตร์: Nelumbo nucifera Gaertn ชื่อสำมัญ: Sacred lotus, pink lotus-lily ชื่ออื่นๆ: บุณฑริก ปทุม โกกระณต สัตตบุษย์ วงศ์: Nelumbonaceae ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์: พืชน้าอายุหลายปี ลาต้นเป็นเหง้าใต้ดินหรือเป็นไหลเหนือดินนามารับประทาน เรียกว่า “รากบัว” ใบ ใบเดี่ยวแตกจากข้อของลาต้น ใบรูปกลมใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-40ซม ขอบใบเรียบและเป็นคลื่น สีเขียว มีนวลเคลือบทาให้ไม่เปียกน้า ก้านใบและก้าน ดอกกลมเรียวแข็งมีหนามเล็กๆ ชูขึ้นเหนือน้า มีเส้นใยสีขาว รากบัว ไหลบัว ใบบัว ครบส่วน ส่วน ไม่ครบส่วน ดอกไม้ที่ศึกษำ ดอกเดี่ยว ดอกช่อ ครบส่วน ไม่ครบส่วน ดอกบัว หลวง ดอก กล้วยไม้ ดอกเข็ม Superior ovary Inferior ovary สมมาตร แบบรัศมี สมมาตร แบบครึ่งซีก Superior ovary Inferior ovary สมมาตร แบบรัศมี สมมาตร แบบครึ่งซีก ovary สมบูรณ์เพศ สมบูรณ์เพศ 21
  • 4. ดอก ดอกเดี่ยวออกจากข้อของเหง้าใต้ดิน ที่บริเวณซอกใบ กลีบเลี้ยง ขนาดเล็ก 4-5 กลีบ กลีบดอกจานวนมากเรียงซ้อนกันหลายชั้น สีขาว หรือสีชมพู เกสรเพศผู้สีเหลืองจานวนมาก บางครั้งเปลี่ยนไปเป็นกลีบดอกทาให้กลีบดอก ซ้อนกันแน่น ฐานรองดอกบวมขยายใหญ่เรียกว่า “ฝักบัว” ผล ผลกลุ่ม ประกอบด้วยผลย่อยจานวนมาก เจริญอยู่ภายใน ฝักบัว ภายในผลย่อยมีเมล็ดขนาดใหญ่ ใบเลี้ยงหนานามารับประทานได้ เรียกว่า “เม็ดบัว” 1.2. องค์ประกอบโครงสร้ำงสำคัญของดอกบัว ดอกบัว เม็ดบัว ฝักบัว กลีบรวม tepal ฐานดอกนูน torus เกสรเพศผู้ stamen ก้านชูอับเรณู filament อับเรณู anther ยอดเกสรเพศเมีย stigma รังไข่ ovary ก้านชูยอดเกสรเพศเมีย ออวุล ovule appendage ก้านดอก peduncle 3 4
  • 5. 1.3.ตัวอย่ำงแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้ำง กำรศึกษำโครงสร้ำงดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกกล้วยไม้ 2.1. ลักษณะทั่วไปทำงพฤกษศำสตร์ ชื่อวิทยำศำสตร์: Orchidaceae ชื่อสำมัญ: Orchid ชื่ออื่นๆ: เอื้อง (ภาคเหนือ) วงศ์: Orchidaceae Juss. ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์: ลำต้น ลาต้นของกล้วยไม้ไม่มีแก่นและเปลือก เนื้อในเสมอกัน ลาต้นมี 2 ลักษณะ คือ ลาต้นแท้มีข้อและปล้องเหมือนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป มีการเจริญเติบโตทางยอด และ ลาต้นเทียมหรือลาลูกกล้วยไว้สะสมอาหาร มีลาต้นเป็นเหง้า มีข้อและปล้องถี่ เจริญในแนวนอนไปตามผิวของเครื่องปลูก รำก รากกลมอวบเป็นเส้นเล็กแข็งหรือแบนราบ มีทั้งรากดิน รากกึ่งดิน รากกึ่ง อากาศ และรากอากาศ ลาต้น ราก 5 6
  • 6. ใบ ใบเป็นใบเลี้ยงเดี่ยวมีลักษณะต่างกันออกไป เช่น รูปแถบ รูปกลมยาว หรือลดรูปเป็นเพียงเกล็ด แผ่นใบบางคล้ายใบหมาก หนาอวบน้า หรือเป็นแท่งกลม ส่วนมากแล้วไม่มีส่วนที่เป็นก้านใบชัดเจน สีของใบเป็นสีเขียวสด บางชนิดเป็นสีม่วง คล้า บางชนิดก็มีลวดลาย ดอกออกที่ปลายลาต้น ซอกใบหรือข้างลาต้น ดอก ดอกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นช่อ แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยง 3 กลีบเรียง สลับกันกับกลีบดอก 3 กลีบ กลีบดอกอันล่างมีลักษณะต่างออกไปเรียกว่ากลีบปาก หรือกลีบกระเป๋าไว้สาหรับล่อแมลง ก้านเกสรตัวเมียและยอดเกสรตัวเมียเชื่อมติดกัน กับเกสรตัวผู้เป็นเส้าเกสรอยู่กลางดอก เกสรตัวผู้อยู่รวมกันเป็นก้อนเป็นกลุ่มเรณู แต่ละอับเรณูมีฝาปิด มี 2, 4 หรือ 8 ก้อนแล้วแต่ชนิดกล้วยไม้ ยอดเกสรตัวเมียอยู่ใต้ อับเรณู มีลักษณะเป็นเมือกเหนียว รังไข่อยู่ตรงส่วนของก้านดอก เมื่อได้รับการผสม จะเจริญไปเป็นเมล็ดต่อไป 2.2.องค์ประกอบโครงสร้ำงสำคัญของดอกกล้วยไม้ ดอก ใบ ก้ำนดอกย่อย Pedicels ก้ำนดอก Peduncle กลีบดอก - petal กลีบปำก - labellum กลีบเลี้ยงคู่ล่ำง - lateral sepal กลีบเลี้ยงกลีบบน – dorsal sepal กลีบเลี้ยงสวยงำม Petaloid เส้ำเกสร column รังไข่ ovary ก้อนเรณู pollinia ละอองเรณู pollen 87
  • 7. 2.3.ตัวอย่ำงแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้ำง กำรศึกษำโครงสร้ำงดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกเข็ม 3.1. ลักษณะทั่วไปทำงพฤกษศำสตร์ ชื่อวิทยำศำสตร์: Ixora chinensis Lam. ชื่อสำมัญ: West Indian Jasmine ชื่ออื่นๆ: เงาะ (สุราษฎร์ธานี), จะปูโย (มลายู-นราธิวาส), ตุโดบุโยบูเก๊ะ (มลายู) วงศ์: RUBIACEAE ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์: เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ลำต้น สูงประมาณ 3–5 ฟุต แตกกิ่งก้านสาขาแผ่เป็นพุ่ม ลาต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือ แตกแผ่สาขาออกไปเป็นต้นเล็กกลม ขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตร ลา ต้นเรียบสีน้าตาล กิ่งยอดมีสีเขียว แตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน ใบ ใบแข็ง เปราะ มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออกเรียงสลับกันคนละทิศทาง ต้น ใบ 109
  • 8. ดอก ออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะ ประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็นหลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ฝัก/ผล ผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดา 3.2.องค์ประกอบโครงสร้ำงสำคัญของดอกเข็ม ผล ดอก ยอดเกสรเพศเมีย stigma กลีบดอก petal ฐานรองดอก receptacle ก้านดอก peduncle ยอดเพสรเพศเมีย stigma ก้านชูเกสร เพศเมีย style วงกลีบเลี้ยง calyx หลอดกลีบดอก corolla tube ออวุล ovule เกสรเพศผู้ stamen 1211
  • 10. บรรณานุกรม กัญญารัตน์ (2558) ต้นดอกเข็ม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://kanyaratpunalao.wordpress.com/%E0% (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561) ครูบุรีรัมย์ (2556) ดอกบัว [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://oknation.nationtv.tv/blog/Doodekdee2 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561) ทริพอด (2555). ลักษณะทั่วไปของกล้วยไม้. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://orchids21.tripod.com/Html/other.html (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561). วิกิพีเดีย (2561) บัว [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki (วันที่สืบค้นข้อมูล : 18 พฤศจิกายน 2561) สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (2550). ลักษณะทั่วไปของกล้วยไม้ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : http://kasetinfo.arda.or.th/orchid/?page_id=9 (วันที่สืบค้นข้อมูล : 17 พฤศจิกายน 2561). ภาคผนวก 15 16
  • 11. ภาคผนวก ครูผู้สอน: นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คณะนักเรียนผู้จัดทา: ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 931 น.ส.จิดาภา อุดมพาณิชวงศ์ เลขที่ 2 น.ส.วิชญาดา เลิศเพียรธรรม เลขที่ 29 น.ส.อชิรญา จงสวัสดิ์พัฒนา เลขที่ 34 นายภูริชน์ นันทจีวรวัฒน์ เลขที่ 45 17