SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
โครงงานชีววิทยา การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิล 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ Timber 
1. น.ส. พรกนก บุญวิบูลย์ ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 27 
2. น.ส. ภัสสร สวนพลูน้อย ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 28 
3. น.ส. รัชชนันท์ ป้อมสุวรรณ ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 30 
4. น.ส. ศศิกานต์ อ่อนน้อมดี ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 31 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
โลกจัดเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต พืช สาร สสาร แร่ธาตุ แก็ส และ องค์ประกอบต่างๆชีวภาพลางกายภาพ สิ่งมีชีวิตก็เป็นองค์ประกอบหนึ่งบนโลก ซึ่งต่างก็ต้องการปัจจัย สาคัญ เช่น อาหาร และที่อยู่อาศัย ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งนั้นย่อมมีสิ่งมีชีวิตที่มากกว่า 2 ชนิดขึ้นไป และมี ความสาพันธ์กันในการดารงชีวิตที่หลากหลายแตกต่างกันไป ความหลากหลายเช่นนี้เราเรียกว่า ความ หลากหลายทางชีวภาพ สิ่งมีชีวิตในแต่ละท้องถิ่นก็มีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อม ซึ่งการจัดการ การศึกษา การสังเกต และการสารวจความหลาหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นจัดเป็นเรื่องสาคัญ ความรู้ที่ได้ สามารถนาไปบูรณาการใช้ประโยชน์ได้หลายทาง เช่น การนาความรู้มาวิเคราะห์สรุปเป็นองค์ความรู้เพื่อ เผยแพร่หรือใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้า 
เนื่องจากได้รับมอบหมายงานโดย คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ วิชา ชีววิทยา4 (ว 33244) ทาการศึกษา สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ จึงแบ่งกลุ่มและสนใจศึกษาที่ชุมชนสมถวิล เพราะมีสภาพแวดล้อมที่ สมบูรณ์ เช่น สุนัข นกเอี้ยง ไก่ชน ลีลาวดี ต้นมะละกอ ดอกกุหลาบพุกาม ต้นพญานาคราช ต้นกล้วย ต้น ทับทิม ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในด้านดารงชีวิต 
โดยมุ่งหวังว่าความรู้ที่ได้จาการสารวจจะสามารถนาไปเผยแพร่ให้บุคคลในชุมชนสมถวิลได้ สามารถนามาใช้ประกอบการวางแผนเพื่อบารุงรักษา และดูแลสภาพแวดล้อมในชุมชนสมถวิลได้ นาความรู้ ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ www.Biogag.net 
2. วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อต้อการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนสมถวิล 
2. เพื่อสารวจชุมชนที่อาศัยอยู่ว่ามีความหลากหลายทางชีวภาพต่างจากชุมชนอื่นอย่างไร 
3. เพื่อต้องการทราบว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่าง โครงสร้าง ประโยชน์แตกต่างกัน 
3. สมมติฐานของการศึกษา 
1. ถ้าภายในชุมชนสมถวิลมีความหลากหลายทางทรัพยากรชีวภาพจริง แล้วเมื่อทาการสารวจจาก ทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิลก็จะพบความหลากหลายทางชีวภาพที่มีลักษณะแตกต่างกัน หลายชนิด 
2. ถ้าชุมชนสมถวิลมีดินที่อุดมสมบูรณ์แล้วชุมชนสมถวิลมีพันธ์ไม้ที่สมบูรณ์ 
3. ถ้าชุมชนสมถวิลไม่มีการดูแลรักษาทรัพยากรชีวภาพแล้วชุมชนสมถวิลจะไม่มีสภาพแวดล้อมที่ สมบูรณ์
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 
1. ได้รู้ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิล 
2. ได้เข้าร่วมทากิจกรรมข้อมูลออนไลน์ภายในเว็บ www.Biogang.net 
3. ได้ข้อมูลที่ไปรวบรวมภายในชุมชนสมถวิลตามที่คาดไว้ 
4. ได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิลที่รวบรวมมาจากเว็บไชต์ต่างๆ 
5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ นกพิราบ 
นกพิราบ 
ชื่อท้องถิ่น : นกพิราบ 
ชื่อสามัญ : นกพิราบป่า Rock pigeon 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Columba livia 
ชื่อวงศ์ : columbida 
ลักษณะ : นกพิราบป่ามีขนสีเทาอ่อน มีแถบสีดาสองแถบบนปีกแต่ละข้าง แต่ทั้งนกป่าและนกเลี้ยงนั้นมี ความหลากหลายของสีและรูปแบบของขนเป็นอย่างมาก มีความแตกต่างระหว่างเพศเล็กน้อย นกชนิดนี้มัก มีคู่ครองตัวเดียว มีลูกครั้งละ 2 ตัว พ่อและแม่ช่วยกันเลี้ยงดู โดยที่เมื่อจับคู่กันแล้วจะไม่แยกจากกันเลย ตลอดชีวิต แม้ว่าคู่จะตายไปแล้ว ซึ่งนกพิราบป่านั้นเป็นที่รวมของเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ ที่ติดต่อมาสู่มนุษย์ได้ อาทิ โรคสมองอักเสบจากเชื้อรา, ปอดอักเสบ, ท้องเสีย, เครียด หรือแม้กระทั่งหมัดจากตัวนก 
นกพิราบมีถิ่นอาศัยในสิ่งแวดล้อมเปิดและกึ่งเปิดในพื้นที่เกษตรกรรมและในเมือง หน้าผาและขอบ หินถูกใช้เป็นที่ทารังวางไข่ของนกในป่า นกพิราบมีถิ่นกาเนิดในยุโรป แอฟริกาเหนือ และทางตะวันตกของ เอเชีย ก่อนที่จะแพร่กระจายไปตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพราะเป็นนกที่มีการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในเมืองได้ดีมาก คาดว่ามีประชากรนกในธรรมชาติประมาณ 17-28 ล้านตัวใน ยุโรป ปัจจุบันนกพิราบเป็นนกที่พบได้ในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา 
นกพิราบ เป็นนกที่มนุษย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี ในสมัยโบราณจะใช้ในการสื่อสาร เนื่องจากเป็นนกที่มี ประสาทสัมผัสเป็นอย่างดีในการที่จะหาทางกลับมาสู่ถิ่นฐานที่จากมา แม้ว่าจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตามด้วยการ ใช้สนามแม่เหล็กโลกแบบเดียวกับเต่าทะเล อีกทั้งยังใช้แสงแดดและจมูกในการดมกลิ่นอีกด้วย 
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ตลอดปี 
การใช้ประโยชน์: ใช้เป็นอาหาร โดยการปิ้ง 
อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=8089
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นพญานาคราช 
ต้นพญานาคราช 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ornamental Hemp cactus. 
ชื่อวงศ์ : MONADENIUM 
ชื่ออื่นๆ : ว่านพญานาคราช 
ชื่อที่เรียก : ต้นพญานาคราช 
หมวดหมู่ทรัพยากร : พืช 
ลักษณะ : ลักษณะของ ต้นพญานาคราช ลาต้นในช่วงแรกเริ่มจะมีขนาดเล็กแล้วชี้ตรงขึ้นฟ้า และบริเวณลา ต้นจะมีหนามอ่อนๆ คล้ายๆกับหนามของต้น กระบองเพชร บางชนิดและถ้าตอนโต ลาต้นจะมีขนาดที่ใหญ่ ขึ้น และลาต้นจะทิ้งตัวห้อยลงมาจากกระถางที่เราปลูก แต่สิ่งที่แปลกก็คือ ส่วนปลายของลาต้นที่ห้อยลงมา นั้นจะ ชู ตั้งชัน ขึ้น คล้ายกับส่วนหัวของพญานาค 
ประโยชน์ : นา ต้นพญานาคราชมาปลูกไว้ในบริเวณบ้านนั้น จะทาให้บ้านของท่านจะไม่มี "งู" กล้าเข้าใกล้ บ้านของท่านครับ ซึ่งอันนี้ผมเองได้พิสูตรแล้วครับ ได้ผลจริงๆครับ และเท่านั้นยังไม่พอ ยังสามารถใช้เป็น ยาแก้พิษที่เกิดจากการถูกสัตว์มีพิษกัด ไม่ว่าจะเป็น "งู" , "ตะขาบ" , "แมงป่อง" เป็นต้น ให้ท่านนาลาต้นของ ต้นพญานาคราชมาตา ผสมกับเหล้า หรือไม่ก็ ผสมกับซางข้าว เสร็จแล้วให้นามาพอกไว้ที่บริเวณปากแผล จะช่วยบรรเทาอาการปวดให้ลดลงได้ 
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นาไปใช้ประโยชน์: เป็นต้นไม้ ไม้ประดับ ว่านมงคล 
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ตลอดปี 
คาช่วยค้นหา(keyword): พญานาคราช 
อ้างอิง http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10816
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ต้นลีลาวดี 
ลีลาวดี 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plumeria spp. 
ตระกูล : Apocynaceae 
ชื่อสามัญ : Frangipani,Pagoda,Temple 
ลักษณะทั่วไป : ลีลาวดี เป็นไม้ยืนต้น มีขนาดจากที่เป็นพุ่มเตี้ยแคระสูงประมาณ 0.6 เมตร จนถึงต้นใหญ่ มากอาจที่สูงได้ถึง 12 เมตร ลาต้นแผ่กิ่งก้านสาขาและพุ่มใบสวยงาม มีน้ายางขนสีขาวเป็นพันธุ์ไม้ที่สลัดใบ ในฤดูแล้งก่อนที่จะผลิดอกผลิใบรุ่นใหม่ชนิดและพันธุ์ที่มีลักษณะดี ต้องมีทรงพุ่มแน่น มีกิ่งก้านสาขามาก ใบดกที่ปลายกิ่ง มีช่อดอกใหญ่ กิ่งที่ยังไม่แก่มีสีเขียวอ่อนนุ่ม กิ่งที่แก่มีสีเทามีรอยตะปุ่มตะป่า ใบ เป็นใบ เดี่ยวมีการเรียงตัวสลับกันและหนาแน่นใกล้ๆปลายกิ่ง มีตั้งแต่สีเขียวเข้ม มีเส้นเขียวอ่อนถึงกลางใบแตก สาขาออกไปคล้ายขนนก ขนาดใบแตกต่างกันตั้งแต่ 5-20 นิ้ว ช่อดอก จะถูกผลิตออกมาจากปลายยอดเหนือ ใบแต่กก็มีบางชนิดที่ออกช่อดอกระหว่างใบหรือออกดอกใต้ใบ ช่อดอกบางชนิดตั้งขึ้น บางชนิดห้อยลง ใน 1 ช่อดอกจะมีดอกบานพร้อมกัน 20-30 ดอก บางต้นสมบูรณ์เต็มที่อาจมีดอกมากกว่า 100 ดอก ต่อ 1 ช่อ ดอกโดยทั่วไป กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย อยู่ลึกเข้าไปข้างใน ดอกของ ลีลาวดีมีสีสรร หลากหลาย ทั้ง ขาว แดง เหลือง ชมพู ส้ม ม่วง สีทอง มีกลิ่นหอมต่างๆกันไปในแต่ละชนิด ดอกมีขนาด 2-6 นิ้ว มีกลิ่นหอม ผล เป็นฝักคู่ รูปยาวรี กว้างประมาณ 1.5 - 15 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีจานวนมาก เมล็ดแบนมีปีก ลีลาวดีมีช่วงชีวิตที่ยาวนานนับ 100 ปี 
ไม้ชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดอยู่ในเม็กซิโก และอเมริกาใต้ เป็นไม้วงศ์เดียวกับยี่โถและโมก ชอบแสงแดด จัด ปลูกง่าย และไม่ต้องดูแลมากนัก ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ในดินทุกชนิด เป็นพันธุ์ไม้ทนแล้งตามสภาพ ความเป็นอยู่ ถ้าได้รับการบารุงดูแลให้ปุ๋ยให้น้า หรือบารุงปุ๋ยสูตร 16 – 16 – 16 หรือ 14 – 14 – 21 ประมาณ 2 – 3 เดือนต่อครั้ง สลับกับแคลเซียมไนเตรท 15 – 0 – 0 ลั่นทมก็จะให้ความสวยงามสดชื่นตลอด ปี แต่ไม่ชอบดินแฉะที่มีน้าท่วมขัง เมื่อได้มีการเผยแพร่ลั่นทมกระจายพันธุ์ไปตามส่วนต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะในประเทศเขตร้อน จึงเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว อย่างที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เกาะ ฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศศรีลังกา ประเทศกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งประเทศหลังนี้ยกย่องลั่นทม ซึ่งประเทศลาวเรียกว่า จาปา เป็นดอกไม้ประจาชาติ เพราะได้เคยใช้ เป็น สัญลักษณ์ในการสร้างพลังเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส และมีการแต่งเพลงที่มีเนื้อร้องถึงดอกจาปาไว้อย่าง ไพเราะ ดังนี้เพลงดวงจาปา ของ อุดตะมะ จุนละมะนี 
ฤดูกาลออกดอก : ออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธุ์-เมษายน บางพันธุ์ออกดอกตลอดปี เช่น ขาวพวง
สภาพการปลูกลีลาวดี : เป็นไม้กลางแจ้ง ชอบแสงแดด ทนต่อความแห้งแล้ง ไม่ชอบน้ามาก ดินที่เหมาะสม ในการปลูกลีลาวดี ควรมีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย ส่วนดินเหนียวหรือดินที่มีเนื้อดินละเอียดหนักซึ่งน้า ขังง่าย จะทาให้รากเน่า โคนเน่าได้ ลีลาวดีจะเจริญเติบโต ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึงหากไม่ได้รับแสงแดดเต็ม ที ก็จะไม่ออกดอก แต่บางพันธุ์ก็ไม่ต้องการแสงแดดจัดในช่วงบ่าย 
การขยายพันธุ์ขยายพันธุ์ : โดยการเพาะเมล็ด, การปักชากิ่งการขยายพันธุ์แบบนี้จะไม่มีรากแก้ว, การเสียบ ยอดพันธุ์ดีสามารถทาให้ในหนึ่งต้น เสียบยอดให้ได้ดอกหลายสีได้ และการขยายพันธุ์โดยการติดตาการ ปลูกและดูแลรักษาการปลูกในกระถาง 
อ้างอิง http://www.oknation.net/blog/Doodekdee2/2013/12/03/entry-15 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ นกเอี้ยง 
นกเอี้ยง 
ชื่อท้องถิ่น : นกเอี้ยง 
ชื่อสามัญ : นกเอี้ยงสาลิกา 
ชื่อวิทยาศาสตร์: Acridotheres tristis (Linnaeus)1766 
ชื่อวงศ์: Sturnidae 
ประเภทสัตว์: สัตว์ปีก 
ลักษณะสัตว์: เป็นนกซึ่งคนไทยส่วนใหญ่รู้จักกันดี เพราะนอกจากจะอาศัยอยู่ตามไร่นาและชายป่าแล้ว ยังชอบอาศัยอยู่ใกล้กับบริเวณบ้านเรือนที่มีผู้คนอาศัยอยู่ โดยปกติมักเห็นเกาะอยู่ตามสายไฟฟ้า เดินหากิน ตามท้องสนามหญ้าภายในบริเวณบ้าน 
นกเอี้ยงสาริกา มีถิ่นกาเนิดอยู่ในประเทศอัฟกานิสถาน จีน พม่า ยูนาน ไทย เขมรและเวียดนาม ส่วนประเทศไทยสามารถพบเห็นได้ทั่วไปทุกภาค 
รูปร่างลักษณะ นกเอี้ยงสาริกาไม่ว่าจะเป็นตัวผู้หรือตัวเมียจะมีลักษณะที่เหมือน ๆ กัน ปากและ บริเวณรอบตามีสีเหลืองหัวและคอมีสีน้าตาลไม้จนเกือบดา ส่วนบริเวณกลางท้องเป็นสีน้าตาลอ่อนจนเกือบ เป็นสีขาว ขนคลุมใต้หางมีสีขาว ปีมีสีน้าตาลหรือบางส่วนเป็นสีดาและมีสีขาวแซมอยู่เล็กน้อย ขามีสีเหลือง อ่อน ขนาดของลาตัววัดจากจะงอยปากถึงหางยาวประมาณ 18 – 20 เซนติเมตร ด้านความยาวของขาวัดจาก ปลายนิ้วเท้าถึงโคนขายาวประมาณ 10 – 12 เซนติเมตร 
สภาพความเป็นอยู่ตามธรรมชาติ นกเอี้ยงพันธุ์นี้จะอยู่ได้โดยทั่วไป ทั้งในป่าตามชายทุ่งและตาม ชายคาบ้าน เป็นนกที่มีนิสัยชอบอยู่ใกล้ผู้คน ไม่ว่าจะมีบ้านเรือนอยู่ที่ใดก็จะพบนกเอี้ยงพันธุ์นี้อยู่ด้วยเสมอ
การออกหากินจะปะปนไปกับนกชนิดอื่นๆ ชอบลงมาหากินตามพื้นดิน โดยการเดินสลับกับการวิ่งกระโดด ไปมา เป็นนกที่มีความว่องไวและปราดเปรียวมาก ชอบการต่อสู่ ในขณะที่กินอาหารอยู่ก็จะร้องไปด้วย อาหารที่โปรดปรานของนกชนิดนี้ได้แก่ แมลงต่างๆ ตลอดจนตัวหนอน เมล็ดข้าว เมล็ดพืช และ สัตว์เลื้อยคลานเล็ก ๆ บางชนิด ได้แก่ ไส้เดือนฝอยที่ชอบอาศัยอยู่ในที่ชื้นแฉะ จากการที่นกเอี้ยงพันธุ์นี้มี นิสัยชอบกินแมลงต่างๆ จึงทาให้เกิดประโยชน์ ในด้านตัวช่วยกาจัดแมลงและหนอนศัตรูพืชได้อีกทางหนึ่ง ด้วย เมื่อนามาเลี้ยงผู้เลี้ยงจะต้องให้กินอาหารอย่างละเล็กละน้อยหลาย ๆ อย่าง เช่น ตัวหนอน ตั๊กแตนตัว เล็กๆ ลูกไม้และผลไม้สุก หรืออาจให้เมล็ดดอกหญ้าเป็นอาหารบ้างเป็นครั้งคราว 
ปริมาณที่พบ : มาก 
อธิบายวิธีการใช้ประโยชน์ : จะจับแมลงกินช่วยเกษตรกร 
แหล่งที่พบ: บริเวณป่าและชุมชน 
ข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม: - 
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้ :ทุกฤดู 
อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=3675 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ ไก่ชน 
ไก่ชน 
ชื่อท้องถิ่น : ไก่บ้านพันธุ์ไก่ชน 
ชื่อสามัญ : Chicken 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gallus gallus 
ชื่อวงศ์ : Phasianidae 
ประเภทสัตว์ : สัตว์ปีก 
ลักษณะสัตว์ : หงอน-เหนียง-สีของหงอนและเหนียง จักรหงอนนับส่วนแหลมของจักร (แหลมที่ 1 ไม่นับ) มีจานวน 4 – 5 จักร ถ้ามากหรือน้อยกว่าคัดออก จักรหงอนต้องไม่มีบาดแผล สีหงอนและจักรต้องสีแดงมี เม็ดทรายสวยงาม ได้สัดส่วนกับหน้า เหนียงกลมสวยได้สัดส่วนกับใบหน้า และหงอน 
หน้า-หัว-สีของหน้าและหัว ใบหน้ามองโดยรวมสวยงามไม่มีบาดแผล หรือตาหนิ ส่วนหัวกลมโต สมส่วนกับหน้าและหงอนขนบนหัวต้องเต็ม ไม่แหว่ง สีของใบหน้า ต้องแดงสวยงาม ขนบนหัวต้องไม่มีสี อื่นแซม
ปาก-สีของปาก ความสมบูรณ์ของปาก ปากบน-ล่างประกบกันสวยงาม ไม่พิการ ไม่ยาวจนเกินไป สีของปากต้องถูกต้องตามสีของประเภทไก่แจ้ เช่น ไก่สีขาว ปากต้องเหลือง ไม่ขาวซีด 
ตา-สีของดวง ตาสีของดวงตาถูกต้องตามสีของประเภทไก่แจ้ หู-สีของหู ใบหูไม่มีตาหนิหรือเป็น แผล สีของหูถูกต้องตามสีของประเภทไก่แจ้ หูขาวมากคัดออก 
ส่วนของลาตัว แบ่งมุมมองออกเป็นสามด้านคือ ด้านหน้า ด้านบน และด้านข้าง โดยมองรวมทั้งตัว ออกไม่ยกคอและขนของคอ ลาคอต้องไม่สั้น หรือยาวจนเกินไป ต้องสมดุล กับส่วนลาตัว และ หางด้วย ขน คอต้องเต็มสมบูรณ์ไม่แหว่ง ขนระย้าต้องขึ้นสุดแล้ว ต้องไม่ระบัด 
ความสั้นยาวของขา-แข้ง-นิ้ว-เล็บ-สีของขาและเล็บ ขาต้องสั้น ขา-แข้ง-นิ้ว-เล็บ ต้องสมบูรณ์ไม่ พิการ สีต้องถูกต้องตามลักษณะของประเภทไก่แจ้ น้าหนัก ต้องสมดุลกับตัวไก่ ไม่อ้วนหรือผอมเกินไป 
ส่วนปีก หาง ขนของปีกและสีปีกใหญ่ยาว ระพื้นสวยงาม ไม่ยกลอย ขนปีกเต็มสมบูรณ์ ไม่แตก หรือชารุดจนเว้าแหว่ง สีของปีกต้องไม่มีแซม เลอะเทอะ ยกเว้นสีตามประเภทของ ไก่แจ้ประเภทนั้น 
หางและสีของหาง ใบหางต้องสมบูรณ์ ขึ้นสุดแล้วทุกเส้น ทั้งด้านซ้าย และขวา ใบหางใหญ่กว้าง แผ่เป็นแผง ขึ้นไปด้านบน ไม่เอียง ไปด้านใด ด้านหนึ่ง สีของหางต้องถูกต้องตามสี 
ปริมาณที่พบ : มาก 
การใช้ประโยชน์ : เป็นอาหาร 
อธิบายวิธีการใช้ประโยชน์ : ใช้ปรุงอาหาร เพลิดเพลิน และการค้า 
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้ : ทุกฤดูกาล 
อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=8829 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ ต้นมะละกอ 
ต้นมะละกอ 
ชื่อที่เรียก : มะละกอ 
ชื่ออื่นๆ : กล้วยลา (ยะลา), แตงต้น (สตูล), มะก้วยเทศ (ภาคเหนือ), 
มะเต๊ะ (มาเลย์-ปัตตานี), ลอกอ (ภาคใต้), บักหุ่ง (นครพนม-เลย) 
ชื่อสามัญ : Papaya, Melan Tree, Paw Paw 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carica papaya L. 
ชื่อวงศ์ : CARICACEAE 
หมวดหมู่ทรัพยากร : พืช
ลักษณะ : มะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ ใบมีลักษณะเป็น ใบเดี่ยว 5 – 9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลาต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอ บางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ายางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสี ดาเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้ 
ประโยชน์ : นอกจากการนามะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนาไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตา แกงส้ม ฯลฯ หรือนาไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พาเพน (Papain) ซึ่งสามารถนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสาเร็จรูป บางครั้งนาไปทาเป็นยาช่วยย่อยสาหรับ ผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้ 
มะละกอสามารถนามาแปรรูปได้ เช่น มะละกอแช่อิ่ม มะละกอแผ่น แยมมะละกอ มะละกอเชื่อม มะละกอ แช่อิ่ม มะละกอสามรส มะละกอดอง มะละกอผง ใช้นามารับประทานเป็นผลไม้หรือของว่าง มะละกอช่วย บารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส ช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงยิ่งขึ้น 
แหล่งที่พบ : ชุมชนสมถวิล 
ตาบล : บางซื่อ 
อาเภอ : บางซื่อ 
จังหวัด : กรุงเทพมหานคร 
ฤดูกาลใช้ประโยชน์ : ช่วงกลางหรือปลายเดือนมกราคม 
อ้างอิง : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ สุนัข 
สุนัข 
ชื่อที่เรียก : สุนัข 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Balanophora abbreviata 
ชื่อวงศ์ : BALANOPHORACEAE 
หมวดหมู่ทรัพยากร : สัตว์ 
ลักษณะ : สุนัขเป็นสัตว์ที่มีหลายสายพันธุ์ ซึ่งแต่ละสายพันธุ์ก็จะมีลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะที่ ต่างกันออกไป แต่ลักษณะโดยรวมของสุนัขทั่ว ๆ ไปแล้ว สุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ออกลูกเป็นตัว มี ขนสั้นหรือยาวแตกต่างไปตามสายพันธุ์ บางตัวอาจมีขนสีดา สีขาว สีน้าตาล สีส้ม หรือบางตัวอาจมีหลายสี ปะปนกัน ขนาดของหูจะสั้นหรือยาวก็แตกต่างไปตามสายพันธุ์เช่นกัน 
ประโยชน์ : สุนัขได้รับการผสมพันธุ์เพื่อวัตถุประสงค์หลากหลายซึ่งมิใช่เพื่อเลี้ยงไว้ดูเล่นเท่านั้น การที่ สุนัขมีประสาทสัมผัสทางหูและทางจมูกที่ไวมากทาให้พวกมันมีคุณค่าในด้านใช้ล่าสัตว์ ใช้เป็นสุนัขตารวจ ใช้เป็นสุนัขสงคราม ใช้สะกดรอยตามหาคนหรือสิ่งของ ใช้ให้เฝ้าเวรยาม ใช้ให้รักษาความปลอดภัย และใช้ ให้ค้นหายาเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วเราก็ยังใช้สุนัขให้ทาหน้าที่นาทางคนตาบอดและนาทางคน พิการ ใช้เป็นสุนัขลากเลื่อนในดินแดนที่มีหิมะตกมากทางขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ และใช้เป็นสุนัขวิ่ง แข่งกันและเป็นสุนัขกัดกัน เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วในทางการแพทย์ท่านผู้รู้ยังแจกแจงด้วยว่า การเลี้ยง สุนัขนี้ยังเป็นหนึงในโครงการที่นามากใช้เพื่อช่วยบาบัดโรคจิตประสาทให้แก่ผู้ป่วยโรคจิตได้ผลชะงัดอีก ด้วยสุนัขเป็นสัตว์ที่มีหลายพันธุ์ เช่น ลาบราดอร์, โกลเด้น, ชิวาวา และอีกมากมาย มีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ดุและไม่ดุ 
ลักษณะการเดิน : ของสุนัขจะทิ้งน้าหนักตัวบนนิ้วเท้า ซึ่งส่งผลให้สุนัขเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วกว่าสัตว์ ชนิดอื่น 
ฤดูกาลใช้ประโยชน์ : ทุกฤดู 
อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=8299
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นกล้วย 
ต้นกล้วย 
ชื่อที่เรียก : กล้วย 
ชื่ออื่นๆ : กล้วยน้าว้า,กล้วยตีบ,กล้วยไข่,กล้วยหอม,กล้วยป่า,กล้วยครก 
ชื่อสามัญ : Bananas 
ชื่อวิทยาศาสตร์: Musa sapientum Linn., paradisaca Linn. 
ชื่อวงศ์: MUSACEAE 
หมวดหมู่ทรัพยากร : พืช 
ลักษณะ: เป็นไม้ล้มลุก ใบเป็นแผ่นยาวเส้นใบขนานกัน ดอกเป็นช่อดเรียกหัวปลี ผลเป็นหวีติดตอกันเป็น เครือ ต้นหนึ่งๆจะออกผลครั้งเดียวแล้วตายไป ปลูกได้ทั่วไปในประเทศเขตร้อน ขยายพันธุ์โดยแยกหน่อ กล้วยป่าบางชนิดไม่มีหน่อต้องใช้เมล็ดกล้วยป่าส่วนใหญ่มีเมล็ดมาก 
ประโยชน์ : เป็นผลไม้ที่เหมาะสาหรับผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร และท้องเสียบ่อย เพราะสามารถ ช่วยลดแก๊สในกระเพาะอาหารได้ กล้วยเมื่อยังดิบจะมีแป้งมาก แต่เมื่อสุก แป้งจะเปลี่ยนเป็นน้าตาล ดังนั้น หากท้องเดิน การกินกล้วยดิบจะช่วยทาให้อาการท้องเดินหยุดได้ และเมื่อเป็นโรคกระเพาะ ให้กินกล้วยที่ สุกแล้ว สาหรับกล้วยที่ทาให้สุกด้วยความร้อน วิตามิการแปรรูปกล้วยสามารถทาได้หลายแบบ เช่น การทา กล้วยอบเนย กล้วยฉาบ หรือ "กล้วยกรอบแก้ว", กล้วยตาก,กล้วยกวน,ข้าวเกรียบกล้วย,ทอฟฟี่กล้วย กล้วย สามารถใช้ประโยชน์ในพิธีกรรมต่างๆ เช่น พิธีทางศาสนา,พิธีตั้งขันข้าว,พิธีทาขวัญเด็ก 
ฤดูกาลใช้ประโยชน์ : ฤดูฝน 
ศักยภาพการใช้งาน : ผลไม้กินได้ 
อ้างอิง http://xn--o3cdbaevbumi7e7euch5pc3gc.blogspot.com/2012/03/blog-post_7274.html
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ ดอกกุหลาบพุกาม 
ดอกกุหลาบพุกาม 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pereskia bleo (Kunth) DC. 
วงศ์ : Cactaceae 
ชื่อสามัญ : Wax Rose 
ชื่ออื่น : - 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 เมตร ลาต้น โคนต้นมีเนื้อไม้ กิ่งก้านอวบน้า และมีหนามยาว สีน้าตาลแดง แข็ง ออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ใบ ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปรี รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเป็นคลื่น ก้านใบยาว ดอก มีสีแดงอมส้ม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม 2 – 3 ดอก เป็นช่อสั้นที่ปลายกิ่ง ดอกทยอยบาน ปลายก้านเชื่อมติดกันติดกับฐานรองดอกมีใบประดับเล็กๆ 2 – 5 กลีบ รูปร่างไม่แน่นอน มีทั้งสามเหลี่ยมไปจนถึงปลายเรียวแหลม กลีบเลี้ยง 2 – 3 กลีบ รูปไข่ กลีบ ดอกรูปไข่กลับ 10 – 15 กลีบ เรียงซ้อนกันหลายชั้น ปลายกลีบเว้าตื้นหรือมีติ่งแหลม กลีบชั้นนอกใหญ่กว่า ชั้นใน เกสรเพศผู้จานวนมาก ออกดอกตลอดปี ผล รูปกรวยแหลม ด้านบนแบน เมื่อสุกสีเหลือง เมล็ดขนาด เล็กจานวนมาก 
ฤดูที่ดอกบาน: ตลอดปี 
ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ทุกฤดู 
อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว 
ลักษณะนิสัย: ดินร่วน ระบายน้าได้ดี 
ความชื้น: ปานกลาง จนถึงต่า 
แสง: แดดเต็มวัน จนถึงปานกลาง ชอบแสงแดดจัดๆ 
นิเวศวิทยา: มีถิ่นกาเนิดในอเมริกากลาง แถบประเทศโคลัมเบีย เขตร้อนของอเมริกา ปานามา และนิคารากัว ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป 
ขยายพันธุ์: ด้วยการปักชากิ่ง หรือการตอนกิ่ง 
อ้างอิง : http://www.rspg.or.th/articles/df/df5.htm
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ ต้นทับทิม 
ทับทิม 
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Punica granatum L. 
ชื่อสามัญ : Pomegranate , Punica apple 
วงศ์ : Punicaceae 
ชื่ออื่น : พิลา (หนองคาย) พิลาขาว มะก่องแก้ว (น่าน) มะเก๊าะ (เหนือ) หมากจัง (แม่ฮ่องสอน) 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้น หรือพรรณไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลักษณะผิวเปลือกลาต้นเป็นสีเทา ส่วนที่ เป็นกิ่งหรือยอดอ่อนจะเป็นเหลี่ยม หรือ มีหนามแหลมยาวขึ้น ใบ ใบมีลักษณะเป็นรูปยาวรี โคนใบมน แคบ ส่วนปลายใบเรียวแหลมสั้น ผิวหลังใบ เกลี้ยงเป็นมัน ใต้ท้องใบจะเห็นเส้นใบได้ชัด ขนาดของใบกว้าง ประมาณ 1 – 1.8 ซม. ยาว ประมาณ 2.5 – 6 ซม. ดอก ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็น ดอกเดียว ในบริเวณ ปลายยอด หรือง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สีส้ม สีขาว หรือสีแดง ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ ปลายกลีบ ดอกจะแยกออกจากกัน ตรงกลางดอกมีเกสร ตัวเมีย และตัวผู้ซึ่งมีอับเรณูเป็นสีเหลือง ขนาดของ ดอกบานเต็มที่มีเส้นผ้าศูนย์กลางประมาณ 2 - 3 ซม. ผลมีลักษณะเป็นรูปค่อนข้าง กลม ผิวเปลือกนอกหนา เกลี้ยง ผลเมื่อแก่หรือ สุกเต็มที่มีสีเหลืองปนแดง และลักษณะของผล จะแตก หรืออ้างออก ข้างในผลก็จะมี เมล็ดเป็น จานวนมาก เป็นรูปเหลี่ยม มีสีชมพูสด ดอก ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็น ดอกเดียว ในบริเวณ ปลายยอด หรือง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สีส้ม สีขาว หรือสีแดง ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ ปลายกลีบ ดอกจะแยกออกจากกัน ตรงกลางดอกมีเกสร ตัวเมีย และตัวผู้ซึ่งมีอับเรณูเป็นสีเหลือง ขนาดของ ดอกบานเต็มที่มีเส้นผ้าศูนย์กลางประมาณ 2 - 3 ซม. ผลมีลักษณะเป็นรูปค่อนข้าง กลม ผิวเปลือกนอกหนา เกลี้ยง ผลเมื่อแก่หรือ สุกเต็มที่มีสีเหลืองปนแดง และลักษณะของผล จะแตก หรืออ้างออก ข้างในผลก็จะมี เมล็ดเป็น จานวนมาก เป็นรูปเหลี่ยม มีสีชมพูสด 
สารเคมี : เปลือกผลมีรสฝาด เนื่องจากมี tannin 22 – 25 % gallotannic acid สารสีเขียวอมเหลือง รากมี สารอัลคาลอยด์ ชื่อ pelletierine และอนุพันธ์ของ pelletierine 
ประโยชน์ : ผลทับทิมใช้รับประทานเป็นผลไม้มีรสหวานหรือเปรี้ยวอมหวานทับทิมเป็นผลไม้ที่มี ประโยชน์ต่อสุขภาพ น้าทับทิมมีวิตามินซีสูงและยังมีสารเกลือแร่ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณที่สูง เหมาะสาหรับการดื่มเพื่อเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย 
น้าทับทิมมีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิดและมีประสิทธิภาพสูงมากสามารถลดภาวะการแข็งตัว ของเลือดจากไขมันในเลือดสูง บรรเทาโรคโรคหัวใจและความดันโลหิตสูง ช่วยเพิ่มพลังและความงาม ดื่ม
น้าทับทิมคั้นวันละแก้วจะช่วยส่งเสริมการทางานของหลอดเลือด ลดการแข็งตัวของหลอดเลือดแดงและ ช่วยเสริมสุขภาพของหัวใจให้ดีขึ้นเปลือกทับทิมรักษาโรคท้องเดินและโรคบิด 
อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%A1_(%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89) 
6. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 
1. กล้องถ่ายรูป 
2. กระดาษ ปากกา (biomap) 
3. คอมพิวเตอร์ 
4. สมุดจดบันทึก 
5. เครื่องเขียน 
6. เว็บไซต์ www.Biogang.net 
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 
1. คุณครู วิชัยแนะนาเรื่องการสมัครเว็บ Biogang และการร่วมกิจกรรมของ Biogang 
2. แบ่งกลุ่มและเลือกชุมชนสมถวิลในการสารวจ 
1. 3.ประชุมมกันในกลุ่มการเขียนแผนที่ในชุมชนสมถวิล 
3. สารวจและถ่ายรูปทางที่เราวางแผนไว้ 
4. ศึกษาข้อมูลลักษณะทางชีวภาพที่เราสารวจจากแหล่งต่างๆ 
5. รวบรวมข้อมูลที่เราสารวจมาโพสลงในเว็บ Biogang 
6. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาสรุปเป็นโครงงาน 
7. นาข้อมูลมาเรียบเรียงจัดทาเป็น E-book 
8. จัดทารูปเล่มนาเสนอครูที่ปรึกษา
- แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนการทาโครงงาน ระยะเวลา หมายเหตุ 1. คุณครู วิชัยแนะนาเรื่องการสมัครเว็บ Biogang 7 ก.ค. 2557 2. แบ่งกลุ่มและเลือกชุมชนสมถวิลในการสารวจ 11 ก.ค. 2557 3. ประชุมมกันในกลุ่มการเขียนแผนที่ในชุมชนสมถวิล 12 ก.ค. 2557 4. สารวจและถ่ายรูปทางที่เราวางแผนไว้ 18 ก.ค. 2557 5. ศึกษาข้อมูลลักษณะทางชีวภาพที่เราสารวจจาก แหล่งต่างๆ 19 ก.ค. 2557 6. รวบรวมข้อมูลที่เราสารวจมาโพสลงในเว็บ Biogang 24 ก.ค. 2557 7. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาสรุปเป็นโครงงาน 24 ก.ค. 2557 8. จัดทารูปเล่มนาเสนอครูที่ปรึกษา 25 ก.ค. 2557 
7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 
http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=3675 
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2#.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4 
http://jitlada-043.blogspot.com/2008/08/blog-post.html 
http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9769 
http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_3.htm 
http://www.luangporpakdang.net/2013/09/blog-post_24.html 
http://agkc.lib.ku.ac.th/plantwebsite/webpage/Shrubs/%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0% B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A1.html 
http://www.datepalmthai.com/bthkhwam/Entries/2010/11/10_tn_trakul_ki.html 
๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net 
โครงงานชีววิทยา การสารวจความหลากหลายทางชีวภาพชุมชนสมถวิล 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา กลุ่ม Timber 
1. น.ส. พรกนก บุญวิบูลย์ เลขที่ 27 
2. น.ส. ภัสสร สวนพลูน้อย เลขที่ 28 
3. น.ส. รัชชนันท์ ป้อมสุวรรณ เลขที่ 30 
4. น.ส. ศศิกานต์ อ่อนน้อมดี เลขที่ 31 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 1 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ชื่อ นางสาวพรกนก นามสกุล บุญวิบูลย์ เลขที่ 27 ชั้น ม.6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ นกพิราบ
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นพญานาคราช
2. ชื่อ นางสาวภัสสร นามสกุล สวนพลูน้อย เลขที่ 28 ชั้น ม.6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ต้นลีลาวดี
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ นกเอี้ยง
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ ไก่ชน
3. ชื่อ นางสาวรัชชนันท์ นามสกุล ป้อมสุวรรณ เลขที่ 30 ชั้น ม.6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ มะละกอ
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ สุนัข
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นกล้วย
4. ชื่อ นางสาวศศิกานต์ นามสกุล อ่อนน้อมดี เลขที่ 31 ชั้น ม.6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ ดอกกุหลาบพุกาม
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ ต้นทับทิม
Biomapcontest2014 timber

More Related Content

What's hot

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตKan Pan
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 

What's hot (20)

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 

Similar to Biomapcontest2014 timber

Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena PmdAkradech M.
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลKrujhim
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 

Similar to Biomapcontest2014 timber (20)

Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd20080801 Carena Pmd
20080801 Carena Pmd
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเลผักบุ้งทะเล
ผักบุ้งทะเล
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Biomapcontest2014 timber

  • 1. เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) โครงงานชีววิทยา การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิล รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ Timber 1. น.ส. พรกนก บุญวิบูลย์ ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 27 2. น.ส. ภัสสร สวนพลูน้อย ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 28 3. น.ส. รัชชนันท์ ป้อมสุวรรณ ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 30 4. น.ส. ศศิกานต์ อ่อนน้อมดี ชั้น ม. 6/1 เลขที่ 31 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โลกจัดเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต พืช สาร สสาร แร่ธาตุ แก็ส และ องค์ประกอบต่างๆชีวภาพลางกายภาพ สิ่งมีชีวิตก็เป็นองค์ประกอบหนึ่งบนโลก ซึ่งต่างก็ต้องการปัจจัย สาคัญ เช่น อาหาร และที่อยู่อาศัย ในบริเวณใดบริเวณหนึ่งนั้นย่อมมีสิ่งมีชีวิตที่มากกว่า 2 ชนิดขึ้นไป และมี ความสาพันธ์กันในการดารงชีวิตที่หลากหลายแตกต่างกันไป ความหลากหลายเช่นนี้เราเรียกว่า ความ หลากหลายทางชีวภาพ สิ่งมีชีวิตในแต่ละท้องถิ่นก็มีความแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อม ซึ่งการจัดการ การศึกษา การสังเกต และการสารวจความหลาหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นจัดเป็นเรื่องสาคัญ ความรู้ที่ได้ สามารถนาไปบูรณาการใช้ประโยชน์ได้หลายทาง เช่น การนาความรู้มาวิเคราะห์สรุปเป็นองค์ความรู้เพื่อ เผยแพร่หรือใช้เพื่อการศึกษาค้นคว้า เนื่องจากได้รับมอบหมายงานโดย คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ วิชา ชีววิทยา4 (ว 33244) ทาการศึกษา สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ จึงแบ่งกลุ่มและสนใจศึกษาที่ชุมชนสมถวิล เพราะมีสภาพแวดล้อมที่ สมบูรณ์ เช่น สุนัข นกเอี้ยง ไก่ชน ลีลาวดี ต้นมะละกอ ดอกกุหลาบพุกาม ต้นพญานาคราช ต้นกล้วย ต้น ทับทิม ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในด้านดารงชีวิต โดยมุ่งหวังว่าความรู้ที่ได้จาการสารวจจะสามารถนาไปเผยแพร่ให้บุคคลในชุมชนสมถวิลได้ สามารถนามาใช้ประกอบการวางแผนเพื่อบารุงรักษา และดูแลสภาพแวดล้อมในชุมชนสมถวิลได้ นาความรู้ ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ www.Biogag.net 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อต้อการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนสมถวิล 2. เพื่อสารวจชุมชนที่อาศัยอยู่ว่ามีความหลากหลายทางชีวภาพต่างจากชุมชนอื่นอย่างไร 3. เพื่อต้องการทราบว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่าง โครงสร้าง ประโยชน์แตกต่างกัน 3. สมมติฐานของการศึกษา 1. ถ้าภายในชุมชนสมถวิลมีความหลากหลายทางทรัพยากรชีวภาพจริง แล้วเมื่อทาการสารวจจาก ทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิลก็จะพบความหลากหลายทางชีวภาพที่มีลักษณะแตกต่างกัน หลายชนิด 2. ถ้าชุมชนสมถวิลมีดินที่อุดมสมบูรณ์แล้วชุมชนสมถวิลมีพันธ์ไม้ที่สมบูรณ์ 3. ถ้าชุมชนสมถวิลไม่มีการดูแลรักษาทรัพยากรชีวภาพแล้วชุมชนสมถวิลจะไม่มีสภาพแวดล้อมที่ สมบูรณ์
  • 3. 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1. ได้รู้ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิล 2. ได้เข้าร่วมทากิจกรรมข้อมูลออนไลน์ภายในเว็บ www.Biogang.net 3. ได้ข้อมูลที่ไปรวบรวมภายในชุมชนสมถวิลตามที่คาดไว้ 4. ได้ข้อมูลที่เกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพในชุมชนสมถวิลที่รวบรวมมาจากเว็บไชต์ต่างๆ 5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ นกพิราบ นกพิราบ ชื่อท้องถิ่น : นกพิราบ ชื่อสามัญ : นกพิราบป่า Rock pigeon ชื่อวิทยาศาสตร์ : Columba livia ชื่อวงศ์ : columbida ลักษณะ : นกพิราบป่ามีขนสีเทาอ่อน มีแถบสีดาสองแถบบนปีกแต่ละข้าง แต่ทั้งนกป่าและนกเลี้ยงนั้นมี ความหลากหลายของสีและรูปแบบของขนเป็นอย่างมาก มีความแตกต่างระหว่างเพศเล็กน้อย นกชนิดนี้มัก มีคู่ครองตัวเดียว มีลูกครั้งละ 2 ตัว พ่อและแม่ช่วยกันเลี้ยงดู โดยที่เมื่อจับคู่กันแล้วจะไม่แยกจากกันเลย ตลอดชีวิต แม้ว่าคู่จะตายไปแล้ว ซึ่งนกพิราบป่านั้นเป็นที่รวมของเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ ที่ติดต่อมาสู่มนุษย์ได้ อาทิ โรคสมองอักเสบจากเชื้อรา, ปอดอักเสบ, ท้องเสีย, เครียด หรือแม้กระทั่งหมัดจากตัวนก นกพิราบมีถิ่นอาศัยในสิ่งแวดล้อมเปิดและกึ่งเปิดในพื้นที่เกษตรกรรมและในเมือง หน้าผาและขอบ หินถูกใช้เป็นที่ทารังวางไข่ของนกในป่า นกพิราบมีถิ่นกาเนิดในยุโรป แอฟริกาเหนือ และทางตะวันตกของ เอเชีย ก่อนที่จะแพร่กระจายไปตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพราะเป็นนกที่มีการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในเมืองได้ดีมาก คาดว่ามีประชากรนกในธรรมชาติประมาณ 17-28 ล้านตัวใน ยุโรป ปัจจุบันนกพิราบเป็นนกที่พบได้ในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา นกพิราบ เป็นนกที่มนุษย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี ในสมัยโบราณจะใช้ในการสื่อสาร เนื่องจากเป็นนกที่มี ประสาทสัมผัสเป็นอย่างดีในการที่จะหาทางกลับมาสู่ถิ่นฐานที่จากมา แม้ว่าจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตามด้วยการ ใช้สนามแม่เหล็กโลกแบบเดียวกับเต่าทะเล อีกทั้งยังใช้แสงแดดและจมูกในการดมกลิ่นอีกด้วย ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ตลอดปี การใช้ประโยชน์: ใช้เป็นอาหาร โดยการปิ้ง อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=8089
  • 4. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ต้นพญานาคราช ต้นพญานาคราช ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ornamental Hemp cactus. ชื่อวงศ์ : MONADENIUM ชื่ออื่นๆ : ว่านพญานาคราช ชื่อที่เรียก : ต้นพญานาคราช หมวดหมู่ทรัพยากร : พืช ลักษณะ : ลักษณะของ ต้นพญานาคราช ลาต้นในช่วงแรกเริ่มจะมีขนาดเล็กแล้วชี้ตรงขึ้นฟ้า และบริเวณลา ต้นจะมีหนามอ่อนๆ คล้ายๆกับหนามของต้น กระบองเพชร บางชนิดและถ้าตอนโต ลาต้นจะมีขนาดที่ใหญ่ ขึ้น และลาต้นจะทิ้งตัวห้อยลงมาจากกระถางที่เราปลูก แต่สิ่งที่แปลกก็คือ ส่วนปลายของลาต้นที่ห้อยลงมา นั้นจะ ชู ตั้งชัน ขึ้น คล้ายกับส่วนหัวของพญานาค ประโยชน์ : นา ต้นพญานาคราชมาปลูกไว้ในบริเวณบ้านนั้น จะทาให้บ้านของท่านจะไม่มี "งู" กล้าเข้าใกล้ บ้านของท่านครับ ซึ่งอันนี้ผมเองได้พิสูตรแล้วครับ ได้ผลจริงๆครับ และเท่านั้นยังไม่พอ ยังสามารถใช้เป็น ยาแก้พิษที่เกิดจากการถูกสัตว์มีพิษกัด ไม่ว่าจะเป็น "งู" , "ตะขาบ" , "แมงป่อง" เป็นต้น ให้ท่านนาลาต้นของ ต้นพญานาคราชมาตา ผสมกับเหล้า หรือไม่ก็ ผสมกับซางข้าว เสร็จแล้วให้นามาพอกไว้ที่บริเวณปากแผล จะช่วยบรรเทาอาการปวดให้ลดลงได้ การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นาไปใช้ประโยชน์: เป็นต้นไม้ ไม้ประดับ ว่านมงคล ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ตลอดปี คาช่วยค้นหา(keyword): พญานาคราช อ้างอิง http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=10816
  • 5. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ต้นลีลาวดี ลีลาวดี ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plumeria spp. ตระกูล : Apocynaceae ชื่อสามัญ : Frangipani,Pagoda,Temple ลักษณะทั่วไป : ลีลาวดี เป็นไม้ยืนต้น มีขนาดจากที่เป็นพุ่มเตี้ยแคระสูงประมาณ 0.6 เมตร จนถึงต้นใหญ่ มากอาจที่สูงได้ถึง 12 เมตร ลาต้นแผ่กิ่งก้านสาขาและพุ่มใบสวยงาม มีน้ายางขนสีขาวเป็นพันธุ์ไม้ที่สลัดใบ ในฤดูแล้งก่อนที่จะผลิดอกผลิใบรุ่นใหม่ชนิดและพันธุ์ที่มีลักษณะดี ต้องมีทรงพุ่มแน่น มีกิ่งก้านสาขามาก ใบดกที่ปลายกิ่ง มีช่อดอกใหญ่ กิ่งที่ยังไม่แก่มีสีเขียวอ่อนนุ่ม กิ่งที่แก่มีสีเทามีรอยตะปุ่มตะป่า ใบ เป็นใบ เดี่ยวมีการเรียงตัวสลับกันและหนาแน่นใกล้ๆปลายกิ่ง มีตั้งแต่สีเขียวเข้ม มีเส้นเขียวอ่อนถึงกลางใบแตก สาขาออกไปคล้ายขนนก ขนาดใบแตกต่างกันตั้งแต่ 5-20 นิ้ว ช่อดอก จะถูกผลิตออกมาจากปลายยอดเหนือ ใบแต่กก็มีบางชนิดที่ออกช่อดอกระหว่างใบหรือออกดอกใต้ใบ ช่อดอกบางชนิดตั้งขึ้น บางชนิดห้อยลง ใน 1 ช่อดอกจะมีดอกบานพร้อมกัน 20-30 ดอก บางต้นสมบูรณ์เต็มที่อาจมีดอกมากกว่า 100 ดอก ต่อ 1 ช่อ ดอกโดยทั่วไป กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย อยู่ลึกเข้าไปข้างใน ดอกของ ลีลาวดีมีสีสรร หลากหลาย ทั้ง ขาว แดง เหลือง ชมพู ส้ม ม่วง สีทอง มีกลิ่นหอมต่างๆกันไปในแต่ละชนิด ดอกมีขนาด 2-6 นิ้ว มีกลิ่นหอม ผล เป็นฝักคู่ รูปยาวรี กว้างประมาณ 1.5 - 15 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีจานวนมาก เมล็ดแบนมีปีก ลีลาวดีมีช่วงชีวิตที่ยาวนานนับ 100 ปี ไม้ชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดอยู่ในเม็กซิโก และอเมริกาใต้ เป็นไม้วงศ์เดียวกับยี่โถและโมก ชอบแสงแดด จัด ปลูกง่าย และไม่ต้องดูแลมากนัก ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ในดินทุกชนิด เป็นพันธุ์ไม้ทนแล้งตามสภาพ ความเป็นอยู่ ถ้าได้รับการบารุงดูแลให้ปุ๋ยให้น้า หรือบารุงปุ๋ยสูตร 16 – 16 – 16 หรือ 14 – 14 – 21 ประมาณ 2 – 3 เดือนต่อครั้ง สลับกับแคลเซียมไนเตรท 15 – 0 – 0 ลั่นทมก็จะให้ความสวยงามสดชื่นตลอด ปี แต่ไม่ชอบดินแฉะที่มีน้าท่วมขัง เมื่อได้มีการเผยแพร่ลั่นทมกระจายพันธุ์ไปตามส่วนต่างๆ ของโลก โดยเฉพาะในประเทศเขตร้อน จึงเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว อย่างที่เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย เกาะ ฮาวาย ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศศรีลังกา ประเทศกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งประเทศหลังนี้ยกย่องลั่นทม ซึ่งประเทศลาวเรียกว่า จาปา เป็นดอกไม้ประจาชาติ เพราะได้เคยใช้ เป็น สัญลักษณ์ในการสร้างพลังเรียกร้องเอกราชจากฝรั่งเศส และมีการแต่งเพลงที่มีเนื้อร้องถึงดอกจาปาไว้อย่าง ไพเราะ ดังนี้เพลงดวงจาปา ของ อุดตะมะ จุนละมะนี ฤดูกาลออกดอก : ออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธุ์-เมษายน บางพันธุ์ออกดอกตลอดปี เช่น ขาวพวง
  • 6. สภาพการปลูกลีลาวดี : เป็นไม้กลางแจ้ง ชอบแสงแดด ทนต่อความแห้งแล้ง ไม่ชอบน้ามาก ดินที่เหมาะสม ในการปลูกลีลาวดี ควรมีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย ส่วนดินเหนียวหรือดินที่มีเนื้อดินละเอียดหนักซึ่งน้า ขังง่าย จะทาให้รากเน่า โคนเน่าได้ ลีลาวดีจะเจริญเติบโต ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึงหากไม่ได้รับแสงแดดเต็ม ที ก็จะไม่ออกดอก แต่บางพันธุ์ก็ไม่ต้องการแสงแดดจัดในช่วงบ่าย การขยายพันธุ์ขยายพันธุ์ : โดยการเพาะเมล็ด, การปักชากิ่งการขยายพันธุ์แบบนี้จะไม่มีรากแก้ว, การเสียบ ยอดพันธุ์ดีสามารถทาให้ในหนึ่งต้น เสียบยอดให้ได้ดอกหลายสีได้ และการขยายพันธุ์โดยการติดตาการ ปลูกและดูแลรักษาการปลูกในกระถาง อ้างอิง http://www.oknation.net/blog/Doodekdee2/2013/12/03/entry-15 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ นกเอี้ยง นกเอี้ยง ชื่อท้องถิ่น : นกเอี้ยง ชื่อสามัญ : นกเอี้ยงสาลิกา ชื่อวิทยาศาสตร์: Acridotheres tristis (Linnaeus)1766 ชื่อวงศ์: Sturnidae ประเภทสัตว์: สัตว์ปีก ลักษณะสัตว์: เป็นนกซึ่งคนไทยส่วนใหญ่รู้จักกันดี เพราะนอกจากจะอาศัยอยู่ตามไร่นาและชายป่าแล้ว ยังชอบอาศัยอยู่ใกล้กับบริเวณบ้านเรือนที่มีผู้คนอาศัยอยู่ โดยปกติมักเห็นเกาะอยู่ตามสายไฟฟ้า เดินหากิน ตามท้องสนามหญ้าภายในบริเวณบ้าน นกเอี้ยงสาริกา มีถิ่นกาเนิดอยู่ในประเทศอัฟกานิสถาน จีน พม่า ยูนาน ไทย เขมรและเวียดนาม ส่วนประเทศไทยสามารถพบเห็นได้ทั่วไปทุกภาค รูปร่างลักษณะ นกเอี้ยงสาริกาไม่ว่าจะเป็นตัวผู้หรือตัวเมียจะมีลักษณะที่เหมือน ๆ กัน ปากและ บริเวณรอบตามีสีเหลืองหัวและคอมีสีน้าตาลไม้จนเกือบดา ส่วนบริเวณกลางท้องเป็นสีน้าตาลอ่อนจนเกือบ เป็นสีขาว ขนคลุมใต้หางมีสีขาว ปีมีสีน้าตาลหรือบางส่วนเป็นสีดาและมีสีขาวแซมอยู่เล็กน้อย ขามีสีเหลือง อ่อน ขนาดของลาตัววัดจากจะงอยปากถึงหางยาวประมาณ 18 – 20 เซนติเมตร ด้านความยาวของขาวัดจาก ปลายนิ้วเท้าถึงโคนขายาวประมาณ 10 – 12 เซนติเมตร สภาพความเป็นอยู่ตามธรรมชาติ นกเอี้ยงพันธุ์นี้จะอยู่ได้โดยทั่วไป ทั้งในป่าตามชายทุ่งและตาม ชายคาบ้าน เป็นนกที่มีนิสัยชอบอยู่ใกล้ผู้คน ไม่ว่าจะมีบ้านเรือนอยู่ที่ใดก็จะพบนกเอี้ยงพันธุ์นี้อยู่ด้วยเสมอ
  • 7. การออกหากินจะปะปนไปกับนกชนิดอื่นๆ ชอบลงมาหากินตามพื้นดิน โดยการเดินสลับกับการวิ่งกระโดด ไปมา เป็นนกที่มีความว่องไวและปราดเปรียวมาก ชอบการต่อสู่ ในขณะที่กินอาหารอยู่ก็จะร้องไปด้วย อาหารที่โปรดปรานของนกชนิดนี้ได้แก่ แมลงต่างๆ ตลอดจนตัวหนอน เมล็ดข้าว เมล็ดพืช และ สัตว์เลื้อยคลานเล็ก ๆ บางชนิด ได้แก่ ไส้เดือนฝอยที่ชอบอาศัยอยู่ในที่ชื้นแฉะ จากการที่นกเอี้ยงพันธุ์นี้มี นิสัยชอบกินแมลงต่างๆ จึงทาให้เกิดประโยชน์ ในด้านตัวช่วยกาจัดแมลงและหนอนศัตรูพืชได้อีกทางหนึ่ง ด้วย เมื่อนามาเลี้ยงผู้เลี้ยงจะต้องให้กินอาหารอย่างละเล็กละน้อยหลาย ๆ อย่าง เช่น ตัวหนอน ตั๊กแตนตัว เล็กๆ ลูกไม้และผลไม้สุก หรืออาจให้เมล็ดดอกหญ้าเป็นอาหารบ้างเป็นครั้งคราว ปริมาณที่พบ : มาก อธิบายวิธีการใช้ประโยชน์ : จะจับแมลงกินช่วยเกษตรกร แหล่งที่พบ: บริเวณป่าและชุมชน ข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม: - ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้ :ทุกฤดู อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=3675 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ ไก่ชน ไก่ชน ชื่อท้องถิ่น : ไก่บ้านพันธุ์ไก่ชน ชื่อสามัญ : Chicken ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gallus gallus ชื่อวงศ์ : Phasianidae ประเภทสัตว์ : สัตว์ปีก ลักษณะสัตว์ : หงอน-เหนียง-สีของหงอนและเหนียง จักรหงอนนับส่วนแหลมของจักร (แหลมที่ 1 ไม่นับ) มีจานวน 4 – 5 จักร ถ้ามากหรือน้อยกว่าคัดออก จักรหงอนต้องไม่มีบาดแผล สีหงอนและจักรต้องสีแดงมี เม็ดทรายสวยงาม ได้สัดส่วนกับหน้า เหนียงกลมสวยได้สัดส่วนกับใบหน้า และหงอน หน้า-หัว-สีของหน้าและหัว ใบหน้ามองโดยรวมสวยงามไม่มีบาดแผล หรือตาหนิ ส่วนหัวกลมโต สมส่วนกับหน้าและหงอนขนบนหัวต้องเต็ม ไม่แหว่ง สีของใบหน้า ต้องแดงสวยงาม ขนบนหัวต้องไม่มีสี อื่นแซม
  • 8. ปาก-สีของปาก ความสมบูรณ์ของปาก ปากบน-ล่างประกบกันสวยงาม ไม่พิการ ไม่ยาวจนเกินไป สีของปากต้องถูกต้องตามสีของประเภทไก่แจ้ เช่น ไก่สีขาว ปากต้องเหลือง ไม่ขาวซีด ตา-สีของดวง ตาสีของดวงตาถูกต้องตามสีของประเภทไก่แจ้ หู-สีของหู ใบหูไม่มีตาหนิหรือเป็น แผล สีของหูถูกต้องตามสีของประเภทไก่แจ้ หูขาวมากคัดออก ส่วนของลาตัว แบ่งมุมมองออกเป็นสามด้านคือ ด้านหน้า ด้านบน และด้านข้าง โดยมองรวมทั้งตัว ออกไม่ยกคอและขนของคอ ลาคอต้องไม่สั้น หรือยาวจนเกินไป ต้องสมดุล กับส่วนลาตัว และ หางด้วย ขน คอต้องเต็มสมบูรณ์ไม่แหว่ง ขนระย้าต้องขึ้นสุดแล้ว ต้องไม่ระบัด ความสั้นยาวของขา-แข้ง-นิ้ว-เล็บ-สีของขาและเล็บ ขาต้องสั้น ขา-แข้ง-นิ้ว-เล็บ ต้องสมบูรณ์ไม่ พิการ สีต้องถูกต้องตามลักษณะของประเภทไก่แจ้ น้าหนัก ต้องสมดุลกับตัวไก่ ไม่อ้วนหรือผอมเกินไป ส่วนปีก หาง ขนของปีกและสีปีกใหญ่ยาว ระพื้นสวยงาม ไม่ยกลอย ขนปีกเต็มสมบูรณ์ ไม่แตก หรือชารุดจนเว้าแหว่ง สีของปีกต้องไม่มีแซม เลอะเทอะ ยกเว้นสีตามประเภทของ ไก่แจ้ประเภทนั้น หางและสีของหาง ใบหางต้องสมบูรณ์ ขึ้นสุดแล้วทุกเส้น ทั้งด้านซ้าย และขวา ใบหางใหญ่กว้าง แผ่เป็นแผง ขึ้นไปด้านบน ไม่เอียง ไปด้านใด ด้านหนึ่ง สีของหางต้องถูกต้องตามสี ปริมาณที่พบ : มาก การใช้ประโยชน์ : เป็นอาหาร อธิบายวิธีการใช้ประโยชน์ : ใช้ปรุงอาหาร เพลิดเพลิน และการค้า ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้ : ทุกฤดูกาล อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=8829 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ ต้นมะละกอ ต้นมะละกอ ชื่อที่เรียก : มะละกอ ชื่ออื่นๆ : กล้วยลา (ยะลา), แตงต้น (สตูล), มะก้วยเทศ (ภาคเหนือ), มะเต๊ะ (มาเลย์-ปัตตานี), ลอกอ (ภาคใต้), บักหุ่ง (นครพนม-เลย) ชื่อสามัญ : Papaya, Melan Tree, Paw Paw ชื่อวิทยาศาสตร์ : Carica papaya L. ชื่อวงศ์ : CARICACEAE หมวดหมู่ทรัพยากร : พืช
  • 9. ลักษณะ : มะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ ใบมีลักษณะเป็น ใบเดี่ยว 5 – 9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลาต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอ บางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ายางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสี ดาเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้ ประโยชน์ : นอกจากการนามะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนาไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตา แกงส้ม ฯลฯ หรือนาไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พาเพน (Papain) ซึ่งสามารถนาเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสาเร็จรูป บางครั้งนาไปทาเป็นยาช่วยย่อยสาหรับ ผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้ มะละกอสามารถนามาแปรรูปได้ เช่น มะละกอแช่อิ่ม มะละกอแผ่น แยมมะละกอ มะละกอเชื่อม มะละกอ แช่อิ่ม มะละกอสามรส มะละกอดอง มะละกอผง ใช้นามารับประทานเป็นผลไม้หรือของว่าง มะละกอช่วย บารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส ช่วยเสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงยิ่งขึ้น แหล่งที่พบ : ชุมชนสมถวิล ตาบล : บางซื่อ อาเภอ : บางซื่อ จังหวัด : กรุงเทพมหานคร ฤดูกาลใช้ประโยชน์ : ช่วงกลางหรือปลายเดือนมกราคม อ้างอิง : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0
  • 10. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ สุนัข สุนัข ชื่อที่เรียก : สุนัข ชื่อวิทยาศาสตร์ : Balanophora abbreviata ชื่อวงศ์ : BALANOPHORACEAE หมวดหมู่ทรัพยากร : สัตว์ ลักษณะ : สุนัขเป็นสัตว์ที่มีหลายสายพันธุ์ ซึ่งแต่ละสายพันธุ์ก็จะมีลักษณะทั่วไปและลักษณะเฉพาะที่ ต่างกันออกไป แต่ลักษณะโดยรวมของสุนัขทั่ว ๆ ไปแล้ว สุนัขเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ออกลูกเป็นตัว มี ขนสั้นหรือยาวแตกต่างไปตามสายพันธุ์ บางตัวอาจมีขนสีดา สีขาว สีน้าตาล สีส้ม หรือบางตัวอาจมีหลายสี ปะปนกัน ขนาดของหูจะสั้นหรือยาวก็แตกต่างไปตามสายพันธุ์เช่นกัน ประโยชน์ : สุนัขได้รับการผสมพันธุ์เพื่อวัตถุประสงค์หลากหลายซึ่งมิใช่เพื่อเลี้ยงไว้ดูเล่นเท่านั้น การที่ สุนัขมีประสาทสัมผัสทางหูและทางจมูกที่ไวมากทาให้พวกมันมีคุณค่าในด้านใช้ล่าสัตว์ ใช้เป็นสุนัขตารวจ ใช้เป็นสุนัขสงคราม ใช้สะกดรอยตามหาคนหรือสิ่งของ ใช้ให้เฝ้าเวรยาม ใช้ให้รักษาความปลอดภัย และใช้ ให้ค้นหายาเสพติด เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วเราก็ยังใช้สุนัขให้ทาหน้าที่นาทางคนตาบอดและนาทางคน พิการ ใช้เป็นสุนัขลากเลื่อนในดินแดนที่มีหิมะตกมากทางขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ และใช้เป็นสุนัขวิ่ง แข่งกันและเป็นสุนัขกัดกัน เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วในทางการแพทย์ท่านผู้รู้ยังแจกแจงด้วยว่า การเลี้ยง สุนัขนี้ยังเป็นหนึงในโครงการที่นามากใช้เพื่อช่วยบาบัดโรคจิตประสาทให้แก่ผู้ป่วยโรคจิตได้ผลชะงัดอีก ด้วยสุนัขเป็นสัตว์ที่มีหลายพันธุ์ เช่น ลาบราดอร์, โกลเด้น, ชิวาวา และอีกมากมาย มีทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ดุและไม่ดุ ลักษณะการเดิน : ของสุนัขจะทิ้งน้าหนักตัวบนนิ้วเท้า ซึ่งส่งผลให้สุนัขเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วกว่าสัตว์ ชนิดอื่น ฤดูกาลใช้ประโยชน์ : ทุกฤดู อ้างอิง : http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=8299
  • 11. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ ต้นกล้วย ต้นกล้วย ชื่อที่เรียก : กล้วย ชื่ออื่นๆ : กล้วยน้าว้า,กล้วยตีบ,กล้วยไข่,กล้วยหอม,กล้วยป่า,กล้วยครก ชื่อสามัญ : Bananas ชื่อวิทยาศาสตร์: Musa sapientum Linn., paradisaca Linn. ชื่อวงศ์: MUSACEAE หมวดหมู่ทรัพยากร : พืช ลักษณะ: เป็นไม้ล้มลุก ใบเป็นแผ่นยาวเส้นใบขนานกัน ดอกเป็นช่อดเรียกหัวปลี ผลเป็นหวีติดตอกันเป็น เครือ ต้นหนึ่งๆจะออกผลครั้งเดียวแล้วตายไป ปลูกได้ทั่วไปในประเทศเขตร้อน ขยายพันธุ์โดยแยกหน่อ กล้วยป่าบางชนิดไม่มีหน่อต้องใช้เมล็ดกล้วยป่าส่วนใหญ่มีเมล็ดมาก ประโยชน์ : เป็นผลไม้ที่เหมาะสาหรับผู้ที่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหาร และท้องเสียบ่อย เพราะสามารถ ช่วยลดแก๊สในกระเพาะอาหารได้ กล้วยเมื่อยังดิบจะมีแป้งมาก แต่เมื่อสุก แป้งจะเปลี่ยนเป็นน้าตาล ดังนั้น หากท้องเดิน การกินกล้วยดิบจะช่วยทาให้อาการท้องเดินหยุดได้ และเมื่อเป็นโรคกระเพาะ ให้กินกล้วยที่ สุกแล้ว สาหรับกล้วยที่ทาให้สุกด้วยความร้อน วิตามิการแปรรูปกล้วยสามารถทาได้หลายแบบ เช่น การทา กล้วยอบเนย กล้วยฉาบ หรือ "กล้วยกรอบแก้ว", กล้วยตาก,กล้วยกวน,ข้าวเกรียบกล้วย,ทอฟฟี่กล้วย กล้วย สามารถใช้ประโยชน์ในพิธีกรรมต่างๆ เช่น พิธีทางศาสนา,พิธีตั้งขันข้าว,พิธีทาขวัญเด็ก ฤดูกาลใช้ประโยชน์ : ฤดูฝน ศักยภาพการใช้งาน : ผลไม้กินได้ อ้างอิง http://xn--o3cdbaevbumi7e7euch5pc3gc.blogspot.com/2012/03/blog-post_7274.html
  • 12. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ ดอกกุหลาบพุกาม ดอกกุหลาบพุกาม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pereskia bleo (Kunth) DC. วงศ์ : Cactaceae ชื่อสามัญ : Wax Rose ชื่ออื่น : - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 เมตร ลาต้น โคนต้นมีเนื้อไม้ กิ่งก้านอวบน้า และมีหนามยาว สีน้าตาลแดง แข็ง ออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ใบ ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปรี รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเป็นคลื่น ก้านใบยาว ดอก มีสีแดงอมส้ม ออกเดี่ยวหรือเป็นกลุ่ม 2 – 3 ดอก เป็นช่อสั้นที่ปลายกิ่ง ดอกทยอยบาน ปลายก้านเชื่อมติดกันติดกับฐานรองดอกมีใบประดับเล็กๆ 2 – 5 กลีบ รูปร่างไม่แน่นอน มีทั้งสามเหลี่ยมไปจนถึงปลายเรียวแหลม กลีบเลี้ยง 2 – 3 กลีบ รูปไข่ กลีบ ดอกรูปไข่กลับ 10 – 15 กลีบ เรียงซ้อนกันหลายชั้น ปลายกลีบเว้าตื้นหรือมีติ่งแหลม กลีบชั้นนอกใหญ่กว่า ชั้นใน เกสรเพศผู้จานวนมาก ออกดอกตลอดปี ผล รูปกรวยแหลม ด้านบนแบน เมื่อสุกสีเหลือง เมล็ดขนาด เล็กจานวนมาก ฤดูที่ดอกบาน: ตลอดปี ฤดูกาลที่ใช้ประโยชน์ได้: ทุกฤดู อัตราการเจริญเติบโต: เร็ว ลักษณะนิสัย: ดินร่วน ระบายน้าได้ดี ความชื้น: ปานกลาง จนถึงต่า แสง: แดดเต็มวัน จนถึงปานกลาง ชอบแสงแดดจัดๆ นิเวศวิทยา: มีถิ่นกาเนิดในอเมริกากลาง แถบประเทศโคลัมเบีย เขตร้อนของอเมริกา ปานามา และนิคารากัว ปลูกได้ทั่วไปในเขตร้อน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป ขยายพันธุ์: ด้วยการปักชากิ่ง หรือการตอนกิ่ง อ้างอิง : http://www.rspg.or.th/articles/df/df5.htm
  • 13. ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ ต้นทับทิม ทับทิม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Punica granatum L. ชื่อสามัญ : Pomegranate , Punica apple วงศ์ : Punicaceae ชื่ออื่น : พิลา (หนองคาย) พิลาขาว มะก่องแก้ว (น่าน) มะเก๊าะ (เหนือ) หมากจัง (แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ยืนต้น หรือพรรณไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลักษณะผิวเปลือกลาต้นเป็นสีเทา ส่วนที่ เป็นกิ่งหรือยอดอ่อนจะเป็นเหลี่ยม หรือ มีหนามแหลมยาวขึ้น ใบ ใบมีลักษณะเป็นรูปยาวรี โคนใบมน แคบ ส่วนปลายใบเรียวแหลมสั้น ผิวหลังใบ เกลี้ยงเป็นมัน ใต้ท้องใบจะเห็นเส้นใบได้ชัด ขนาดของใบกว้าง ประมาณ 1 – 1.8 ซม. ยาว ประมาณ 2.5 – 6 ซม. ดอก ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็น ดอกเดียว ในบริเวณ ปลายยอด หรือง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สีส้ม สีขาว หรือสีแดง ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ ปลายกลีบ ดอกจะแยกออกจากกัน ตรงกลางดอกมีเกสร ตัวเมีย และตัวผู้ซึ่งมีอับเรณูเป็นสีเหลือง ขนาดของ ดอกบานเต็มที่มีเส้นผ้าศูนย์กลางประมาณ 2 - 3 ซม. ผลมีลักษณะเป็นรูปค่อนข้าง กลม ผิวเปลือกนอกหนา เกลี้ยง ผลเมื่อแก่หรือ สุกเต็มที่มีสีเหลืองปนแดง และลักษณะของผล จะแตก หรืออ้างออก ข้างในผลก็จะมี เมล็ดเป็น จานวนมาก เป็นรูปเหลี่ยม มีสีชมพูสด ดอก ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็น ดอกเดียว ในบริเวณ ปลายยอด หรือง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สีส้ม สีขาว หรือสีแดง ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ ปลายกลีบ ดอกจะแยกออกจากกัน ตรงกลางดอกมีเกสร ตัวเมีย และตัวผู้ซึ่งมีอับเรณูเป็นสีเหลือง ขนาดของ ดอกบานเต็มที่มีเส้นผ้าศูนย์กลางประมาณ 2 - 3 ซม. ผลมีลักษณะเป็นรูปค่อนข้าง กลม ผิวเปลือกนอกหนา เกลี้ยง ผลเมื่อแก่หรือ สุกเต็มที่มีสีเหลืองปนแดง และลักษณะของผล จะแตก หรืออ้างออก ข้างในผลก็จะมี เมล็ดเป็น จานวนมาก เป็นรูปเหลี่ยม มีสีชมพูสด สารเคมี : เปลือกผลมีรสฝาด เนื่องจากมี tannin 22 – 25 % gallotannic acid สารสีเขียวอมเหลือง รากมี สารอัลคาลอยด์ ชื่อ pelletierine และอนุพันธ์ของ pelletierine ประโยชน์ : ผลทับทิมใช้รับประทานเป็นผลไม้มีรสหวานหรือเปรี้ยวอมหวานทับทิมเป็นผลไม้ที่มี ประโยชน์ต่อสุขภาพ น้าทับทิมมีวิตามินซีสูงและยังมีสารเกลือแร่ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณที่สูง เหมาะสาหรับการดื่มเพื่อเพิ่มความสดชื่นให้กับร่างกาย น้าทับทิมมีสารต้านอนุมูลอิสระหลายชนิดและมีประสิทธิภาพสูงมากสามารถลดภาวะการแข็งตัว ของเลือดจากไขมันในเลือดสูง บรรเทาโรคโรคหัวใจและความดันโลหิตสูง ช่วยเพิ่มพลังและความงาม ดื่ม
  • 14. น้าทับทิมคั้นวันละแก้วจะช่วยส่งเสริมการทางานของหลอดเลือด ลดการแข็งตัวของหลอดเลือดแดงและ ช่วยเสริมสุขภาพของหัวใจให้ดีขึ้นเปลือกทับทิมรักษาโรคท้องเดินและโรคบิด อ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%A1_(%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89) 6. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 1. กล้องถ่ายรูป 2. กระดาษ ปากกา (biomap) 3. คอมพิวเตอร์ 4. สมุดจดบันทึก 5. เครื่องเขียน 6. เว็บไซต์ www.Biogang.net - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า 1. คุณครู วิชัยแนะนาเรื่องการสมัครเว็บ Biogang และการร่วมกิจกรรมของ Biogang 2. แบ่งกลุ่มและเลือกชุมชนสมถวิลในการสารวจ 1. 3.ประชุมมกันในกลุ่มการเขียนแผนที่ในชุมชนสมถวิล 3. สารวจและถ่ายรูปทางที่เราวางแผนไว้ 4. ศึกษาข้อมูลลักษณะทางชีวภาพที่เราสารวจจากแหล่งต่างๆ 5. รวบรวมข้อมูลที่เราสารวจมาโพสลงในเว็บ Biogang 6. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาสรุปเป็นโครงงาน 7. นาข้อมูลมาเรียบเรียงจัดทาเป็น E-book 8. จัดทารูปเล่มนาเสนอครูที่ปรึกษา
  • 15. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนการทาโครงงาน ระยะเวลา หมายเหตุ 1. คุณครู วิชัยแนะนาเรื่องการสมัครเว็บ Biogang 7 ก.ค. 2557 2. แบ่งกลุ่มและเลือกชุมชนสมถวิลในการสารวจ 11 ก.ค. 2557 3. ประชุมมกันในกลุ่มการเขียนแผนที่ในชุมชนสมถวิล 12 ก.ค. 2557 4. สารวจและถ่ายรูปทางที่เราวางแผนไว้ 18 ก.ค. 2557 5. ศึกษาข้อมูลลักษณะทางชีวภาพที่เราสารวจจาก แหล่งต่างๆ 19 ก.ค. 2557 6. รวบรวมข้อมูลที่เราสารวจมาโพสลงในเว็บ Biogang 24 ก.ค. 2557 7. รวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาสรุปเป็นโครงงาน 24 ก.ค. 2557 8. จัดทารูปเล่มนาเสนอครูที่ปรึกษา 25 ก.ค. 2557 7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=3675 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2#.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4 http://jitlada-043.blogspot.com/2008/08/blog-post.html http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view2.aspx?id=9769 http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_3.htm http://www.luangporpakdang.net/2013/09/blog-post_24.html http://agkc.lib.ku.ac.th/plantwebsite/webpage/Shrubs/%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0% B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A1.html http://www.datepalmthai.com/bthkhwam/Entries/2010/11/10_tn_trakul_ki.html ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
  • 16. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net โครงงานชีววิทยา การสารวจความหลากหลายทางชีวภาพชุมชนสมถวิล รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา กลุ่ม Timber 1. น.ส. พรกนก บุญวิบูลย์ เลขที่ 27 2. น.ส. ภัสสร สวนพลูน้อย เลขที่ 28 3. น.ส. รัชชนันท์ ป้อมสุวรรณ เลขที่ 30 4. น.ส. ศศิกานต์ อ่อนน้อมดี เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 1 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 17. 1. ชื่อ นางสาวพรกนก นามสกุล บุญวิบูลย์ เลขที่ 27 ชั้น ม.6/1
  • 20. 2. ชื่อ นางสาวภัสสร นามสกุล สวนพลูน้อย เลขที่ 28 ชั้น ม.6/1
  • 24. 3. ชื่อ นางสาวรัชชนันท์ นามสกุล ป้อมสุวรรณ เลขที่ 30 ชั้น ม.6/1
  • 28. 4. ชื่อ นางสาวศศิกานต์ นามสกุล อ่อนน้อมดี เลขที่ 31 ชั้น ม.6/1