SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง
เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวที่มีอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
(Comparison of straw paper’s ability using different ratios of mashed cockle shells.)
ผู้จัดทา
นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 651 เลขที่ 29
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
นางทิพย์อาภา ศรีวรางกูล
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ
ผศ.ดร. สีหนาท ประสงค์สุข
ดร. วิชาณี แบนคีรี
อาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ
โดยเฉลี่ยแล้ว ในแต่ละปีคนไทยทิ้งขยะกระดาษสูงถึง 3.9 ล้านตันหรือหนักเท่ากับ
กระดาษ A4 ทั้งหมด 780,000 ล้านแผ่น (โครงการกระดาษเพื่อต้นไม้, 2557) จานวนขยะ
กระดาษที่เหลือจากการอุปโภคและบริโภคมากมายเช่นนี้เป็นเพราะกระดาษเป็นสิ่งที่มี
ความผูกพันกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน ทั้งสูติบัตร
บัตรประชาชน มรณะบัตร ทะเบียนสมรส โฉนดที่ดิน หรือแม้กระทั่งธนบัตรที่ใช้เป็น
สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการก็ล้วนแต่เป็นกระดาษทั้งสิ้น โดยใน
กระบวนการผลิตกระดาษนั้นจะมีการเติมสารเคมีชนิดต่าง ๆ ลงไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ
ของกระดาษให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งอาจทาให้มีสารเคมีตกค้างในสิ่งแวดล้อม เช่น อัลคิลทีนไดเมอร์
พอลิอะคริลเอไมด์ และไทเทียมไดออกไซด์ เป็นต้น (กระดาษดับเบิ้ลเอ, 2555) อีกทั้ง
จานวนขยะกระดาษยังมีปริมาณสูง จึงส่งผลเสียต่อธรรมชาติมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้กระบวนการผลิตกระดาษยังส่งผลเสียต่อทรัพยากรป่าไม้เนื่องจากกระดาษผลิต
จากเนื้อเยื่อของต้นไม้
รูปที่ 1.1 แสดงปัญหาที่เกิดจากการอุปโภคกระดาษของมนุษย์
ที่มา : https://www.google.com/search
ที่มาและความสาคัญ
ปัจจุบันมีแนวทางมากมายที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทั้งการ
ใช้เส้นใยชนิดอื่น ๆ ทดแทน เช่น เส้นใยจากฟางข้าว เส้นใยจากกาบกล้วย
หรือแม้กระทั่งเส้นใยจากผักตบชวา เป็นต้น และการใช้สารชนิดอื่นมาแทน
สารเคมีตัวเติมในกระบวนการผลิตกระดาษ เช่น การใช้แป้งมันสาปะหลังเป็น
สารเพิ่มความเหนียวแทนการใช้พอลิอะคริลเอไมด์ เป็นต้น ซึ่งจากการศึกษา
สมบัติของผงเปลือกหอยแครงพบว่ามี CaCO3 เช่นเดียวกับสารเคมีที่ต้องใช้
ในอุตสาหกรรมกระดาษ หากนามาใช้ทดแทนพบว่าจะเป็นแนวทางที่ดีในการ
อนุรักษ์ไว้ซึ่งธรรมชาติ เพราะแต่เดิม นอกจากการที่แคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้
จะได้มาจากการทาลายสิ่งแวดล้อม คือ การระเบิดภูเขา แล้วยังจะต้องผ่าน
การเติมแต่งสังเคราะห์ซึ่งจะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศอีกด้วย
รูปที่ 1.2 แสดงลักษณะกระดาษจากฟางข้าว
ที่มา : https://www.google.com/search
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
2. เพื่อศึกษาคุณสมบัติของผง
เปลือกหอยแครงต่อคุณภาพของ
กระดาษจากฟางข้าว
1. เพื่อศึกษา
กระบวนการทากระดาษ
จากฟางข้าว
3. เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติ
ของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อ
ใช้ปริมาณผงเปลือก
หอยแครงในอัตราส่วนที่
ต่างกัน
คาถามการทาโครงงาน
อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน มีผลต่อคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวหรือไม่
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าปริมาณผงเปลือกหอยแครงมีผลต่อคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวแล้ว อัตราส่วนของผงเปลือก
หอยแครงที่แตกต่างกันโดยมวลส่งผลให้กระดาษจากฟางข้าวมีคุณสมบัติอันได้แก่ ความขาวสว่าง
ความทึบแสง และความแข็งแรงที่แตกต่างกัน
ขอบเขตของโครงงาน
1. ศึกษาเฉพาะกระดาษที่ทาจากฟางข้าวประเภทข้าวเจ้า สายพันธุ์หอมมะลิ 105
2. ใช้กรรมวิธีการผลิตที่จาเพาะเพียงวิธีเดียว คือ นาฟางข้าวเจ้ามาต้มกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
20% โดยมวล และฟอกขาวด้วยสารละลายที่มีโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 M ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1% โดย
มวลต่อปริมาตร ก่อนนาไปขึ้นรูปเป็นกระดาษวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร
3. ใช้เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพกระดาษของค่าความขาวสว่าง ความทึบแสง และความแข็งแรง ตาม
มาตรฐาน ISO 2470, ISO 2471 และ ISO 1924/1 ตามลาดับ
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ปริมาณของผงเปลือกหอยแครงที่ใช้เป็นอัตราส่วนผสมในเนื้อกระดาษจากฟางข้าว
ตัวแปรตาม คือ คุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าว ได้แก่ ความขาวสว่าง, ความทึบแสง และความแข็งแรง
ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดของเปลือกหอย, ชนิดของฟางข้าว, ความชื้น, อุณหภูมิ, มวลของกระดาษ และ
ปริมาณสารละลายในการต้มเยื่อและฟอกขาว
นิยามเชิงปฏิบัติการ
1. กระดาษจากฟางข้าว หมายถึง กระดาษที่ได้จากการนาฟางข้าวเจ้ามาต้มกับ
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ และฟอกขาวด้วยสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ก่อนนาไปขึ้นรูปเป็นกระดาษวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร
2. นายาต้มเยื่อ หมายถึง สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ซึ่งเตรียมได้
โดยการผสมโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นจานวน 20% โดยมวลเทียบมวลแห้งของ
ตัวอย่าง กับน้าปริมาตร 15 เท่าเทียบมวลแห้งของตัวอย่าง
3. นายาฟอกเยื่อ หมายถึงสารละลายที่มีโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 M และ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1% โดยมวลต่อปริมาตรเทียบปริมาตรน้าหน่วยเป็นลิตร ซึ่ง
มีปริมาตรเป็น 4 เท่าของมวลตัวอย่างในหน่วยกิโลกรัม
ที่มาและความสาคัญ
ดังนั้นผู้ทาโครงงานจึงสนใจที่จะศึกษาการใช้ผงเปลือกหอยแครงเป็น
สารตัวเติมในการผลิตกระดาษที่ผลิตจากเส้นใยฟางข้าวซึ่งเป็นวัสดุ
เหลือทิ้งทางการเกษตร โดยจะศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนผสมผง
เปลือกหอยแครงที่ 10% 20% และ 30% ต่อคุณสมบัติของกระดาษ
จากฟางข้าวใน 3 ด้าน คือ ความขาวสว่าง ความทึบแสง และความ
แข็งแรง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มมูลค่าของฟางข้าวอันเป็นวัสดุเหลือทิ้งทาง
การเกษตรและเปลือกหอยแครงที่เหลือจากการอุปโภคและบริโภค เป็น
การเพิ่มทางเลือกในการพัฒนากระดาษจากฟางข้าวเพื่อใช้ทดแทน
กระดาษปกติ อีกทั้งยังเป็นการลดปัญหาขยะจากฟางข้าวและเปลือก
หอยแครงคงเหลือในสิ่งแวดล้อม
นิยามเชิงปฏิบัติการ
4. คุณสมบัติของกระดาษ หมายถึง สมบัติในด้านความขาวสว่าง (Brightness) วัด
โดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง ณ การสะท้อนแสงที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผล
เป็นค่าร้อยละ ความทึบแสง (Opacity) วัดโดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง วัดปริมาณ
แสงที่ผ่านตัวอย่าง ที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ และ ความแข็งแรง
ของกระดาษ (Strength) วัดโดยการใช้เครื่องชั่งสปริงแบบตะขอเกี่ยววัดปริมาณแรง
สูงสุดที่กระดาษรับได้ขณะเริ่มฉีกขาด หน่วยเป็นกิโลนิวตันต่อความกว้างเป็นเมตร
5. ความแข็งแรงของกระดาษ คือ ความต้านแรงดึง (Tensile strength) เป็น
ความสามารถของกระดาษที่จะต้านแรงดึง ซึ่งกระทาที่ปลายข้างใดข้างหนึ่งของชิ้น
ทดสอบที่มีความกว้างคงที่จนชิ้นทดสอบนั้นขาด วัดโดยการใช้เครื่องชั่งสปริงแบบตะขอ
เกี่ยววัดปริมาณแรงสูงสุดที่กระดาษรับได้ขณะเริ่มฉีกขาด มีหน่วยเป็นกิโลนิวตันต่อ
ความกว้างเป็นเมตร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพิ่มมูลค่าของฟางข้าวซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งทาง
การเกษตรและเปลือกหอยแครงที่เหลือจากการบริโภค
2. เพิ่มทางเลือกในการพัฒนากระดาษจากฟางข้าวเพื่อใช้
ทดแทนกระดาษทั่วไป
3. ลดปัญหาขยะจากฟางข้าวและเปลือกหอยแครง
คงเหลือในสิ่งแวดล้อม รูปที่ 1.3 แสดงสัญลักษณ์การรีไซเคิล
ที่มา : https://www.google.com/search
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 หอยแครง
หอยแครง หรือ Tegillarca granosa เป็นหอยสองฝาจาพวกกาบคู่ เปลือกหนาและมี
ส่วนประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนตสูง ด้านนอกของเปลือกเป็นเส้นโค้งด้านละ 20 สัน
ด้านบนของสันจะสูงแล้วลาดลงไปถึงฝาปิดเปิด โดยปกติเปลือกมีสีน้าตาลอมดา แต่ถ้าอยู่ที่น้าตื้น
และน้าแห้งฝาด้านบนจะมีสีขาว ภายในลาตัวมีของเหลวสีแดงจากฮีโมโกลบิน ขนาดตัวเต็มวัยมี
ความยาวประมาณ 5 – 6 เซนติเมตร และมีความกว้างประมาณ 4 – 5 เซนติเมตร จัดเป็นสัตว์ที่
มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ จึงทาให้มีปริมาณเปลือกหอยแครงคงเหลือเป็นจานวนมาก
รูปที่ 2.1 แสดงลักษณะหอยแครง
ที่มา : https://food.mthai.com/food-recipe/102894.html
2.2 ต้นข้าวและฟางข้าว
ต้นข้าว เป็นพืชในวงศ์ Poceae ที่พบมากในแถบเอเชีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า
Oryza sativa มีลักษณะคล้ายกับต้นหญ้า มีความสูงประมาณ 100 – 120 เซนติเมตร จัดเป็นพืช
เส้นใยชนิดสั้น เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีแต่รากฝอย ใบมีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ เส้นใบเรียงตัวเป็น
เส้น เป็นพืชที่ความสาคัญทางเศรษฐกิจ ส่วนที่เหลือจากต้นข้าวที่ผ่านการเก็บเกี่ยวนาเมล็ดข้าว
ออกแล้วคือ ฟางข้าว ซึ่งจะมีจานวนมาก ปัจจุบันได้มีการนาไปใช้ประโยชน์มากมาย ทั้งในด้านของ
การเกษตร และในด้านอุตสาหกรรม เช่น การนาไปอัดแท่งทาเชื้อเพลิงให้ความร้อน การหัตถกรรม
สานทอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการนาไปใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ ใช้ฟางข้าวเป็นวัตถุดิบชนิด
เส้นใยขนาดสั้นผลิตเป็นกระดาษจากฟางข้าว
รูปที่ 2.2 แสดงลักษณะฟางข้าว
ที่มา : https://www.thaigreenagro.com/ประโยชน์ของตอซังฟางข้า/
2.3 การใช้แคลเซียมคาร์บอเนตในอุตสาหกรรมกระดาษ
การใช้แคลเซียมคาร์บอเนตในอุตสาหกรรมกระดาษ มักใช้ที่อัตราส่วน 18%-20% โดยมวลของน้าหนัก
เนื้อเยื่อกระดาษทั้งหมด นิยมใช้เป็นสารตัวเติมเพื่อปรับปรุงคุณภาพเนื้อเยื่อกระดาษ ทาให้ผิวเนื้อเยื่อสม่าเสมอ
และมีส่วนผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ช่วยเติมเต็มช่องว่างของเนื้อเยื่อ เพิ่มความทึบแสงและความขาวสว่างของ
กระดาษ แต่ในขณะเดียวกันพบว่าเมื่อใช้ในอัตราส่วนปริมาณที่มากเกินไปจะส่งผลให้กระดาษมีความแข็งแรง
ลดลงได้ โดยทั่วไปในการใช้มักนาไปผสมกับอนุภาคอื่น ๆ ได้แก่ แร่ไททาเนียมไดออกไซด์ แร่ดินขาว อนุภาค
พลาสติก เป็นต้น
รูปที่ 2.3 แสดงตารางส่วนประกอบของกระดาษ 1 แผ่น
ที่มา : https://www.google.co.th/search
2.4 กระบวนการผลิตกระดาษ
1) การผลิตเยื่อ คือ การแยกเส้นใยออกมาจากองค์ประกอบของไม้หรือใบ ทาได้โดยการต้มเยื่อใน
สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 20% โดยมวลเทียบมวลแห้งตัวอย่าง ในน้าปริมาตร 20
เท่าของมวลตัวอย่าง เป็นเวลา 1 ชั่วโมง และฟอกขาวด้วยสารละลายที่มีโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 M
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1% โดยมวลต่อปริมาตร เป็นเวลา 1 ชั่วโมงเช่นเดียวกัน ผลผลิตที่ได้จะเป็น
เนื้อเยื่อที่ค่อนข้างนุ่ม สีออกนวล และได้เส้นใยที่สมบูรณ์
รูปที่ 2.4 แสดงลักษณะกระดาษที่ได้จากกระบวนการผลิตกระดาษเชิงหัตถกรรม
ที่มา : https://www.google.co.th/search
2.4 กระบวนการผลิตกระดาษ
2) การเตรียมนาเยื่อ คือการกระจายเยื่อให้เป็นอิสระจากกันในน้า ในขั้นตอนนี้จะมีการเติม
สารตัวเติมลงไปในอัตราส่วนที่ต้องการเพื่อพัฒนาศักยภาพของเส้นใย ซึ่งจะส่งผลต่อคุณสมบัติ
ของกระดาษ ส่วนผสมที่ได้นี้เรียกว่า น้าเยื่อ หรือ สต็อก
3) การทาแผ่นกระดาษ คือการแยกน้าออกจากน้าเยื่อ กดน้าออก รีดให้เรียบสม่าเสมอและ
นาไปทาให้แห้งด้วยการตากหรืออาจใช้เครื่องอบกระดาษ
รูปที่ 2.5 แสดงลักษณะของน้าเยื่อ
ที่มา : https://www.google.co.th/search
2.5 คุณสมบัติทางกายภาพของกระดาษ
คุณสมบัติทางกายภาพของกระดาษสามารถจาแนกได้ ดังนี้
1) คุณสมบัติเชิงกล หมายถึง คุณสมบัติของกระดาษที่เกี่ยวข้องกับการรับแรงกระทา
หรือความแข็งแรง เช่น การต้านทานแรงดึง การต้านทานแรงฉีกขาด สัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่น
การต้านทานแรงกด เป็นต้น
2) คุณสมบัติเชิงทัศนศาสตร์ หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับแสงและการมองเห็น เช่น
ความขาวสว่าง ความมันวาว การดูดซับและกระจายแสง เป็นต้น
2.5.1 ความขาวสว่าง
ความขาวสว่าง (Brightness) หมายถึง ความสามารถในการสะท้อนแสงของกระดาษ วัด
โดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง ณ การสะท้อนแสงที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผลเป็นค่า
ร้อยละ ซึ่งต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 75 ตามมาตรฐาน ISO 2470
2.5.2 ความทึบแสง
ความทึบแสง (Opacity) วัดโดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง วัดปริมาณแสงที่ผ่าน
ตัวอย่าง ที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ ซึ่งต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 77
ตามมาตรฐาน ISO 2471
2.5.3 ความต้านแรงดึง
ความแข็งแรงของกระดาษ (Strength) หมายถึง ความสามารถของกระดาษที่จะต้าน
แรงดึง ซึ่งกระทาที่ปลายข้างใดข้างหนึ่งของชิ้นทดสอบที่มีความกว้างคงที่จนชิ้นทดสอบ
นั้นขาด วัดโดยการใช้เครื่องชั่งสปริงแบบตะขอเกี่ยววัดปริมาณแรงสูงสุดที่กระดาษรับ
ได้ขณะเริ่มฉีกขาด มีหน่วยเป็นกิโลนิวตันต่อความกว้างเป็นเมตร ซึ่งต้องมีค่าไม่น้อยกว่า
1.4 ตามมาตรฐาน ISO 1924/1
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6.1 การพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษฟางข้าวแบบพืนบ้าน
ชัยพร และคณะ (2550) ได้ศึกษาผลของโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ
10, 15 และ 20 ในกระบวนการต้มเยื่อ ก่อนนาไปแยกขนาดเยื่อให้ได้เฉพาะเยื่อที่เหมาะสมในการ
ผลิต แล้วนาไปขึ้นรูปเป็นแผ่นกระดาษ เพื่อทดสอบ คุณสมบัติทางกายภาพและทางกล พบว่าที่
ระดับความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 20 ได้กระดาษฟางข้าวที่มีคุณสมบัติทาง
กายภาพดีที่สุด ได้แก่ ค่าดัชนีความต้านทานแรงดึง 22.63 นิวตัน เมตรต่อกรัม ความยืดร้อยละ
1.24 ความต้านทานการหักพับ 3.26 ครั้ง ค่าดัชนีความต้านทานแรงดันทะลุ 1.18 กิโลปาสคาล
ตารางเมตรต่อกรัม และค่าความขาวสว่างร้อยละ 32.45 ซึ่งพบว่ากระดาษที่ได้มีคุณภาพดีกว่า
วิธีการผลิตกระดาษฟางข้าวพื้นบ้านแบบเดิม
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6.2 สภาวะที่เหมาะสมสาหรับต้มฟางข้าวด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ในการพัฒนากระดาษฟางข้าว
วุฒินันท์ และคณะ (2552) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสาหรับต้มฟางข้าวด้วยสารโซเดียม
ไฮดรอกไซด์ในการพัฒนากระดาษฟางข้าวที่ทาด้วยมือเพื่อการพิมพ์สกรีนและได้สภาวะที่เหมาะสม
สาหรับต้มฟางข้าวด้วยสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 15% ของน้าหนักฟางข้าวแห้งที่อุณหภูมิ
100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 3 ชั่วโมง ได้เยื่อ 44.12% และสภาวะที่เหมาะสมสาหรับฟอกเยื่อฟางข้าว
คือใช้ความเข้มข้นของสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 18% โซเดียมซิลิเกต 2% แมกนีเซียมซัลเฟต 0.05%
และโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1.5% ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2 ชั่วโมงวัดความขาวสว่างของ
เยื่อได้ 70.97% กระดาษที่ได้จะมีคุณสมบัติทางเชิงกลตามวิธีมาตรฐานของ TAPPI ประกอบด้วย
น้าหนักมาตรฐาน 104.12 g/m2 ความขาวสว่าง 70.29% ความต้านการหักพับ 41.44 ครั้ง ความต้าน
แรงดึง 15.80 N.m/g ความเรียบ 14.02 วินาทีความหนา 0.29 มิลลิเมตร ความต้านแรงฉีกขาด 26.58
mN.m2/g ความต้านแรงดันทะลุ 2.18 kPa.m2/g และความต้านการซึมน้า 63.48%
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6.3 DECOMPOSITION STUDY OF CALCIUM CARBONATE IN COCKLE SHELL
Mustakimah et al. (2557) ได้ทาการศึกษาปริมาณของแคลเซียมภายในเปลือก
แครง โดยการวัดปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์ที่แตกตัวจากแคลเซียม
คาร์บอเนตในกระบวนการ Thermogravimetric Analysis (TGA) ที่อัตราการให้ความร้อน
20 องศาเซลเซียสต่อนาที และวิเคราะห์สสารทางเคมีด้วยวิธี x-ray fluorescence พบว่า
เปลือกหอยแครงนั้นประกอบด้วยแคลเซียมสูงถึง 97% ซึ่งผลึกแคลเซียมคาร์บอเนตที่พบเป็น
ผลึกแบบอราโกไนต์ (Aragonite) เป็นส่วนใหญ่
บทที่ 3 การดาเนินการโครงงาน
3.1 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
3.1.1 วัสดุ
1) เปลือกหอยแครง ปริมาณ 2 กิโลกรัม 2) ฟางข้าวเจ้า ปริมาณ 1 กิโลกรัม
รูปที่ 3.1.1 แสดงลักษณะเปลือกหอยแครง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.2 แสดงลักษณะฟางข้าวเจ้า
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.2 อุปกรณ์
1) อุปกรณ์อบอากาศร้อน จานวน 1 ชุด 3) ตะแกรงร่อนขนาด 80 mesh จานวน 1 แผ่น
2) ครกสาหรับบดเปลือกหอย จานวน 1 ชุด 4) เครื่องชั่งกิโลกรัม จานวน 1 เครื่อง
รูปที่ 3.1.3 แสดงลักษณะอุปกรณ์อบอากาศร้อน
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.5 แสดงลักษณะตะแกรงร่อนขนาด 80 mesh
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.4 แสดงลักษณะครกส้าหรับบดเปลือกหอย
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.6 แสดงลักษณะเครื่องชั่งกิโลกรัม
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.2 อุปกรณ์
5) เครื่องตีนาเยื่อ จานวน 1 เครื่อง 7) บีกเกอร์พลาสติกขนาด 100 มล. จานวน 2 ใบ
6) เครื่องชั่งไฟฟ้า จานวน 1 เครื่อง 8) สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง
รูปที่ 3.1.7 แสดงลักษณะเครื่องตีน้าเยื่อ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.9 แสดงลักษณะบีกเกอร์พลาสติก
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.8 แสดงลักษณะเครื่องชั่งไฟฟ้า
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.10 แสดงลักษณะสเปกโทรโฟโตมิเตอร์
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.2 อุปกรณ์
9) กระบอกตวง จานวน 1 ชุด 11) ช้อนตักสาร จานวน 2 อัน
10) ถุงมือกันความร้อน จานวน 1 คู่ 12) เครื่องวัดความชืน จานวน 1 เครื่อง
รูปที่ 3.1.11 แสดงลักษณะกระบอกตวง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.13 แสดงลักษณะช้อนตักสาร
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.12 แสดงลักษณะถุงมือกันความร้อน
ที่มา : https://www.google.co.th/search
รูปที่ 3.1.14 แสดงลักษณะเครื่องวัดความชืน
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.2 อุปกรณ์
13) หม้อต้มเยื่อขนาด 30 ลิตร จานวน 1 ใบ 15) ตะแกรงล้าง จานวน 1 ชิน
14) เครื่องขึนรูปกระดาษ จานวน 1 เครื่อง 16) หลอดไฟ จานวน 2 ดวง
รูปที่ 3.1.15 แสดงลักษณะหม้อต้มเยื่อขนาด 30 ลิตร
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.17 แสดงลักษณะตะแกรงล้าง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.16 แสดงลักษณะเครื่องขึนรูปกระดาษ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.18 แสดงลักษณะหลอดไฟ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.2 อุปกรณ์
17) ผ้าขาวบาง จานวน 2 แผ่น 19) เตาแม่เหล็กไฟฟ้า จานวน 1 เครื่อง
18) ไม้พาย จานวน 1 ไม้พาย 20) กรรไกร จานวน 1 อัน
รูปที่ 3.1.19 แสดงลักษณะผ้าขาวบาง
ที่มา : https://www.google.co.th/search
รูปที่ 3.1.21 แสดงลักษณะเตาแม่เหล็กไฟฟ้า
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.20 แสดงลักษณะไม้พาย
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.22 แสดงลักษณะกรรไกร
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.2 อุปกรณ์
21) ถุงพลาสติก จานวน 10 ใบ
22) ทัพพี จานวน 1 อัน
รูปที่ 3.1.23 แสดงลักษณะถุงพลาสติก
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.24 แสดงลักษณะทัพพี
ที่มา : https://www.google.co.th/search
26) เครื่องวัดความต้านแรงดึง
จานวน 1 เครื่อง
รูปที่ 3.1.28 แสดงลักษณะเครื่องวัดความต้านแรงดึง
ที่มา : https://www.google.co.th/search
25) เครื่องกวนสารแบบแท่งแม่เหล็ก
จานวน 1 เครื่อง
รูปที่ 3.1.27 แสดงลักษณะเครื่องกวนสารแบบแท่งแม่เหล็ก
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
23) กะละมัง จานวน 1 ใบ
24) ภาชนะสแตนเลส จานวน 3 ใบ
รูปที่ 3.1.25 แสดงลักษณะกะละมัง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.26 แสดงลักษณะภาชนะสแตนเลส
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.1.3 สารเคมี
1) โซเดียมไฮดรอกไซด์ ปริมาณ 200 กรัม
2) สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ความเข้มข้น 30% m/v
ปริมาตร 266.67 มิลลิลิตร
3) นากลั่น ปริมาตร 15 ลิตร
รูปที่ 3.1.31 แสดงลักษณะน้ากลั่น
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.1.29 แสดงโซเดียมไฮดรอกไซด์
ที่มา : https://www.google.co.th/search
รูปที่ 3.1.30 แสดงลักษณะไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3.2 ขันตอนการทาโครงงาน
1) ล้างตัวอย่างเปลือกหอยแครงด้วยนาสะอาด 2) นาไปตากแดดให้แห้ง
ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย
รูปที่ 3.2.1 แสดงการล้างตัวอย่างเปลือกหอยแครงด้วยน้าสะอาด
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.2 แสดงการตากแดดให้แห้ง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3) อบในอุปกรณ์อบอากาศร้อนเป็นเวลา 12 ชั่วโมง 4) ทุบให้แตกเป็นชินเล็ก
ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย
รูปที่ 3.2.3 แสดงการอบเปลือกหอยในอุปกรณ์อบอากาศร้อน
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.4 แสดงการทุบเปลือกหอยอย่างหยาบ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
5) บดเปลือกหอยให้ละเอียดด้วยครกบดสาร 6) ร่อนด้วยตะแกรงร่อนที่มีขนาด 80 mesh
ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย
รูปที่ 3.2.5.1 แสดงการบดเปลือกหอยแครง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.5.2 แสดงลักษณะเปลือกหอยแครงที่บดแล้ว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.6 แสดงการร่อนผงเปลือกหอยด้วยตะแกรงร่อน
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
7) เก็บใส่ภาชนะแห้งสนิท
ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย
รูปที่ 3.2.7 แสดงการเก็บผงเปลือกหอยแครงในภาชนะ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
1) นาฟางข้าวมาคัดเลือกและตัดให้มีความยาว 2-3 เซนติเมตร
1. การเตรียมวัสดุและสารเคมี
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
รูปที่ 3.2.8 แสดงการตัดฟางข้าวให้ได้ขนาดที่ต้องการ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.9 แสดงลักษณะฟางข้าวที่ตัดแล้ว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
2) ชั่งฟางข้าวให้ได้นาหนัก 1 กิโลกรัม เพื่อเตรียมไว้ต้มเยื่อกระดาษในขันตอนต่อไป
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
รูปที่ 3.2.10 แสดงการชั่งฟางข้าว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.11 แสดงฟางข้าว 1 กก. ในหม้อต้มเยื่อ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
2. การต้มเยื่อกระดาษ
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
รูปที่ 3.2.12 แสดงการเตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
1) เตรียมโซเดียมไฮดรอกไซด์ให้ได้เป็นปริมาณ 200
กรัม เติมนาปริมาตร 500 มิลลิลิตร ก่อนจะนาไปละลาย
ด้วยเครื่องกวนสารแบบแท่งแม่เหล็ก
2) เติมนาจนได้ปริมาตร 15 ลิตร และนาสารละลายที่ได้
ไปใช้ในขันตอนถัดไป
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
รูปที่ 3.2.13 แสดงลักษณะฟางข้าวขณะเริ่มต้มเยื่อ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.14 แสดงการต้มเยื่อฟางข้าว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.15 แสดงลักษณะเยื่อฟางข้าวที่ผ่านการล้างแล้ว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
3) นาฟางข้าวและสารละลายที่เตรียมไว้มาใส่ในหม้อต้มเยื่อ และต้มโดยใช้เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเวลา 1 ชั่วโมง
4) คัดเฉพาะส่วนเยื่อมาล้างด้วยนาสะอาดและบิดนาออก ทาซาเป็น จานวนสามครัง
1) นาเยื่อที่พักมาวางไว้บนตะแกรง
2) เปิดนาผ่านให้เยื่อที่ขนาดเล็กกว่ารูตะแกรงผ่านออกมาได้โดยมีผ้าขาวบางรองรับ
3) เก็บเยื่อที่ไม่ผ่านผ้าขาวบางไปใช้ในขันตอนถัดไป
3. การคัดเลือกขนาดเนือเยื่อ
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
รูปที่ 3.2.16 แสดงการคัดเลือกขนาดเนือเยื่อ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
4. การฟอกขาว
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
1) เตรียมนายาฟอกเยื่อ โดยการเตรียมสารละลายที่มี
โซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้นข้น 1 M และ
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 1% โดยมวล
ต่อปริมาตร ปริมาตร 8 ลิตร
2) นาเยื่อฟางข้าวที่ได้มาใส่ในหม้อต้มเยื่อ แล้วเติม
นายาฟอกเยื่อ
รูปที่ 3.2.17 แสดงการฟอกขาวเยื่อฟางข้าว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
3) ให้ความร้อนด้วยเตาแม่เหล็กไฟฟ้า โดยตังอุณหภูมิที่ 60 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการฟอก 1 ชั่วโมง
4) ทาการล้างเยื่อฟางข้าว เพื่อนาไปใช้ในขันตอนต่อไป
รูปที่ 3.2.18 แสดงลักษณะของเยื่อฟางข้าวก่อนฟอกขาว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
รูปที่ 3.2.19 แสดงลักษณะของเยื่อฟางข้าวหลังฟอกขาวแล้ว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
5. การขึนรูปกระดาษ
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
1) นาเยื่อที่ได้มาแบ่งเป็น 4 ส่วน โดยมีอัตราส่วน ชุดที่ 1 : ชุดที่ 2 : ชุดที่ 3 : ชุดที่ 4
เป็น 100 : 90 : 80 : 70 ตามลาดับ
2) เติมผงเปลือกหอยแครงที่เตรียมไว้ ในแต่ละชุดให้ได้อัตราส่วนร้อยละ 0, 10, 20
และ 30 โดยมวล ตามลาดับจากชุดที่ 1 ถึงชุดที่ 4
3) แยกแต่ละชุดเป็น 3 ส่วน ปริมาณเท่ากัน เพื่อขึนรูปและนาไปทดสอบหาค่าเฉลี่ย
สาหรับเปรียบเทียบในลาดับถัดไป
4) ขึนรูปกระดาษด้วยเครื่องขึนรูปกระดาษ
ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
รูปที่ 3.2.20 แสดงแผนภาพกระบวนการขึนรูปกระดาษด้วยเครื่องขึนรูปกระดาษ
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ฉีดกระจายเยื่อ วางทับเยื่อด้วยกระดาษรอง เพิ่มแรงกดเล็กน้อย เพื่อเยื่อติดกับกระดาษรอง เคาะเยื่อออก
วางทับอีกด้านด้วยกระดาษรองอีก 1 ใบ ทาให้แห้งด้วยเครื่องอบกระดาษ ได้กระดาษสมบูรณ์
ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
1. การทดสอบค่าความขาวสว่าง
1) นาตัวอย่างที่ได้ มาวัดค่าความขาวสว่าง
โดยใช้สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ Technidye Color
Touch PC ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ ด้วย
โปรแกรม Color Touch
2) นาค่าที่ได้จากการทดสอบมาเทียบกับค่า
มาตรฐาน ISO 2470 เพื่อพิจารณาคุณภาพของ
กระดาษ
รูปที่ 3.3.1 แสดงการทดสอบค่าความขาวสว่างด้วยสเปกโทรโฟโตมิเตอร์
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
2. การทดสอบค่าความทึบแสง
1) นาตัวอย่างที่ได้ มาวัดค่าความทึบแสงโดย
ใช้สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ Technidye Color
Touch PC ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ ด้วย
โปรแกรม Color Touch
2) นาค่าที่ได้จากการทดสอบมาเทียบกับค่า
มาตรฐาน ISO 2471 เพื่อพิจารณาคุณภาพของ
กระดาษ
รูปที่ 3.3.2 แสดงการทดสอบค่าความทึบแสงด้วยสเปกโทรโฟโตมิเตอร์
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
3. การทดสอบค่าความแข็งแรง
1) ตัดชินตัวอย่างความกว้าง 1.5 เซนติเมตรและความยาว
ไม่น้อยกว่า 8 เซนติเมตร
2) นาไปวัดค่า Load ด้วยเครื่องวัดความต้านแรงดึง
TOSEIKI STROGRAPHE - S หน่วยเป็นนิวตัน
3) หาค่าความแข็งแรงโดยใช้สูตร
4) นาค่าที่ได้จากการคานวณมาเทียบกับค่ามาตรฐาน ISO
1924/1 เพื่อพิจารณาคุณภาพของกระดาษ
รูปที่ 3.3.3 แสดงการทดสอบค่าความแข็งแรงด้วย
เครื่องวัดความต้านแรงดึง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
Tensile strength (kN/m) = Load (kN) / Width (m)Tensile strength (kN/m) = Load (kN) / Width (m)
ตารางแสดงกระบวนการปฏิบัติงาน
เวลา
รายการ
ปี 2562 ปี 2563
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
1.กาหนดหัวข้อโครงงาน
2. เขียนเค้าโครงโครงงาน
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์
และตัวอย่างผงเปลือกหอย
4. เตรียมกระดาษจากฟางข้าวใน
อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
5. ทดสอบและเปรียบเทียบ
คุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าว
6. เขียนรายงานผล
7. นาเสนอของโครงงานฉบับสมบูรณ์
8. จัดทาโปสเตอร์นาเสนอ
9. นาเสนอโครงงานในงานนิทรรศการ Open House
บทที่ 4 ผลการดาเนินการ
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ทดลองซ้า
ครังที่
ค่าความขาวสว่าง
(%)
ค่าเฉลี่ย
(%)
0%
1 66.51
66.122 66.44
3 65.40
10%
1 71.20
70.922 70.92
3 70.65
20%
1 74.00
74.052 74.09
3 74.05
30%
1 75.77
75.682 76.01
3 75.27
4.1 ผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบค่าความขาวสว่าง
ตารางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบค่าความขาวสว่างของแต่ละกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองซ้าเป็นจ้านวน 3 ครัง
จากผลการทดสอบค่าความขาวสว่างของกระดาษจาก
ฟางข้าวที่ผสมผงเปลือกหอยแครงที่อัตราส่วนต่าง ๆ ได้แก่
10%, 20% และ 30% โดยใช้สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ เทียบกับ
ชุดควบคุมที่ไม่ได้ผสมผงเปลือกหอยแครง พบว่าค่าดังกล่าว
แปรผันตามอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงโดยที่อัตราส่วน
0%, 10%, 20% และ 30% จะมีค่าความขาวสว่างโดยเฉลี่ย
เป็น 66.12%, 70.92%, 74.05% และ 75.68% ตามล้าดับ
จะเห็นได้ว่าที่อัตราส่วน 30% จะให้ค่าความขาวสว่างสูงที่สุด
รองลงมาคือ 20% และ 10% ตามล้าดับ และน้อยที่สุดที่
อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครง 0%
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
กราฟที่ 4.3 แสดงการเปรียบเทียบค่าความสว่างโดยเฉลี่ยที่วัดได้จากแต่ละกลุ่มตัวอย่าง
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ค่าความขาวสว่างโดยเฉลี่ย
(%)
ค่าต่างมาตรฐาน
(%)
0% 66.12 -8.88
10% 70.92 -4.08
20% 74.05 -0.95
30% 75.98 0.98
ตารางที่ 4.2 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความขาวสว่างของแต่ละอัตราส่วน
ค่ามาตรฐานความขาวสว่าง = 75%
จากตารางที่ 4.2 พบว่าที่อัตราส่วน 30% มีค่า
ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว
ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ค่าความขาวสว่างโดยเฉลี่ย
(%)
ค่าต่างมาตรฐาน
(%)
0% 66.12 -8.88
10% 70.92 -4.08
20% 74.05 -0.95
30% 75.98 0.98
ตารางที่ 4.2 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความขาวสว่างของแต่ละอัตราส่วน
ค่ามาตรฐานความขาวสว่าง = 75%
จากตารางที่ 4.2 พบว่าที่อัตราส่วน 30% มีค่า
ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว
ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
4.2 ผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบค่าความทึบแสง
ตารางที่ 4.4 แสดงผลการทดสอบค่าความทึบแสงของแต่ละกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองซ้าเป็นจ้านวน 3 ครัง
ท้านองเดียวกัน จากผลการทดสอบค่าความทึบแสงของ
กระดาษจากฟางข้าวด้วยสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ พบว่าค่าดังกล่าว
แปรผันตามอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงโดยที่อัตราส่วน
0%, 10%, 20% และ 30% จะมีค่าความทึบแสงโดยเฉลี่ยเป็น
95.26%, 95.98%, 96.99% และ 97.83% ตามล้าดับ จะเห็น
ได้ว่าที่อัตราส่วน 30% จะให้ค่าความทึบแสงสูงที่สุด รองลงมา
คือ 20% และ 10% ตามล้าดับ และน้อยที่สุดที่อัตราส่วนผสมผง
เปลือกหอยแครง 0%
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ทดลอง
ซ้าครังที่
ค่าความทึบแสง
(%)
ค่าเฉลี่ย
(%)
0%
1 95.51
95.262 94.84
3 95.44
10%
1 96.34
95.982 95.97
3 96.04
20%
1 97.10
96.992 97.07
3 96.81
30%
1 97.73
97.832 97.86
3 97.89
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
กราฟที่ 4.6 แสดงการเปรียบเทียบค่าความทึบแสงโดยเฉลี่ยที่วัดได้จากแต่ละกลุ่มตัวอย่าง
ตารางที่ 4.5 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความทึบแสงของแต่ละอัตราส่วน
ค่ามาตรฐานความทึบแสง = 77%
จากตารางที่ 4.5 พบว่าที่อัตราส่วน 30% มีค่า
ต่างมาตรฐานมากที่สุด โดยที่ทุกอัตราส่วนให้ค่าต่าง
มาตรฐานเป็นบวกทังสิน
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ค่าความทึบแสงโดยเฉลี่ย
(%)
ค่าต่างมาตรฐาน
(%)
0% 95.26 18.26
10% 95.98 18.98
20% 96.99 19.99
30% 97.83 20.83
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ทดลองซ้า
ครังที่
Load
(N)
Width
(cm)
Tensile strength*
(kN/m)
ค่าเฉลี่ย
(kN/m)
0%
1 36.0 1.5 2.40*
2.632 39.0 1.5 2.60*
3 43.4 1.5 2.89*
10%
1 35.0 1.5 2.33*
2.292 34.2 1.5 2.28*
3 34.0 1.5 2.27*
20%
1 30.4 1.5 2.03*
2.122 35.4 1.5 2.36*
3 29.4 1.5 1.96*
30%
1 32.2 1.5 2.15*
1.932 28.4 1.5 1.89*
3 26.2 1.5 1.75*
4.3 ผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบค่าความแข็งแรง
ตารางที่ 4.7 แสดงผลการทดสอบค่าความแข็งแรงของแต่ละกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองซ้าเป็นจ้านวน 3 ครัง
ในขณะเดียวกัน จากผลการค้านวณค่าความ
แข็งแรงของกระดาษจากฟางข้าวด้วยค่าที่ได้จาก
เครื่องวัดความต้านแรงดึง พบว่าค่าดังกล่าวแปรผกผัน
กับอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงโดยที่อัตราส่วน
0%, 10%, 20% และ 30% จะมีค่าความแข็งแรงโดย
เฉลี่ยเป็น 2.63, 2.29, 2.12 และ 1.93 kN/m
ตามล้าดับ จะเห็นได้ว่าที่อัตราส่วน 0% จะให้ค่าความ
แข็งแรงสูงที่สุด รองลงมาคือ 10% และ 20%
ตามล้าดับ และน้อยที่สุดที่อัตราส่วนผสมผงเปลือก
หอยแครง 30%
การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน
กราฟที่ 4.9 แสดงการเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงโดยเฉลี่ยที่วัดได้จากแต่ละกลุ่มตัวอย่าง
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ค่าความแข็งแรงโดยเฉลี่ย
(kN/m)
ค่าต่างมาตรฐาน
(kN/m)
0% 2.63 0.23
10% 2.29 -0.11
20% 2.12 -0.28
30% 1.93 -0.47
ค่ามาตรฐานความแข็งแรง = 2.4 kN/m
ตารางที่ 4.8 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความแข็งแรงของแต่ละอัตราส่วน
จากตารางที่ 4.8 พบว่าที่อัตราส่วน 0% มีค่า
ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว
ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง
อัตราส่วนผสม
ผงเปลือกหอยแครง
ค่าความแข็งแรงโดยเฉลี่ย
(kN/m)
ค่าต่างมาตรฐาน
(kN/m)
0% 2.63 0.23
10% 2.29 -0.11
20% 2.12 -0.28
30% 1.93 -0.47
ค่ามาตรฐานความแข็งแรง = 2.4 kN/m
ตารางที่ 4.8 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความแข็งแรงของแต่ละอัตราส่วน
จากตารางที่ 4.8 พบว่าที่อัตราส่วน 0% มีค่า
ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว
ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
ตอนที่ 1 จากการศึกษากระบวนการทากระดาษจากฟางข้าว พบว่าเยื่อที่ได้จากการต้มเยื่อด้วยสารละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด์ คัดเลือกขนาดเนื้อเยื่อ และฟอกขาวด้วยสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีความ
สมบูรณ์และสม่าเสมอ แต่ในการฟอกขาวนั้น พบว่าใช้เวลาน้อยเกินไป คือ 1 ชม. เยื่อที่ได้จึงมีสีที่ไม่ได้ขาวนวล
มาก ซึ่งส่งผลให้กระดาษมีค่าความขาวสว่างต่าหลังนาไปขึ้นรูปกระดาษ
ตอนที่ 2 จากการศึกษาคุณสมบัติของผงหอยแครงต่อคุณภาพของกระดาษจากฟางข้าว พบว่า ค่าความ
ขาวสว่างและค่าความทึบแสงจะแปรผันตรงกับอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครง แต่ค่าความแข็ง
แรงนั้นจะแปรผกผันกับอัตราส่วน ซึ่ง ค่าความขาวสว่างและค่าความทึบแสงจะแปรผันตรงกับอัตราส่วนผสมผง
เปลือกหอยแครง แต่ค่าความแข็งแรงนั้นจะแปรผกผันกับอัตราส่วน ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลการใช้ประโยชน์
แคลเซียมคาร์บอเนต จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ คือ ผงเปลือกหอยแครงนั้นจะช่วยให้
กระดาษมีค่าความขาวสว่างและค่าความแข็งแรงมากขึ้น เนื่องจากผงเปลือกหอยแครงนั้นมีสีขาวและสามารถ
สะท้อนแสงได้มาก และเพราะอนุภาคของผงเปลือกหอยแครงจะไปอุดช่องว่างระหว่างเส้นใยของกระดาษส่งผล
ให้แสงผ่านได้ยาก ในขณะเดียวกันก็จะส่งผลให้กระดาษมีค่าความแข็งแรงลดลง ทั้งนี้เพราะอนุภาคของผง
เปลือกหอยแครงจะทาให้เส้นใยของกระดาษสามารถเกี่ยวพันกันได้ลดลง จึงส่งผลให้มีความแข็งแรงลดลง
ตอนที่ 3 จากการเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้ปริมาณผงหอยแครงในอัตราส่วนที่
ต่างกัน พบว่าเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยในอัตราส่วนที่มากขึ้นก็จะมีค่าความขาวสว่างที่สูงขึ้น และสูงถึง
75.68% ในอัตราส่วน 30% ซึ่งเป็นอัตราส่วนเดียวที่สูงกว่าค่ามาตรฐาน นอกจากนี้ค่าความทึบแสงก็สูงขึ้น
เช่นกัน โดยทุกอัตราส่วนมีค่าความทึบแสงที่ได้มาตรฐาน และมากสุดที่ 97.83% ในอัตราส่วน 30% แต่กลับ
พบว่าค่าความแข็งแรงนั้นลดลง แปรผกผันกับอัตราส่วน โดยกระดาษที่มีอัตราส่วน 10% 20% และ 30% มีค่า
ความแข็งแรงลดลงตามลาดับและต่ากว่าค่ามาตรฐานความแข็งแรงทั้งสิ้น ในขณะที่กระดาษที่ไม่เติมผง
หอยแครงเลยมีค่าความแข็งแรงสูงสุดและได้มาตรฐานที่ 2.63 kN/m
1. อาจเปลี่ยนเส้นใยในการทากระดาษเป็นเส้นใยชนิดยาว เช่น ปอสา เพื่อให้กระดาษมีความแข็งแรงมากขึ้น เพราะ
เส้นใยจะสามารถเกี่ยวพันกันได้ดีกว่าเส้นใยชนิดสั้น
2. ควรใช้ตะแกรงร่อนที่มีความถี่สูงขึ้น เพื่อให้อนุภาคผงเปลือกหอยแครงสามารถยึดติดกับกระดาษได้มาก
3. ควรฟอกขาวด้วยเวลาที่นานยิ่งขึ้น เพื่อให้กระดาษมีค่าความขาวสว่างมากขึ้นเนื่องจาก
4. นาไปใช้ร่วมกับสารตัวเติมจากธรรมชาติชนิดอื่น ๆ ในอุตสาหกรรมกระดาษ
เอกสารอ้างอิง
กรรมวิธีการผลิตกระดาษ. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://www.paperlandonline.com/knowledge.php?ID=7.
(สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2562)
การใช้ประโยชน์แคลเซียมคาร์บอเนต. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://www.dpim.go.th/articles/article?catid=
124&articleid=255. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2562)
ชัยพร และคณะ. การพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษฟางข้าวแบบพืนบ้าน. 2550. งานวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2562)
ธนพรรณ บุญรัตกลิน. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระดาษจากฟางข้าว. 2545. งานวิจัยสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตโชติเวช.
(สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562)
ฟางข้าว. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://puechkaset.com/ฟางข้าว. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2562)
Mustakimah M., Suzana Y., Saikat M., 2012. Decomposition study of calcium carbonate in cockle shell.
Journal of Engineering Science amd Technology. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562)
Smith, Bruce D. 1998. The Emergency of Agriculture. Scientific American Library, A Division of HPHLP,
New York, ISBN 0-7167-6030-4. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562)
Sudarat Homhual. หอยแครง. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=
viewpage&pid=147. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562)
ภาคผนวก
ภาพแสดงเยื่อกระดาษจากฟางข้าวที่เตรียมแล้ว
ถ่ายโดย นางสาวกฤตอร โสภณพงษ์
ภาพแสดงการต้มเยื่อกระดาษโดยใช้ฟางข้าว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ภาพแสดงตัวอย่างผงเปลือกหอยแครง
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ภาคผนวก
ภาพแสดงกระดาษจากฟางข้าว ชุดที่ 1 และชุดที่ 4
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ภาพแสดงเยื่อฟางข้าวที่ผ่านการฟอกขาวแล้ว
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
ภาพแสดงเยื่อฟางข้าวที่ผ่านการคัดขนาดโดยสมบูรณ์
ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
Thank youFor your kind attention.
Phooridet Pimchaisri
Thank youFor your kind attention.
Condition Load (N) Stroke (mm) Tensile strength (k
CTRL – 1 36.0 1.8 2.40
CTRL – 2 39.0 1.2 2.60
CTRL – 3 43.4 2.2 2.89
CON1 – 1 35.0 1.4 2.33
CON1 – 2 34.2 1.6 2.28
CON1 – 3 34.0 1.6 2.27
CON2 – 1 30.4 1.3 2.03
CON2 – 2 35.4 1.5 2.36
CON2 – 3 29.4 1.5 1.96
CON3 – 1 32.2 1.4 2.15
CON3 – 2 28.4 1.3 1.89
CON3 – 3 26.2 1.1 1.75
Condition Tensile strength (kN/m)
CTRLavg 2.63
CON1avg 2.29
CON2avg 2.12
CON3avg 1.93
Condition Load (N) Stroke (mm) Tensile strength (kN/m)
CTRLavg 39.47 1.73 2.63
CON1avg 34.4 1.53 2.29
CON2avg 31.73 1.43 2.12
CON3avg 29.93 1.27 1.93

More Related Content

What's hot

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Fon Edu Com-sci
 
ใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosumใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosumMeaw Sukee
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 

What's hot (20)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosumใบงานที่ 6 autosum
ใบงานที่ 6 autosum
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

Pptgst uprojectpaper62

  • 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวที่มีอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน (Comparison of straw paper’s ability using different ratios of mashed cockle shells.) ผู้จัดทา นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 651 เลขที่ 29 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน นางทิพย์อาภา ศรีวรางกูล นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาพิเศษ ผศ.ดร. สีหนาท ประสงค์สุข ดร. วิชาณี แบนคีรี อาจารย์ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 3. ที่มาและความสาคัญ โดยเฉลี่ยแล้ว ในแต่ละปีคนไทยทิ้งขยะกระดาษสูงถึง 3.9 ล้านตันหรือหนักเท่ากับ กระดาษ A4 ทั้งหมด 780,000 ล้านแผ่น (โครงการกระดาษเพื่อต้นไม้, 2557) จานวนขยะ กระดาษที่เหลือจากการอุปโภคและบริโภคมากมายเช่นนี้เป็นเพราะกระดาษเป็นสิ่งที่มี ความผูกพันกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบัน ทั้งสูติบัตร บัตรประชาชน มรณะบัตร ทะเบียนสมรส โฉนดที่ดิน หรือแม้กระทั่งธนบัตรที่ใช้เป็น สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการก็ล้วนแต่เป็นกระดาษทั้งสิ้น โดยใน กระบวนการผลิตกระดาษนั้นจะมีการเติมสารเคมีชนิดต่าง ๆ ลงไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ ของกระดาษให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งอาจทาให้มีสารเคมีตกค้างในสิ่งแวดล้อม เช่น อัลคิลทีนไดเมอร์ พอลิอะคริลเอไมด์ และไทเทียมไดออกไซด์ เป็นต้น (กระดาษดับเบิ้ลเอ, 2555) อีกทั้ง จานวนขยะกระดาษยังมีปริมาณสูง จึงส่งผลเสียต่อธรรมชาติมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้กระบวนการผลิตกระดาษยังส่งผลเสียต่อทรัพยากรป่าไม้เนื่องจากกระดาษผลิต จากเนื้อเยื่อของต้นไม้ รูปที่ 1.1 แสดงปัญหาที่เกิดจากการอุปโภคกระดาษของมนุษย์ ที่มา : https://www.google.com/search
  • 4. ที่มาและความสาคัญ ปัจจุบันมีแนวทางมากมายที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทั้งการ ใช้เส้นใยชนิดอื่น ๆ ทดแทน เช่น เส้นใยจากฟางข้าว เส้นใยจากกาบกล้วย หรือแม้กระทั่งเส้นใยจากผักตบชวา เป็นต้น และการใช้สารชนิดอื่นมาแทน สารเคมีตัวเติมในกระบวนการผลิตกระดาษ เช่น การใช้แป้งมันสาปะหลังเป็น สารเพิ่มความเหนียวแทนการใช้พอลิอะคริลเอไมด์ เป็นต้น ซึ่งจากการศึกษา สมบัติของผงเปลือกหอยแครงพบว่ามี CaCO3 เช่นเดียวกับสารเคมีที่ต้องใช้ ในอุตสาหกรรมกระดาษ หากนามาใช้ทดแทนพบว่าจะเป็นแนวทางที่ดีในการ อนุรักษ์ไว้ซึ่งธรรมชาติ เพราะแต่เดิม นอกจากการที่แคลเซียมคาร์บอเนตที่ใช้ จะได้มาจากการทาลายสิ่งแวดล้อม คือ การระเบิดภูเขา แล้วยังจะต้องผ่าน การเติมแต่งสังเคราะห์ซึ่งจะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศอีกด้วย รูปที่ 1.2 แสดงลักษณะกระดาษจากฟางข้าว ที่มา : https://www.google.com/search
  • 5. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2. เพื่อศึกษาคุณสมบัติของผง เปลือกหอยแครงต่อคุณภาพของ กระดาษจากฟางข้าว 1. เพื่อศึกษา กระบวนการทากระดาษ จากฟางข้าว 3. เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติ ของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อ ใช้ปริมาณผงเปลือก หอยแครงในอัตราส่วนที่ ต่างกัน
  • 6. คาถามการทาโครงงาน อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน มีผลต่อคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวหรือไม่ สมมติฐานการทดลอง ถ้าปริมาณผงเปลือกหอยแครงมีผลต่อคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวแล้ว อัตราส่วนของผงเปลือก หอยแครงที่แตกต่างกันโดยมวลส่งผลให้กระดาษจากฟางข้าวมีคุณสมบัติอันได้แก่ ความขาวสว่าง ความทึบแสง และความแข็งแรงที่แตกต่างกัน
  • 7. ขอบเขตของโครงงาน 1. ศึกษาเฉพาะกระดาษที่ทาจากฟางข้าวประเภทข้าวเจ้า สายพันธุ์หอมมะลิ 105 2. ใช้กรรมวิธีการผลิตที่จาเพาะเพียงวิธีเดียว คือ นาฟางข้าวเจ้ามาต้มกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 20% โดยมวล และฟอกขาวด้วยสารละลายที่มีโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 M ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1% โดย มวลต่อปริมาตร ก่อนนาไปขึ้นรูปเป็นกระดาษวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร 3. ใช้เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพกระดาษของค่าความขาวสว่าง ความทึบแสง และความแข็งแรง ตาม มาตรฐาน ISO 2470, ISO 2471 และ ISO 1924/1 ตามลาดับ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ปริมาณของผงเปลือกหอยแครงที่ใช้เป็นอัตราส่วนผสมในเนื้อกระดาษจากฟางข้าว ตัวแปรตาม คือ คุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าว ได้แก่ ความขาวสว่าง, ความทึบแสง และความแข็งแรง ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดของเปลือกหอย, ชนิดของฟางข้าว, ความชื้น, อุณหภูมิ, มวลของกระดาษ และ ปริมาณสารละลายในการต้มเยื่อและฟอกขาว
  • 8. นิยามเชิงปฏิบัติการ 1. กระดาษจากฟางข้าว หมายถึง กระดาษที่ได้จากการนาฟางข้าวเจ้ามาต้มกับ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ และฟอกขาวด้วยสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ก่อนนาไปขึ้นรูปเป็นกระดาษวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร 2. นายาต้มเยื่อ หมายถึง สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ซึ่งเตรียมได้ โดยการผสมโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นจานวน 20% โดยมวลเทียบมวลแห้งของ ตัวอย่าง กับน้าปริมาตร 15 เท่าเทียบมวลแห้งของตัวอย่าง 3. นายาฟอกเยื่อ หมายถึงสารละลายที่มีโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 M และ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1% โดยมวลต่อปริมาตรเทียบปริมาตรน้าหน่วยเป็นลิตร ซึ่ง มีปริมาตรเป็น 4 เท่าของมวลตัวอย่างในหน่วยกิโลกรัม
  • 9. ที่มาและความสาคัญ ดังนั้นผู้ทาโครงงานจึงสนใจที่จะศึกษาการใช้ผงเปลือกหอยแครงเป็น สารตัวเติมในการผลิตกระดาษที่ผลิตจากเส้นใยฟางข้าวซึ่งเป็นวัสดุ เหลือทิ้งทางการเกษตร โดยจะศึกษาเปรียบเทียบอัตราส่วนผสมผง เปลือกหอยแครงที่ 10% 20% และ 30% ต่อคุณสมบัติของกระดาษ จากฟางข้าวใน 3 ด้าน คือ ความขาวสว่าง ความทึบแสง และความ แข็งแรง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มมูลค่าของฟางข้าวอันเป็นวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตรและเปลือกหอยแครงที่เหลือจากการอุปโภคและบริโภค เป็น การเพิ่มทางเลือกในการพัฒนากระดาษจากฟางข้าวเพื่อใช้ทดแทน กระดาษปกติ อีกทั้งยังเป็นการลดปัญหาขยะจากฟางข้าวและเปลือก หอยแครงคงเหลือในสิ่งแวดล้อม
  • 10. นิยามเชิงปฏิบัติการ 4. คุณสมบัติของกระดาษ หมายถึง สมบัติในด้านความขาวสว่าง (Brightness) วัด โดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง ณ การสะท้อนแสงที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผล เป็นค่าร้อยละ ความทึบแสง (Opacity) วัดโดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง วัดปริมาณ แสงที่ผ่านตัวอย่าง ที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ และ ความแข็งแรง ของกระดาษ (Strength) วัดโดยการใช้เครื่องชั่งสปริงแบบตะขอเกี่ยววัดปริมาณแรง สูงสุดที่กระดาษรับได้ขณะเริ่มฉีกขาด หน่วยเป็นกิโลนิวตันต่อความกว้างเป็นเมตร 5. ความแข็งแรงของกระดาษ คือ ความต้านแรงดึง (Tensile strength) เป็น ความสามารถของกระดาษที่จะต้านแรงดึง ซึ่งกระทาที่ปลายข้างใดข้างหนึ่งของชิ้น ทดสอบที่มีความกว้างคงที่จนชิ้นทดสอบนั้นขาด วัดโดยการใช้เครื่องชั่งสปริงแบบตะขอ เกี่ยววัดปริมาณแรงสูงสุดที่กระดาษรับได้ขณะเริ่มฉีกขาด มีหน่วยเป็นกิโลนิวตันต่อ ความกว้างเป็นเมตร
  • 11. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพิ่มมูลค่าของฟางข้าวซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตรและเปลือกหอยแครงที่เหลือจากการบริโภค 2. เพิ่มทางเลือกในการพัฒนากระดาษจากฟางข้าวเพื่อใช้ ทดแทนกระดาษทั่วไป 3. ลดปัญหาขยะจากฟางข้าวและเปลือกหอยแครง คงเหลือในสิ่งแวดล้อม รูปที่ 1.3 แสดงสัญลักษณ์การรีไซเคิล ที่มา : https://www.google.com/search
  • 13. 2.1 หอยแครง หอยแครง หรือ Tegillarca granosa เป็นหอยสองฝาจาพวกกาบคู่ เปลือกหนาและมี ส่วนประกอบของแคลเซียมคาร์บอเนตสูง ด้านนอกของเปลือกเป็นเส้นโค้งด้านละ 20 สัน ด้านบนของสันจะสูงแล้วลาดลงไปถึงฝาปิดเปิด โดยปกติเปลือกมีสีน้าตาลอมดา แต่ถ้าอยู่ที่น้าตื้น และน้าแห้งฝาด้านบนจะมีสีขาว ภายในลาตัวมีของเหลวสีแดงจากฮีโมโกลบิน ขนาดตัวเต็มวัยมี ความยาวประมาณ 5 – 6 เซนติเมตร และมีความกว้างประมาณ 4 – 5 เซนติเมตร จัดเป็นสัตว์ที่ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ จึงทาให้มีปริมาณเปลือกหอยแครงคงเหลือเป็นจานวนมาก รูปที่ 2.1 แสดงลักษณะหอยแครง ที่มา : https://food.mthai.com/food-recipe/102894.html
  • 14. 2.2 ต้นข้าวและฟางข้าว ต้นข้าว เป็นพืชในวงศ์ Poceae ที่พบมากในแถบเอเชีย มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryza sativa มีลักษณะคล้ายกับต้นหญ้า มีความสูงประมาณ 100 – 120 เซนติเมตร จัดเป็นพืช เส้นใยชนิดสั้น เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มีแต่รากฝอย ใบมีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ เส้นใบเรียงตัวเป็น เส้น เป็นพืชที่ความสาคัญทางเศรษฐกิจ ส่วนที่เหลือจากต้นข้าวที่ผ่านการเก็บเกี่ยวนาเมล็ดข้าว ออกแล้วคือ ฟางข้าว ซึ่งจะมีจานวนมาก ปัจจุบันได้มีการนาไปใช้ประโยชน์มากมาย ทั้งในด้านของ การเกษตร และในด้านอุตสาหกรรม เช่น การนาไปอัดแท่งทาเชื้อเพลิงให้ความร้อน การหัตถกรรม สานทอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการนาไปใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษ ใช้ฟางข้าวเป็นวัตถุดิบชนิด เส้นใยขนาดสั้นผลิตเป็นกระดาษจากฟางข้าว รูปที่ 2.2 แสดงลักษณะฟางข้าว ที่มา : https://www.thaigreenagro.com/ประโยชน์ของตอซังฟางข้า/
  • 15. 2.3 การใช้แคลเซียมคาร์บอเนตในอุตสาหกรรมกระดาษ การใช้แคลเซียมคาร์บอเนตในอุตสาหกรรมกระดาษ มักใช้ที่อัตราส่วน 18%-20% โดยมวลของน้าหนัก เนื้อเยื่อกระดาษทั้งหมด นิยมใช้เป็นสารตัวเติมเพื่อปรับปรุงคุณภาพเนื้อเยื่อกระดาษ ทาให้ผิวเนื้อเยื่อสม่าเสมอ และมีส่วนผสมเป็นเนื้อเดียวกัน ช่วยเติมเต็มช่องว่างของเนื้อเยื่อ เพิ่มความทึบแสงและความขาวสว่างของ กระดาษ แต่ในขณะเดียวกันพบว่าเมื่อใช้ในอัตราส่วนปริมาณที่มากเกินไปจะส่งผลให้กระดาษมีความแข็งแรง ลดลงได้ โดยทั่วไปในการใช้มักนาไปผสมกับอนุภาคอื่น ๆ ได้แก่ แร่ไททาเนียมไดออกไซด์ แร่ดินขาว อนุภาค พลาสติก เป็นต้น รูปที่ 2.3 แสดงตารางส่วนประกอบของกระดาษ 1 แผ่น ที่มา : https://www.google.co.th/search
  • 16. 2.4 กระบวนการผลิตกระดาษ 1) การผลิตเยื่อ คือ การแยกเส้นใยออกมาจากองค์ประกอบของไม้หรือใบ ทาได้โดยการต้มเยื่อใน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 20% โดยมวลเทียบมวลแห้งตัวอย่าง ในน้าปริมาตร 20 เท่าของมวลตัวอย่าง เป็นเวลา 1 ชั่วโมง และฟอกขาวด้วยสารละลายที่มีโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1 M ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1% โดยมวลต่อปริมาตร เป็นเวลา 1 ชั่วโมงเช่นเดียวกัน ผลผลิตที่ได้จะเป็น เนื้อเยื่อที่ค่อนข้างนุ่ม สีออกนวล และได้เส้นใยที่สมบูรณ์ รูปที่ 2.4 แสดงลักษณะกระดาษที่ได้จากกระบวนการผลิตกระดาษเชิงหัตถกรรม ที่มา : https://www.google.co.th/search
  • 17. 2.4 กระบวนการผลิตกระดาษ 2) การเตรียมนาเยื่อ คือการกระจายเยื่อให้เป็นอิสระจากกันในน้า ในขั้นตอนนี้จะมีการเติม สารตัวเติมลงไปในอัตราส่วนที่ต้องการเพื่อพัฒนาศักยภาพของเส้นใย ซึ่งจะส่งผลต่อคุณสมบัติ ของกระดาษ ส่วนผสมที่ได้นี้เรียกว่า น้าเยื่อ หรือ สต็อก 3) การทาแผ่นกระดาษ คือการแยกน้าออกจากน้าเยื่อ กดน้าออก รีดให้เรียบสม่าเสมอและ นาไปทาให้แห้งด้วยการตากหรืออาจใช้เครื่องอบกระดาษ รูปที่ 2.5 แสดงลักษณะของน้าเยื่อ ที่มา : https://www.google.co.th/search
  • 18. 2.5 คุณสมบัติทางกายภาพของกระดาษ คุณสมบัติทางกายภาพของกระดาษสามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1) คุณสมบัติเชิงกล หมายถึง คุณสมบัติของกระดาษที่เกี่ยวข้องกับการรับแรงกระทา หรือความแข็งแรง เช่น การต้านทานแรงดึง การต้านทานแรงฉีกขาด สัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่น การต้านทานแรงกด เป็นต้น 2) คุณสมบัติเชิงทัศนศาสตร์ หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับแสงและการมองเห็น เช่น ความขาวสว่าง ความมันวาว การดูดซับและกระจายแสง เป็นต้น 2.5.1 ความขาวสว่าง ความขาวสว่าง (Brightness) หมายถึง ความสามารถในการสะท้อนแสงของกระดาษ วัด โดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง ณ การสะท้อนแสงที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผลเป็นค่า ร้อยละ ซึ่งต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 75 ตามมาตรฐาน ISO 2470
  • 19. 2.5.2 ความทึบแสง ความทึบแสง (Opacity) วัดโดยการใช้เครื่องวัดความเข้มแสง วัดปริมาณแสงที่ผ่าน ตัวอย่าง ที่ปริมาณแสงหนึ่ง ๆ ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ ซึ่งต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 77 ตามมาตรฐาน ISO 2471 2.5.3 ความต้านแรงดึง ความแข็งแรงของกระดาษ (Strength) หมายถึง ความสามารถของกระดาษที่จะต้าน แรงดึง ซึ่งกระทาที่ปลายข้างใดข้างหนึ่งของชิ้นทดสอบที่มีความกว้างคงที่จนชิ้นทดสอบ นั้นขาด วัดโดยการใช้เครื่องชั่งสปริงแบบตะขอเกี่ยววัดปริมาณแรงสูงสุดที่กระดาษรับ ได้ขณะเริ่มฉีกขาด มีหน่วยเป็นกิโลนิวตันต่อความกว้างเป็นเมตร ซึ่งต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 1.4 ตามมาตรฐาน ISO 1924/1
  • 20. 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.6.1 การพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษฟางข้าวแบบพืนบ้าน ชัยพร และคณะ (2550) ได้ศึกษาผลของโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ระดับความเข้มข้นร้อยละ 10, 15 และ 20 ในกระบวนการต้มเยื่อ ก่อนนาไปแยกขนาดเยื่อให้ได้เฉพาะเยื่อที่เหมาะสมในการ ผลิต แล้วนาไปขึ้นรูปเป็นแผ่นกระดาษ เพื่อทดสอบ คุณสมบัติทางกายภาพและทางกล พบว่าที่ ระดับความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 20 ได้กระดาษฟางข้าวที่มีคุณสมบัติทาง กายภาพดีที่สุด ได้แก่ ค่าดัชนีความต้านทานแรงดึง 22.63 นิวตัน เมตรต่อกรัม ความยืดร้อยละ 1.24 ความต้านทานการหักพับ 3.26 ครั้ง ค่าดัชนีความต้านทานแรงดันทะลุ 1.18 กิโลปาสคาล ตารางเมตรต่อกรัม และค่าความขาวสว่างร้อยละ 32.45 ซึ่งพบว่ากระดาษที่ได้มีคุณภาพดีกว่า วิธีการผลิตกระดาษฟางข้าวพื้นบ้านแบบเดิม
  • 21. 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.6.2 สภาวะที่เหมาะสมสาหรับต้มฟางข้าวด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ในการพัฒนากระดาษฟางข้าว วุฒินันท์ และคณะ (2552) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสาหรับต้มฟางข้าวด้วยสารโซเดียม ไฮดรอกไซด์ในการพัฒนากระดาษฟางข้าวที่ทาด้วยมือเพื่อการพิมพ์สกรีนและได้สภาวะที่เหมาะสม สาหรับต้มฟางข้าวด้วยสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้น 15% ของน้าหนักฟางข้าวแห้งที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 3 ชั่วโมง ได้เยื่อ 44.12% และสภาวะที่เหมาะสมสาหรับฟอกเยื่อฟางข้าว คือใช้ความเข้มข้นของสารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 18% โซเดียมซิลิเกต 2% แมกนีเซียมซัลเฟต 0.05% และโซเดียมไฮดรอกไซด์ 1.5% ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 2 ชั่วโมงวัดความขาวสว่างของ เยื่อได้ 70.97% กระดาษที่ได้จะมีคุณสมบัติทางเชิงกลตามวิธีมาตรฐานของ TAPPI ประกอบด้วย น้าหนักมาตรฐาน 104.12 g/m2 ความขาวสว่าง 70.29% ความต้านการหักพับ 41.44 ครั้ง ความต้าน แรงดึง 15.80 N.m/g ความเรียบ 14.02 วินาทีความหนา 0.29 มิลลิเมตร ความต้านแรงฉีกขาด 26.58 mN.m2/g ความต้านแรงดันทะลุ 2.18 kPa.m2/g และความต้านการซึมน้า 63.48%
  • 22. 2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.6.3 DECOMPOSITION STUDY OF CALCIUM CARBONATE IN COCKLE SHELL Mustakimah et al. (2557) ได้ทาการศึกษาปริมาณของแคลเซียมภายในเปลือก แครง โดยการวัดปริมาณของคาร์บอนไดออกไซด์และแคลเซียมออกไซด์ที่แตกตัวจากแคลเซียม คาร์บอเนตในกระบวนการ Thermogravimetric Analysis (TGA) ที่อัตราการให้ความร้อน 20 องศาเซลเซียสต่อนาที และวิเคราะห์สสารทางเคมีด้วยวิธี x-ray fluorescence พบว่า เปลือกหอยแครงนั้นประกอบด้วยแคลเซียมสูงถึง 97% ซึ่งผลึกแคลเซียมคาร์บอเนตที่พบเป็น ผลึกแบบอราโกไนต์ (Aragonite) เป็นส่วนใหญ่
  • 24. 3.1 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 3.1.1 วัสดุ 1) เปลือกหอยแครง ปริมาณ 2 กิโลกรัม 2) ฟางข้าวเจ้า ปริมาณ 1 กิโลกรัม รูปที่ 3.1.1 แสดงลักษณะเปลือกหอยแครง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.2 แสดงลักษณะฟางข้าวเจ้า ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 25. 3.1.2 อุปกรณ์ 1) อุปกรณ์อบอากาศร้อน จานวน 1 ชุด 3) ตะแกรงร่อนขนาด 80 mesh จานวน 1 แผ่น 2) ครกสาหรับบดเปลือกหอย จานวน 1 ชุด 4) เครื่องชั่งกิโลกรัม จานวน 1 เครื่อง รูปที่ 3.1.3 แสดงลักษณะอุปกรณ์อบอากาศร้อน ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.5 แสดงลักษณะตะแกรงร่อนขนาด 80 mesh ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.4 แสดงลักษณะครกส้าหรับบดเปลือกหอย ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.6 แสดงลักษณะเครื่องชั่งกิโลกรัม ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 26. 3.1.2 อุปกรณ์ 5) เครื่องตีนาเยื่อ จานวน 1 เครื่อง 7) บีกเกอร์พลาสติกขนาด 100 มล. จานวน 2 ใบ 6) เครื่องชั่งไฟฟ้า จานวน 1 เครื่อง 8) สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง รูปที่ 3.1.7 แสดงลักษณะเครื่องตีน้าเยื่อ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.9 แสดงลักษณะบีกเกอร์พลาสติก ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.8 แสดงลักษณะเครื่องชั่งไฟฟ้า ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.10 แสดงลักษณะสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 27. 3.1.2 อุปกรณ์ 9) กระบอกตวง จานวน 1 ชุด 11) ช้อนตักสาร จานวน 2 อัน 10) ถุงมือกันความร้อน จานวน 1 คู่ 12) เครื่องวัดความชืน จานวน 1 เครื่อง รูปที่ 3.1.11 แสดงลักษณะกระบอกตวง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.13 แสดงลักษณะช้อนตักสาร ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.12 แสดงลักษณะถุงมือกันความร้อน ที่มา : https://www.google.co.th/search รูปที่ 3.1.14 แสดงลักษณะเครื่องวัดความชืน ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 28. 3.1.2 อุปกรณ์ 13) หม้อต้มเยื่อขนาด 30 ลิตร จานวน 1 ใบ 15) ตะแกรงล้าง จานวน 1 ชิน 14) เครื่องขึนรูปกระดาษ จานวน 1 เครื่อง 16) หลอดไฟ จานวน 2 ดวง รูปที่ 3.1.15 แสดงลักษณะหม้อต้มเยื่อขนาด 30 ลิตร ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.17 แสดงลักษณะตะแกรงล้าง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.16 แสดงลักษณะเครื่องขึนรูปกระดาษ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.18 แสดงลักษณะหลอดไฟ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 29. 3.1.2 อุปกรณ์ 17) ผ้าขาวบาง จานวน 2 แผ่น 19) เตาแม่เหล็กไฟฟ้า จานวน 1 เครื่อง 18) ไม้พาย จานวน 1 ไม้พาย 20) กรรไกร จานวน 1 อัน รูปที่ 3.1.19 แสดงลักษณะผ้าขาวบาง ที่มา : https://www.google.co.th/search รูปที่ 3.1.21 แสดงลักษณะเตาแม่เหล็กไฟฟ้า ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.20 แสดงลักษณะไม้พาย ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.22 แสดงลักษณะกรรไกร ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 30. 3.1.2 อุปกรณ์ 21) ถุงพลาสติก จานวน 10 ใบ 22) ทัพพี จานวน 1 อัน รูปที่ 3.1.23 แสดงลักษณะถุงพลาสติก ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.24 แสดงลักษณะทัพพี ที่มา : https://www.google.co.th/search 26) เครื่องวัดความต้านแรงดึง จานวน 1 เครื่อง รูปที่ 3.1.28 แสดงลักษณะเครื่องวัดความต้านแรงดึง ที่มา : https://www.google.co.th/search 25) เครื่องกวนสารแบบแท่งแม่เหล็ก จานวน 1 เครื่อง รูปที่ 3.1.27 แสดงลักษณะเครื่องกวนสารแบบแท่งแม่เหล็ก ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี 23) กะละมัง จานวน 1 ใบ 24) ภาชนะสแตนเลส จานวน 3 ใบ รูปที่ 3.1.25 แสดงลักษณะกะละมัง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.26 แสดงลักษณะภาชนะสแตนเลส ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 31. 3.1.3 สารเคมี 1) โซเดียมไฮดรอกไซด์ ปริมาณ 200 กรัม 2) สารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ความเข้มข้น 30% m/v ปริมาตร 266.67 มิลลิลิตร 3) นากลั่น ปริมาตร 15 ลิตร รูปที่ 3.1.31 แสดงลักษณะน้ากลั่น ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.1.29 แสดงโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่มา : https://www.google.co.th/search รูปที่ 3.1.30 แสดงลักษณะไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 32. 3.2 ขันตอนการทาโครงงาน 1) ล้างตัวอย่างเปลือกหอยแครงด้วยนาสะอาด 2) นาไปตากแดดให้แห้ง ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย รูปที่ 3.2.1 แสดงการล้างตัวอย่างเปลือกหอยแครงด้วยน้าสะอาด ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.2 แสดงการตากแดดให้แห้ง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 33. 3) อบในอุปกรณ์อบอากาศร้อนเป็นเวลา 12 ชั่วโมง 4) ทุบให้แตกเป็นชินเล็ก ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย รูปที่ 3.2.3 แสดงการอบเปลือกหอยในอุปกรณ์อบอากาศร้อน ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.4 แสดงการทุบเปลือกหอยอย่างหยาบ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 34. 5) บดเปลือกหอยให้ละเอียดด้วยครกบดสาร 6) ร่อนด้วยตะแกรงร่อนที่มีขนาด 80 mesh ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย รูปที่ 3.2.5.1 แสดงการบดเปลือกหอยแครง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.5.2 แสดงลักษณะเปลือกหอยแครงที่บดแล้ว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.6 แสดงการร่อนผงเปลือกหอยด้วยตะแกรงร่อน ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 35. 7) เก็บใส่ภาชนะแห้งสนิท ตอนที่ 1 การเก็บตัวอย่างเปลือกหอยและเตรียมแคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอย รูปที่ 3.2.7 แสดงการเก็บผงเปลือกหอยแครงในภาชนะ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 36. 1) นาฟางข้าวมาคัดเลือกและตัดให้มีความยาว 2-3 เซนติเมตร 1. การเตรียมวัสดุและสารเคมี ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน รูปที่ 3.2.8 แสดงการตัดฟางข้าวให้ได้ขนาดที่ต้องการ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.9 แสดงลักษณะฟางข้าวที่ตัดแล้ว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 37. 2) ชั่งฟางข้าวให้ได้นาหนัก 1 กิโลกรัม เพื่อเตรียมไว้ต้มเยื่อกระดาษในขันตอนต่อไป ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน รูปที่ 3.2.10 แสดงการชั่งฟางข้าว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.11 แสดงฟางข้าว 1 กก. ในหม้อต้มเยื่อ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 38. 2. การต้มเยื่อกระดาษ ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน รูปที่ 3.2.12 แสดงการเตรียมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี 1) เตรียมโซเดียมไฮดรอกไซด์ให้ได้เป็นปริมาณ 200 กรัม เติมนาปริมาตร 500 มิลลิลิตร ก่อนจะนาไปละลาย ด้วยเครื่องกวนสารแบบแท่งแม่เหล็ก 2) เติมนาจนได้ปริมาตร 15 ลิตร และนาสารละลายที่ได้ ไปใช้ในขันตอนถัดไป
  • 39. ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน รูปที่ 3.2.13 แสดงลักษณะฟางข้าวขณะเริ่มต้มเยื่อ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.14 แสดงการต้มเยื่อฟางข้าว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.15 แสดงลักษณะเยื่อฟางข้าวที่ผ่านการล้างแล้ว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี 3) นาฟางข้าวและสารละลายที่เตรียมไว้มาใส่ในหม้อต้มเยื่อ และต้มโดยใช้เตาแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นเวลา 1 ชั่วโมง 4) คัดเฉพาะส่วนเยื่อมาล้างด้วยนาสะอาดและบิดนาออก ทาซาเป็น จานวนสามครัง
  • 40. 1) นาเยื่อที่พักมาวางไว้บนตะแกรง 2) เปิดนาผ่านให้เยื่อที่ขนาดเล็กกว่ารูตะแกรงผ่านออกมาได้โดยมีผ้าขาวบางรองรับ 3) เก็บเยื่อที่ไม่ผ่านผ้าขาวบางไปใช้ในขันตอนถัดไป 3. การคัดเลือกขนาดเนือเยื่อ ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน รูปที่ 3.2.16 แสดงการคัดเลือกขนาดเนือเยื่อ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 41. 4. การฟอกขาว ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 1) เตรียมนายาฟอกเยื่อ โดยการเตรียมสารละลายที่มี โซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้นข้น 1 M และ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้น 1% โดยมวล ต่อปริมาตร ปริมาตร 8 ลิตร 2) นาเยื่อฟางข้าวที่ได้มาใส่ในหม้อต้มเยื่อ แล้วเติม นายาฟอกเยื่อ รูปที่ 3.2.17 แสดงการฟอกขาวเยื่อฟางข้าว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 42. ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 3) ให้ความร้อนด้วยเตาแม่เหล็กไฟฟ้า โดยตังอุณหภูมิที่ 60 องศาเซลเซียส ใช้เวลาในการฟอก 1 ชั่วโมง 4) ทาการล้างเยื่อฟางข้าว เพื่อนาไปใช้ในขันตอนต่อไป รูปที่ 3.2.18 แสดงลักษณะของเยื่อฟางข้าวก่อนฟอกขาว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี รูปที่ 3.2.19 แสดงลักษณะของเยื่อฟางข้าวหลังฟอกขาวแล้ว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 43. 5. การขึนรูปกระดาษ ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 1) นาเยื่อที่ได้มาแบ่งเป็น 4 ส่วน โดยมีอัตราส่วน ชุดที่ 1 : ชุดที่ 2 : ชุดที่ 3 : ชุดที่ 4 เป็น 100 : 90 : 80 : 70 ตามลาดับ 2) เติมผงเปลือกหอยแครงที่เตรียมไว้ ในแต่ละชุดให้ได้อัตราส่วนร้อยละ 0, 10, 20 และ 30 โดยมวล ตามลาดับจากชุดที่ 1 ถึงชุดที่ 4 3) แยกแต่ละชุดเป็น 3 ส่วน ปริมาณเท่ากัน เพื่อขึนรูปและนาไปทดสอบหาค่าเฉลี่ย สาหรับเปรียบเทียบในลาดับถัดไป 4) ขึนรูปกระดาษด้วยเครื่องขึนรูปกระดาษ
  • 44. ตอนที่ 2 การเตรียมกระดาษจากฟางข้าวที่อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน รูปที่ 3.2.20 แสดงแผนภาพกระบวนการขึนรูปกระดาษด้วยเครื่องขึนรูปกระดาษ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี ฉีดกระจายเยื่อ วางทับเยื่อด้วยกระดาษรอง เพิ่มแรงกดเล็กน้อย เพื่อเยื่อติดกับกระดาษรอง เคาะเยื่อออก วางทับอีกด้านด้วยกระดาษรองอีก 1 ใบ ทาให้แห้งด้วยเครื่องอบกระดาษ ได้กระดาษสมบูรณ์
  • 45. ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 1. การทดสอบค่าความขาวสว่าง 1) นาตัวอย่างที่ได้ มาวัดค่าความขาวสว่าง โดยใช้สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ Technidye Color Touch PC ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ ด้วย โปรแกรม Color Touch 2) นาค่าที่ได้จากการทดสอบมาเทียบกับค่า มาตรฐาน ISO 2470 เพื่อพิจารณาคุณภาพของ กระดาษ รูปที่ 3.3.1 แสดงการทดสอบค่าความขาวสว่างด้วยสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 46. ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 2. การทดสอบค่าความทึบแสง 1) นาตัวอย่างที่ได้ มาวัดค่าความทึบแสงโดย ใช้สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ Technidye Color Touch PC ก่อนแปรผลเป็นค่าร้อยละ ด้วย โปรแกรม Color Touch 2) นาค่าที่ได้จากการทดสอบมาเทียบกับค่า มาตรฐาน ISO 2471 เพื่อพิจารณาคุณภาพของ กระดาษ รูปที่ 3.3.2 แสดงการทดสอบค่าความทึบแสงด้วยสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 47. ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 3. การทดสอบค่าความแข็งแรง 1) ตัดชินตัวอย่างความกว้าง 1.5 เซนติเมตรและความยาว ไม่น้อยกว่า 8 เซนติเมตร 2) นาไปวัดค่า Load ด้วยเครื่องวัดความต้านแรงดึง TOSEIKI STROGRAPHE - S หน่วยเป็นนิวตัน 3) หาค่าความแข็งแรงโดยใช้สูตร 4) นาค่าที่ได้จากการคานวณมาเทียบกับค่ามาตรฐาน ISO 1924/1 เพื่อพิจารณาคุณภาพของกระดาษ รูปที่ 3.3.3 แสดงการทดสอบค่าความแข็งแรงด้วย เครื่องวัดความต้านแรงดึง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี Tensile strength (kN/m) = Load (kN) / Width (m)Tensile strength (kN/m) = Load (kN) / Width (m)
  • 48. ตารางแสดงกระบวนการปฏิบัติงาน เวลา รายการ ปี 2562 ปี 2563 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 1.กาหนดหัวข้อโครงงาน 2. เขียนเค้าโครงโครงงาน 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และตัวอย่างผงเปลือกหอย 4. เตรียมกระดาษจากฟางข้าวใน อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 5. ทดสอบและเปรียบเทียบ คุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าว 6. เขียนรายงานผล 7. นาเสนอของโครงงานฉบับสมบูรณ์ 8. จัดทาโปสเตอร์นาเสนอ 9. นาเสนอโครงงานในงานนิทรรศการ Open House
  • 50. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ทดลองซ้า ครังที่ ค่าความขาวสว่าง (%) ค่าเฉลี่ย (%) 0% 1 66.51 66.122 66.44 3 65.40 10% 1 71.20 70.922 70.92 3 70.65 20% 1 74.00 74.052 74.09 3 74.05 30% 1 75.77 75.682 76.01 3 75.27 4.1 ผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบค่าความขาวสว่าง ตารางที่ 4.1 แสดงผลการทดสอบค่าความขาวสว่างของแต่ละกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองซ้าเป็นจ้านวน 3 ครัง จากผลการทดสอบค่าความขาวสว่างของกระดาษจาก ฟางข้าวที่ผสมผงเปลือกหอยแครงที่อัตราส่วนต่าง ๆ ได้แก่ 10%, 20% และ 30% โดยใช้สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ เทียบกับ ชุดควบคุมที่ไม่ได้ผสมผงเปลือกหอยแครง พบว่าค่าดังกล่าว แปรผันตามอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงโดยที่อัตราส่วน 0%, 10%, 20% และ 30% จะมีค่าความขาวสว่างโดยเฉลี่ย เป็น 66.12%, 70.92%, 74.05% และ 75.68% ตามล้าดับ จะเห็นได้ว่าที่อัตราส่วน 30% จะให้ค่าความขาวสว่างสูงที่สุด รองลงมาคือ 20% และ 10% ตามล้าดับ และน้อยที่สุดที่ อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครง 0%
  • 51. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน กราฟที่ 4.3 แสดงการเปรียบเทียบค่าความสว่างโดยเฉลี่ยที่วัดได้จากแต่ละกลุ่มตัวอย่าง อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ค่าความขาวสว่างโดยเฉลี่ย (%) ค่าต่างมาตรฐาน (%) 0% 66.12 -8.88 10% 70.92 -4.08 20% 74.05 -0.95 30% 75.98 0.98 ตารางที่ 4.2 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความขาวสว่างของแต่ละอัตราส่วน ค่ามาตรฐานความขาวสว่าง = 75% จากตารางที่ 4.2 พบว่าที่อัตราส่วน 30% มีค่า ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ค่าความขาวสว่างโดยเฉลี่ย (%) ค่าต่างมาตรฐาน (%) 0% 66.12 -8.88 10% 70.92 -4.08 20% 74.05 -0.95 30% 75.98 0.98 ตารางที่ 4.2 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความขาวสว่างของแต่ละอัตราส่วน ค่ามาตรฐานความขาวสว่าง = 75% จากตารางที่ 4.2 พบว่าที่อัตราส่วน 30% มีค่า ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง
  • 52. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน 4.2 ผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบค่าความทึบแสง ตารางที่ 4.4 แสดงผลการทดสอบค่าความทึบแสงของแต่ละกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองซ้าเป็นจ้านวน 3 ครัง ท้านองเดียวกัน จากผลการทดสอบค่าความทึบแสงของ กระดาษจากฟางข้าวด้วยสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ พบว่าค่าดังกล่าว แปรผันตามอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงโดยที่อัตราส่วน 0%, 10%, 20% และ 30% จะมีค่าความทึบแสงโดยเฉลี่ยเป็น 95.26%, 95.98%, 96.99% และ 97.83% ตามล้าดับ จะเห็น ได้ว่าที่อัตราส่วน 30% จะให้ค่าความทึบแสงสูงที่สุด รองลงมา คือ 20% และ 10% ตามล้าดับ และน้อยที่สุดที่อัตราส่วนผสมผง เปลือกหอยแครง 0% อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ทดลอง ซ้าครังที่ ค่าความทึบแสง (%) ค่าเฉลี่ย (%) 0% 1 95.51 95.262 94.84 3 95.44 10% 1 96.34 95.982 95.97 3 96.04 20% 1 97.10 96.992 97.07 3 96.81 30% 1 97.73 97.832 97.86 3 97.89
  • 53. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน กราฟที่ 4.6 แสดงการเปรียบเทียบค่าความทึบแสงโดยเฉลี่ยที่วัดได้จากแต่ละกลุ่มตัวอย่าง ตารางที่ 4.5 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความทึบแสงของแต่ละอัตราส่วน ค่ามาตรฐานความทึบแสง = 77% จากตารางที่ 4.5 พบว่าที่อัตราส่วน 30% มีค่า ต่างมาตรฐานมากที่สุด โดยที่ทุกอัตราส่วนให้ค่าต่าง มาตรฐานเป็นบวกทังสิน อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ค่าความทึบแสงโดยเฉลี่ย (%) ค่าต่างมาตรฐาน (%) 0% 95.26 18.26 10% 95.98 18.98 20% 96.99 19.99 30% 97.83 20.83
  • 54. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ทดลองซ้า ครังที่ Load (N) Width (cm) Tensile strength* (kN/m) ค่าเฉลี่ย (kN/m) 0% 1 36.0 1.5 2.40* 2.632 39.0 1.5 2.60* 3 43.4 1.5 2.89* 10% 1 35.0 1.5 2.33* 2.292 34.2 1.5 2.28* 3 34.0 1.5 2.27* 20% 1 30.4 1.5 2.03* 2.122 35.4 1.5 2.36* 3 29.4 1.5 1.96* 30% 1 32.2 1.5 2.15* 1.932 28.4 1.5 1.89* 3 26.2 1.5 1.75* 4.3 ผลและวิเคราะห์ผลการทดสอบค่าความแข็งแรง ตารางที่ 4.7 แสดงผลการทดสอบค่าความแข็งแรงของแต่ละกลุ่มตัวอย่างโดยทดลองซ้าเป็นจ้านวน 3 ครัง ในขณะเดียวกัน จากผลการค้านวณค่าความ แข็งแรงของกระดาษจากฟางข้าวด้วยค่าที่ได้จาก เครื่องวัดความต้านแรงดึง พบว่าค่าดังกล่าวแปรผกผัน กับอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงโดยที่อัตราส่วน 0%, 10%, 20% และ 30% จะมีค่าความแข็งแรงโดย เฉลี่ยเป็น 2.63, 2.29, 2.12 และ 1.93 kN/m ตามล้าดับ จะเห็นได้ว่าที่อัตราส่วน 0% จะให้ค่าความ แข็งแรงสูงที่สุด รองลงมาคือ 10% และ 20% ตามล้าดับ และน้อยที่สุดที่อัตราส่วนผสมผงเปลือก หอยแครง 30%
  • 55. การเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้อัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครงที่แตกต่างกัน กราฟที่ 4.9 แสดงการเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงโดยเฉลี่ยที่วัดได้จากแต่ละกลุ่มตัวอย่าง อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ค่าความแข็งแรงโดยเฉลี่ย (kN/m) ค่าต่างมาตรฐาน (kN/m) 0% 2.63 0.23 10% 2.29 -0.11 20% 2.12 -0.28 30% 1.93 -0.47 ค่ามาตรฐานความแข็งแรง = 2.4 kN/m ตารางที่ 4.8 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความแข็งแรงของแต่ละอัตราส่วน จากตารางที่ 4.8 พบว่าที่อัตราส่วน 0% มีค่า ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง อัตราส่วนผสม ผงเปลือกหอยแครง ค่าความแข็งแรงโดยเฉลี่ย (kN/m) ค่าต่างมาตรฐาน (kN/m) 0% 2.63 0.23 10% 2.29 -0.11 20% 2.12 -0.28 30% 1.93 -0.47 ค่ามาตรฐานความแข็งแรง = 2.4 kN/m ตารางที่ 4.8 แสดงค่าต่างค่ามาตรฐานความแข็งแรงของแต่ละอัตราส่วน จากตารางที่ 4.8 พบว่าที่อัตราส่วน 0% มีค่า ต่างมาตรฐานมากที่สุด และเป็นเพียงอัตราส่วนเดียว ที่ค่าที่ได้เป็นบวก กล่าวคือได้มาตรฐานนั่นเอง
  • 56. บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ
  • 57. ตอนที่ 1 จากการศึกษากระบวนการทากระดาษจากฟางข้าว พบว่าเยื่อที่ได้จากการต้มเยื่อด้วยสารละลาย โซเดียมไฮดรอกไซด์ คัดเลือกขนาดเนื้อเยื่อ และฟอกขาวด้วยสารละลายไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ มีความ สมบูรณ์และสม่าเสมอ แต่ในการฟอกขาวนั้น พบว่าใช้เวลาน้อยเกินไป คือ 1 ชม. เยื่อที่ได้จึงมีสีที่ไม่ได้ขาวนวล มาก ซึ่งส่งผลให้กระดาษมีค่าความขาวสว่างต่าหลังนาไปขึ้นรูปกระดาษ ตอนที่ 2 จากการศึกษาคุณสมบัติของผงหอยแครงต่อคุณภาพของกระดาษจากฟางข้าว พบว่า ค่าความ ขาวสว่างและค่าความทึบแสงจะแปรผันตรงกับอัตราส่วนผสมผงเปลือกหอยแครง แต่ค่าความแข็ง แรงนั้นจะแปรผกผันกับอัตราส่วน ซึ่ง ค่าความขาวสว่างและค่าความทึบแสงจะแปรผันตรงกับอัตราส่วนผสมผง เปลือกหอยแครง แต่ค่าความแข็งแรงนั้นจะแปรผกผันกับอัตราส่วน ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลการใช้ประโยชน์ แคลเซียมคาร์บอเนต จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ คือ ผงเปลือกหอยแครงนั้นจะช่วยให้ กระดาษมีค่าความขาวสว่างและค่าความแข็งแรงมากขึ้น เนื่องจากผงเปลือกหอยแครงนั้นมีสีขาวและสามารถ สะท้อนแสงได้มาก และเพราะอนุภาคของผงเปลือกหอยแครงจะไปอุดช่องว่างระหว่างเส้นใยของกระดาษส่งผล ให้แสงผ่านได้ยาก ในขณะเดียวกันก็จะส่งผลให้กระดาษมีค่าความแข็งแรงลดลง ทั้งนี้เพราะอนุภาคของผง เปลือกหอยแครงจะทาให้เส้นใยของกระดาษสามารถเกี่ยวพันกันได้ลดลง จึงส่งผลให้มีความแข็งแรงลดลง
  • 58. ตอนที่ 3 จากการเปรียบเทียบคุณสมบัติของกระดาษจากฟางข้าวเมื่อใช้ปริมาณผงหอยแครงในอัตราส่วนที่ ต่างกัน พบว่าเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยในอัตราส่วนที่มากขึ้นก็จะมีค่าความขาวสว่างที่สูงขึ้น และสูงถึง 75.68% ในอัตราส่วน 30% ซึ่งเป็นอัตราส่วนเดียวที่สูงกว่าค่ามาตรฐาน นอกจากนี้ค่าความทึบแสงก็สูงขึ้น เช่นกัน โดยทุกอัตราส่วนมีค่าความทึบแสงที่ได้มาตรฐาน และมากสุดที่ 97.83% ในอัตราส่วน 30% แต่กลับ พบว่าค่าความแข็งแรงนั้นลดลง แปรผกผันกับอัตราส่วน โดยกระดาษที่มีอัตราส่วน 10% 20% และ 30% มีค่า ความแข็งแรงลดลงตามลาดับและต่ากว่าค่ามาตรฐานความแข็งแรงทั้งสิ้น ในขณะที่กระดาษที่ไม่เติมผง หอยแครงเลยมีค่าความแข็งแรงสูงสุดและได้มาตรฐานที่ 2.63 kN/m
  • 59. 1. อาจเปลี่ยนเส้นใยในการทากระดาษเป็นเส้นใยชนิดยาว เช่น ปอสา เพื่อให้กระดาษมีความแข็งแรงมากขึ้น เพราะ เส้นใยจะสามารถเกี่ยวพันกันได้ดีกว่าเส้นใยชนิดสั้น 2. ควรใช้ตะแกรงร่อนที่มีความถี่สูงขึ้น เพื่อให้อนุภาคผงเปลือกหอยแครงสามารถยึดติดกับกระดาษได้มาก 3. ควรฟอกขาวด้วยเวลาที่นานยิ่งขึ้น เพื่อให้กระดาษมีค่าความขาวสว่างมากขึ้นเนื่องจาก 4. นาไปใช้ร่วมกับสารตัวเติมจากธรรมชาติชนิดอื่น ๆ ในอุตสาหกรรมกระดาษ
  • 60. เอกสารอ้างอิง กรรมวิธีการผลิตกระดาษ. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://www.paperlandonline.com/knowledge.php?ID=7. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2562) การใช้ประโยชน์แคลเซียมคาร์บอเนต. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://www.dpim.go.th/articles/article?catid= 124&articleid=255. (สืบค้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2562) ชัยพร และคณะ. การพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษฟางข้าวแบบพืนบ้าน. 2550. งานวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2562) ธนพรรณ บุญรัตกลิน. การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระดาษจากฟางข้าว. 2545. งานวิจัยสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตโชติเวช. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562) ฟางข้าว. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://puechkaset.com/ฟางข้าว. (สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2562) Mustakimah M., Suzana Y., Saikat M., 2012. Decomposition study of calcium carbonate in cockle shell. Journal of Engineering Science amd Technology. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562) Smith, Bruce D. 1998. The Emergency of Agriculture. Scientific American Library, A Division of HPHLP, New York, ISBN 0-7167-6030-4. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562) Sudarat Homhual. หอยแครง. [ไม่ปรากฏ]. สืบค้นจาก : http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action= viewpage&pid=147. (สืบค้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562)
  • 61. ภาคผนวก ภาพแสดงเยื่อกระดาษจากฟางข้าวที่เตรียมแล้ว ถ่ายโดย นางสาวกฤตอร โสภณพงษ์ ภาพแสดงการต้มเยื่อกระดาษโดยใช้ฟางข้าว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี ภาพแสดงตัวอย่างผงเปลือกหอยแครง ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 62. ภาคผนวก ภาพแสดงกระดาษจากฟางข้าว ชุดที่ 1 และชุดที่ 4 ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี ภาพแสดงเยื่อฟางข้าวที่ผ่านการฟอกขาวแล้ว ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี ภาพแสดงเยื่อฟางข้าวที่ผ่านการคัดขนาดโดยสมบูรณ์ ถ่ายโดย นายภูริเดช พิมพ์ชัยศรี
  • 63. Thank youFor your kind attention. Phooridet Pimchaisri
  • 64. Thank youFor your kind attention. Condition Load (N) Stroke (mm) Tensile strength (k CTRL – 1 36.0 1.8 2.40 CTRL – 2 39.0 1.2 2.60 CTRL – 3 43.4 2.2 2.89 CON1 – 1 35.0 1.4 2.33 CON1 – 2 34.2 1.6 2.28 CON1 – 3 34.0 1.6 2.27 CON2 – 1 30.4 1.3 2.03 CON2 – 2 35.4 1.5 2.36 CON2 – 3 29.4 1.5 1.96 CON3 – 1 32.2 1.4 2.15 CON3 – 2 28.4 1.3 1.89 CON3 – 3 26.2 1.1 1.75 Condition Tensile strength (kN/m) CTRLavg 2.63 CON1avg 2.29 CON2avg 2.12 CON3avg 1.93 Condition Load (N) Stroke (mm) Tensile strength (kN/m) CTRLavg 39.47 1.73 2.63 CON1avg 34.4 1.53 2.29 CON2avg 31.73 1.43 2.12 CON3avg 29.93 1.27 1.93