SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง
การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวกวินธิดา ถาวร เลขที่ 1
2. นางสาวชนิษฐา ศิริธัญญา เลขที่ 5
3. นางสาวธนภรณ์ ลิ่มกุล เลขที่ 11
4. นางสาวธมนพัชร์ จิระพรชัยศิริ เลขที่ 12
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78
สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทคัดย่อ
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม มี
จุดประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอริลลินมีผลต่อความสูงของต้นเข็มหรือไม่ โดยทาการแบ่งชุดการทดลอง
เป็น 3 กลุ่ม โดยให้ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ต่างกัน โดยรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้เรื่อง
ฮอร์โมนพืช และการเจริญเติบโตของพืช ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง ผลของการทดลอง และสรุปผล
การทดลอง
จากการทดลองนี้ ทาให้ทราบว่าชุดการทดลอง Low dose มีอัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงมากที่สุด เท่ากับ 5
เซนติเมตรต่อระยะเวลา 2 เดือน และชุด High dose มีอัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงต่าที่สุด เท่ากับ 0.5
เซนติเมตรต่อระยะเวลา 2 เดือน
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็มจะ
สาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับความช่วยเหลือจากอาจารย์ประจาวิชา อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้ และ
แนวทางการศึกษา พร้อมทั้งให้คาแนะนาที่มีประโยชน์อย่างมากในการดูแลต้นพืช รวมถึงเพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้
ความช่วยเหลือมาโดยตลอด
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนา 1-2
- ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
- สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
- อาจารย์ผู้สอน
- ที่มาและความสาคัญ
- เป้าหมายในการศึกษา
- วิธีการเก็บข้อมูล
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3-8
- พืชที่ทดลอง
- ฮอร์โมนที่ทดลอง
บทที่ 3 การดาเนินงาน 9-10
- วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
- ขั้นตอนการทาโครงงาน
บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง 11-13
- ตารางบันทึกผลการทดลอง
- กราฟแสดงผลการทดลอง
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 14
- สรุปผลการทดลอง
- ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16-18
1
บทที่ 1 บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวกวินธิดา ถาวร เลขที่ 1
2. นางสาวชนิษฐา ศิริธัญญา เลขที่ 5
3. นางสาวธนภรณ์ ลิ่มกุล เลขที่ 11
4. นางสาวธมนพัชร์ จิระพรชัยศิริ เลขที่ 12
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78
สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากเข็มเป็นพืชที่คนไทยเชื่อว่าความหมายดี ได้นามาใช้ประกอบพิธีไหว้ครูและพิธีกรรมต่างๆ อีก
ทั้งนิยมปลูกเพื่อประดับบ้านเป็นต้นไม้ริมรั้วและนาส่วนต่างๆของต้นเข็มมาเป็นยารักษาโรคหรือยาบารุง
เนื่องจากเข็มมีสรรพคุณมากมาย นอกจากนี้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) มีผลต่อการควบคุมการ
เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก
การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล
เป้ าหมายในการศึกษา
เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอริลลินมีผลต่อความสูงของต้นเข็มหรือไม่
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีความเข้มข้นต่างกันจะ
มีผลต่อความสูงของต้นเข็มแตกต่างกันอย่างไร
1
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์
ต่อผู้ที่ต้องการจะนาโครงงานนี้ไปต่อยอดในอนาคตต่อไป
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นเข็มมีผลต่อความสูงของต้นมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนที่ความเข้มข้นมีผลต่อความสูงของต้นมากที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่
ความเข้มข้น 35% จะทาให้ลาต้นมีความสูงมากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม
2. เพื่อเปรียบเทียบความสูงของต้นเข็มที่ได้นับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างกัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องหน้าที่ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นเข็มไม่เท่ากัน
3. เป็นการส่งเสริมให้ผู้ทดลองได้ศึกษาเกี่ยวกับต้นเข็มมากขึ้น
ขอบเขตการทาโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะความสูงของต้นเข็ม
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม คือ ความสูงของต้นเข็ม
ตัวแปรควบคุม คือ ระยะเวลาที่ทาการทดลอง ความสม่าเสมอในการรดน้าและให้ฮอร์โมน
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
วันที่ 2 มิถุนายน 2560 – 31 กรกฎาคม 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
การวัดความสูงของต้นเข็ม โดยใช้ไม้บรรทัดที่มีมาตรฐานวัดความสูงของต้นไม้ตั้งแต่ลาต้นที่เหนือดิน
จนถึงปลายยอดสูงสุด พร้อมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึก
2
1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. พืชที่ทดลอง
ข้อมูลทั่วไป
เข็ม
ชื่อพื้นเมือง : เข็ม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora , spp.
ชื่อสามัญ (Common Name) : West Indian Jasmine
ชื่อวงศ์ (Family Name) : Rubiaceae
ลักษณะของดอกเข็ม
เป็นไม้พุ่ม ออกดอกเป็นช่อที่ปลายยอดหรือกิ่งข้าง ดอกมีหลากสีด้วยกันคือ สีแดง ส้ม ชมพู เหลือง และขาว
เป็นต้น
ดอกเข็มมีลักษณะเป็นหลอดเล็ก ๆ ที่ปลายหลอดมีกลีบแยกจากกันเป็น 4 กลีบ ถ้าดอกซ้อนอาจจะมีถึง 8
กลีบ หรือมากกว่านั้น เกสรตัวผู้ติดอยู่ที่หลอดดอกด้านบน และอยู่สลับกับกลีบ เกสรตัวเมียยื่นเลยหลอดดอก
ออกมา มี 2 แฉก เข็มจะออกดอกตลอดทั้งปี น้าหวานจากดอกเข็มมีปริมาณมาก เราสามารถดูดน้าหวานด้วยปาก
โดยตรงจากดอกเข็มแต่ละดอกได้โดยง่าย
3
ชนิดของต้นเข็ม
ต้นเข็ม มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด และจะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์ จุดเด่นที่เห็นง่ายคือสีที่แตกต่าง
กันของดอกเข็ม
1. ต้นเข็มสีชมพู หรือบางที่เรียกว่า เข็มพิษณุโลกชมพู เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ทรงพุ่มดอกอัดแน่นทึบ ดอก
สีชมพูหวาน มักจะออกดอกเป็นพุ่มเล็ก ๆ กระจุ๋มกระจิ๋ม ต้นเข็มพันธุ์นี้ออกดอกตลอดทั้งปี อีกทั้งยัง
ออกดอกค่อนข้างเยอะ จึงเป็นพันธุ์เข็มที่นิยมปลูกไม่น้อยเลยทีเดียว
2. ต้นเข็มขาว ดอกเข็มพันธุ์นี้มีจุดเด่นอยู่ที่ความหอมละมุน และลักษณะดอกตูมสีเขียวอ่อน แต่พอโต
ขึ้นมาก็บานแผ่กลีบดอกกระจุ๋มกระจิ๋มสีขาว 4 แฉก พร้อมเกสรที่คอยแทรกอยู่ข้างกลีบดอก ใบโค้งมน
มีขนาดใหญ่ คอยรองรับกลีบดอก ดอกเข็มขาวเป็นไม้พุ่มไม้ขนาดกลาง หากโตเต็มที่อาจมีความสูง
ประมาณ 2 เมตรเลยทีเดียว
4
3. ต้นเข็มแดง ต้นเข็มแดงเป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงกลาง มีขนาดตั้งแต่ 0.3-5 เมตร เรือนดอกเป็นพุ่มขนาด
ใหญ่ ที่อัดแน่นไปด้วยกลีบดอกย่อยสีแดง แน่นขนัด กลีบดอกเวลาบานจะแผ่กลีบ 4-6 แฉก มีเกสรสี
เหลืองแซมข้างกลีบประมาณ 4 อัน ส่วนใบเป็นใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ลักษณะใบหนาและแข็ง สีเขียว
สด จัดว่าเป็นพันธุ์เข็มที่นิยมปลูกตามบ้าน และนาไปใช้
การขยายพันธุ์
การเพาะเมล็ด และด้วยการตอน
สรรพคุณของดอกเข็ม
ราก : มีรสหวานใช้รับประทานแก้โรคตา เจริญอาหาร
ใบ : ใช้เป็นยาฆ่าพยาธิ ดอกแก้โรคตาแดง ตาแฉะ ผลแก้โรคริดสีดวงในจมูก
เปลือก : ใช้ตาคั้นเอาน้าหยอดหูฆ่าแมงคาเรืองเข้าหู
การดูแล
1. แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง
2. น้า ต้องการปริมาณน้าปานกลาง สามารถทนต่อความแห้งแล้ง การให้น้า 3-5 วัน/ครั้ง
3. ดิน ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย มีความชุ่มชื้น
4. ปุ๋ ย ใส่ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก อัตรา 0.5-1 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ 5-6 ครั้ง/ปี
5. การขยายพันธ์ การปักชา การเพาะเมล็ด การตอน วิธีที่ได้ผลดีและนิยมกัน คือ การปักชาและการตอน
5
6. โรค ไม่ค่อยพบและมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อโรคได้ดี
การบารุงรักษา
การบารุงรักษาในระยะแรกๆ ควรให้น้าสม่าเสมอ เป็นประจา และควรพรวนดินให้รากเจริญเติบโตได้ดี
ศัตรูพืชของดอกเข็มไม่ค่อยมี แต่ถ้าจะมีก็เป็นหนอนผีเสื้อชนิดที่มีขน หลังจากที่ต้นเริ่มแข็งแรงไม่จาเป็นต้องลด
น้าบ่อย ลดสัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้งก็พอ หรือว่าจะไม่ลดเลยก็ได้ (ถ้าปลูกในพื้นดิน เพราะสามารถทนแล้งได้ดีมาก)
2. ฮอร์โมนที่ทดลอง
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและ
มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ
การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดย
นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค
Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อรา G. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่า
ทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อ
ว่าจิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546
พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
6
คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะหืโดยวิถึเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึงเปลี่ยนรูปใน
เอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้จิบเบอเรลลินทั้งหมดมีโครงสร้าง
หลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืชชั้นสูงเริ่มจาก
สร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึง
เปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จิบ
เบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) จัดเป็นสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid)
ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 80 ชนิด ดังตัวอย่าง
มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว
สาหร่ายสีน้าตาลและสาหร่ายสีแดง รวมทั้งไมคอไรซาในรากกล้วยไม้ ในรา วิถีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้ายกับ
พืชชั้นสูง แม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถั่วที่เกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมากกว่าราก
ข้างเคียงที่ไม่เกิดปม Phaseolus lunatus ที่เติมเชื้อ Bradyrhizobium sp. ที่จาเพาะต่อกัน ส่วนปล้องจะยาวกว่าต้น
ที่ได้รับเชื้อชนิดเดียวกันแต่ไม่จาเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมที่มีแบคทีเรียที่กระตุ้นการยืดยาวของ
ปล้องได้
จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น Azotobactor Pseudomonas) ยีสต์ และราได้
เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย
การออกฤทธิ์ของจิบเบอเรลลิน
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินได้แก่
1. กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น
GA1 GA3 ent-Gibberellane ent-Kaurene
7
2. กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน
ปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโครโมลาร์
3. จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก บริเวณ
ที่มีการสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้างจิบเบอเรลลินใน
อับละอองเรณูนี้จะควบคุมพัฒนาการของดอกทั้งหมด
4. กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติด
ผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้
5. กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ
เรลลินมากขึ้น และส่งผลต่อการตอบสนองของเนื้อเยื่อต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น Arabidopsis และ
ผักกาดหอมซึ่งต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิ่มจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการงอกของพืชเหล่านี้
เช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง
6. การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิด
ดอกตัวผู้มากขึ้นได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
7. การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด
โดยข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว
8. หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
9. กระตุ้นการทางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรั่ง
10. ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะ
อ่อนวัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้
11. กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วงกลางวัน
ของพืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
8
บทที่ 3 การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. พืช ต้นเข็ม
2. ฮอร์โมน จิบเบอริลลิน
3. อุปกรณ์
ขวดสเปรย์สาหรับฉีดฮอร์โมน ขนาด 250 มิลลิลิตร 3 ขวด
กระถางต้นไม้ 9 กระถาง
ถุงพลาสติกรองกระถางต้นไม้ 9 ถุง
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนเลือกประเภทของฮอร์โมน,ชนิดของต้นไม้ และ ส่วนที่จะศึกษาซึ่งก็คือ การศึกษาผลของ
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นเข็ม
2. ศึกษาเเละค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1 ต้นเข็ม
2.2 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
3. วางแผนรายละเอียดของการทดลองโดยแบ่งกลุ่มการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มฮอร์โมน high dose
(35%) , lose dose (30%) และ control (0%) เพื่อศึกษาผลของความสูงของต้นเข็มในเเต่ละกลุ่มการทดลอง
4. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
4.1 ต้นเข็ม 9 ต้น
4.2 ถุงพลาสติก 9 ใบ
4.3 กระบอกฉีดน้า 3 ขวด
4.4 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 1 ขวด
4.5 ไซริงค์1 อัน
4.6 ไม้บรรทัด 1 อัน
4.7 สมุดจดบันทึก 1 เล่ม
9
5. จัดทาข้อมูลที่ใช้ระบุความเข้มข้นของฮอร์โมนและต้นไม้แต่ละต้นที่ใช้ในการทดลอง
6. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
6.1 จัดเตรียมต้นเข็ม 9 ต้น โดยเเบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น
6.2 จัดเตรียมฮอร์โมน โดยเเบ่งตามความเข้มข้น ออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มฮอร์โมน high dose (35%) , lose
dose (30%) และ control (0%)
6.3 เขียนข้อมูลติดไว้บริเวณกระถางและกระบอกฉีด
6.4 จากนั้นเมื่อเตรียมการทดลองเรียบร้อยเเล้ว ก็ทาการทดลองโดยการรดน้าต้นทุกวัน ฉีดฮอร์โมนทุกๆ
วัน จันทร์ พุธ ศุกร์
6.5 วัดและจดบันทึกความสูงของต้นไม้ทุกๆ 2 อาทิตย์เพื่อหาความเฉลี่ยของแต่ละชุดการทดลอง
7. สรุปผล อภิปราย และนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
8. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
9. จัดทาสื่ออภิปราย แสดงผลการทดลอง
10. นาเสนอโครงงาน
10
บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ความสูงของต้นเข็มในหน่วยเซนติเมตร ( ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน )
* วัดความสูงของต้นไม้ทุกๆ 2 สัปดาห์
* สัญลักษณ์ – แทนต้นไม้ที่ตายระหว่างการทดลอง
ชุดต้นเข็ม
วันที่บัน
ทึกผล
High dose Low dose Control
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3
ค่าเฉลี่ย
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3
ค่าเฉลี่ย
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3
ค่าเฉลี่ย
7 มิถุนายน
2560
15.00 16.00 17.00 16.00 16.00 20.00 19.00 18.33 14.00 20.00 13.00 15.67
21 มิถุนายน
2560
15.00 16.50 17.00 16.17 18.00 20.00 20.00 19.33 15.00 20.50 13.50 16.33
5 กรกฎาคม
2560
15.30 16.80 17.00 16.37 19.00 20.50 21.00 20.17 16.00 21.00 14.00 17.00
19 กรกฎาคม
2560
15.50 - 17.00 16.43 19.50 - 22.00 20.67 17.50 - 15.00 17.83
31 กรกฎาคม
2560
15.50 - 17.00 16.43 21.00 - 24.00 21.83 19.00 - 16.00 18.67
ความสูงที่
เปลี่ยนแปลง
ไปโดยเฉลี่ย
0.43 3.50 3.00
11
กราฟแสดงผลการทดลอง
High dose
Low dose
14
14.5
15
15.5
16
16.5
17
17.5
ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3
7/6/2560
21/6/2560
5/7/2560
19/7/2560
31/7/2560
0
5
10
15
20
25
30
ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3
7-มิ.ย.-60
21-มิ.ย.-60
5-ก.ค.-60
19-ก.ค.-60
31-ก.ค.-60
12
Control
กราฟเส้นแสดงค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของแต่ละกลุ่มการทดลอง
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากการทดลองพบว่า เมื่อพิจารณาความสูงเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นแต่ละกลุ่มจะได้ว่า กลุ่มHigh doseมีความสูงเฉลี่ย
เพิ่มขึ้นน้อยที่สุดและกลุ่มLow doseมีความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากที่สุด พบว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลทาให้ต้น
เข็มสูงขึ้น
0
5
10
15
20
25
ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3
7/6/2560
21/6/2560
5/7/2560
19/7/2560
31/7/2560
10
15
20
25
High dose
Low dose
Control
13
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
ต้นเข็มทั้ง 3 ชุดการทดลอง มีการเจริญเติบโตที่ไม่เท่ากัน เมื่อคานวณความสูงที่เพิ่มขึ้นจากต้นไม้ที่ยังมี
ชีวิตอยู่ในแต่ละชุดการทดลอง จะได้ว่าความสูงเฉลี่ยของชุดการทดลอง Low dose มีค่ามากสุด เท่ากับ 5
เซนติเมตร ชุดการทดลอง Control เท่ากับ 4 เซนติเมตร และชุดการทดลอง High dose เท่ากับ 0.5 เซนติเมตร ซึ่ง
เป็นค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุด ดังนั้น ชุด Low dose จะมีอัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงมากที่สุด และชุด High dose มี
อัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงต่าที่สุด จึงสามารถสรุปได้ว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่เหมาะสม
จะทาให้ค่าเฉลี่ยความสูงมีค่ามากที่สุด
จากงานวิจัยของคณะผู้วิจัย สังกัด รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร อัญชนา จาปา คณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของสารจิบเบอเรลลินต่อการเจริญเติบโตและการ
พัฒนาช่อดอกว่านนางคุ้ม กล่าวไว้ว่า “การนาสารจิบเบอเรลลินมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆนั้นจาเป็นต้องหา
ระดับการใช้สารจิบเบอเรลินที่เหมาะสม ถ้าความเข้มข้นของสารและระยะเวลาที่ให้สารไม่เหมาะสม จะทาให้
พืชไม่พัฒนาอาจทาให้พืช เกิดอาการเหลือง ซีด เหี่ยว และพืชอาจตายได้ ความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลินจะ
แปรผันไปตามชนิดของพืชและส่วนต่างๆของพืช ความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลินโดยทั่วไปการให้สารที่เร่ง
การเจริญเติบโตในส่วนต่างๆของพืชควรใช้ในปริมาณที่เหมาะสมแก่พืช เพื่อเป็นการป้ องกันไม่ให้เกิดอันตราย
หรือ เกิดอาการผิดปกติทางพันธุ์กรรม”
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
คณะผู้วิจัยได้ประสบปัญหาระหว่างทาการทดลองมากมาย เช่น การให้ปริมาณน้าที่น้อยเกินไปแก่ต้น
เข็ม ทาให้ต้นเข็มเหี่ยวแห้ง และตายในที่สุด ดังนั้นควรจะมีการศึกษาล่วงหน้าอย่างละเอียดเกี่ยวกับวิธีการดูแล
รักษาต้นไม้ชนิดนั้นๆ หรือการได้รับปริมาณน้ามากเกินไปในฤดูฝน ทาให้คณะผู้จัดทาไม่ได้รดน้าตามที่ได้
วางแผนไว้ แต่เนื่องจากปัญหานี้คณะผู้จัดทาไม่สามารถแก้ไขได้ หรือการวางต้นไม้ในที่ที่แสงแดดไม่ส่องถึง
อาจทาให้ต้นไม้โตช้ากว่าปกติ ดังนั้นควรวางต้นไม้ในที่ที่แสงแดดส่องถึงพอประมาณ ไม่มากหรือน้อย
จนเกินไป
14
บรรณานุกรม
"จิบเบอเรลลิน."
[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8
%9A%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%
B8%99
วันที่สืบค้น (31 กรกฎาคม 2560)
"งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา."
[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/tubotany2012/gallery/dxk-khem
วันที่สืบค้น (31 กรกฎาคม 2560)
"ต้นเข็ม ต้นไม้ริมรั้วสีสวย ปลูกประดับหน้าบ้าน."
[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
https://home.kapook.com/view96253.html
วันที่สืบค้น (31 กรกฎาคม 2560)
15
ภาคผนวก
ภาพกระบอกฉีดฮอร์โมน
ภาพต้นเข็มที่ใช้ในการทดลอง
16
ภาพขณะฉีดฮอร์โมน
ภาพขณะวัดส่วนสูงต้นไม้
17
ภาพขณะนาเสนอ
18

More Related Content

What's hot (20)

Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 

Similar to M6 78 60_5 (20)

M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334 ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
ต้นเข็ม Ixora กลุ่ม 5 ห้อง334
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Ixora group 5/334
Ixora group 5/334Ixora group 5/334
Ixora group 5/334
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 78 60_5

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวกวินธิดา ถาวร เลขที่ 1 2. นางสาวชนิษฐา ศิริธัญญา เลขที่ 5 3. นางสาวธนภรณ์ ลิ่มกุล เลขที่ 11 4. นางสาวธมนพัชร์ จิระพรชัยศิริ เลขที่ 12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. บทคัดย่อ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม มี จุดประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอริลลินมีผลต่อความสูงของต้นเข็มหรือไม่ โดยทาการแบ่งชุดการทดลอง เป็น 3 กลุ่ม โดยให้ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ต่างกัน โดยรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้เรื่อง ฮอร์โมนพืช และการเจริญเติบโตของพืช ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง ผลของการทดลอง และสรุปผล การทดลอง จากการทดลองนี้ ทาให้ทราบว่าชุดการทดลอง Low dose มีอัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงมากที่สุด เท่ากับ 5 เซนติเมตรต่อระยะเวลา 2 เดือน และชุด High dose มีอัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงต่าที่สุด เท่ากับ 0.5 เซนติเมตรต่อระยะเวลา 2 เดือน
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็มจะ สาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับความช่วยเหลือจากอาจารย์ประจาวิชา อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้ และ แนวทางการศึกษา พร้อมทั้งให้คาแนะนาที่มีประโยชน์อย่างมากในการดูแลต้นพืช รวมถึงเพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความช่วยเหลือมาโดยตลอด คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา 1-2 - ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช - สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช - อาจารย์ผู้สอน - ที่มาและความสาคัญ - เป้าหมายในการศึกษา - วิธีการเก็บข้อมูล บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3-8 - พืชที่ทดลอง - ฮอร์โมนที่ทดลอง บทที่ 3 การดาเนินงาน 9-10 - วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี - ขั้นตอนการทาโครงงาน บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง 11-13 - ตารางบันทึกผลการทดลอง - กราฟแสดงผลการทดลอง บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 14 - สรุปผลการทดลอง - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม บรรณานุกรม 15 ภาคผนวก 16-18 1
  • 5. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวกวินธิดา ถาวร เลขที่ 1 2. นางสาวชนิษฐา ศิริธัญญา เลขที่ 5 3. นางสาวธนภรณ์ ลิ่มกุล เลขที่ 11 4. นางสาวธมนพัชร์ จิระพรชัยศิริ เลขที่ 12 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากเข็มเป็นพืชที่คนไทยเชื่อว่าความหมายดี ได้นามาใช้ประกอบพิธีไหว้ครูและพิธีกรรมต่างๆ อีก ทั้งนิยมปลูกเพื่อประดับบ้านเป็นต้นไม้ริมรั้วและนาส่วนต่างๆของต้นเข็มมาเป็นยารักษาโรคหรือยาบารุง เนื่องจากเข็มมีสรรพคุณมากมาย นอกจากนี้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellin) มีผลต่อการควบคุมการ เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล เป้ าหมายในการศึกษา เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอริลลินมีผลต่อความสูงของต้นเข็มหรือไม่ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชจึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอ เรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีความเข้มข้นต่างกันจะ มีผลต่อความสูงของต้นเข็มแตกต่างกันอย่างไร 1
  • 6. คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ ต่อผู้ที่ต้องการจะนาโครงงานนี้ไปต่อยอดในอนาคตต่อไป คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นเข็มมีผลต่อความสูงของต้นมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนที่ความเข้มข้นมีผลต่อความสูงของต้นมากที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ ความเข้มข้น 35% จะทาให้ลาต้นมีความสูงมากที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นเข็ม 2. เพื่อเปรียบเทียบความสูงของต้นเข็มที่ได้นับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างกัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องหน้าที่ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นเข็มไม่เท่ากัน 3. เป็นการส่งเสริมให้ผู้ทดลองได้ศึกษาเกี่ยวกับต้นเข็มมากขึ้น ขอบเขตการทาโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะความสูงของต้นเข็ม ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงของต้นเข็ม ตัวแปรควบคุม คือ ระยะเวลาที่ทาการทดลอง ความสม่าเสมอในการรดน้าและให้ฮอร์โมน ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน วันที่ 2 มิถุนายน 2560 – 31 กรกฎาคม 2560 วิธีการเก็บข้อมูล การวัดความสูงของต้นเข็ม โดยใช้ไม้บรรทัดที่มีมาตรฐานวัดความสูงของต้นไม้ตั้งแต่ลาต้นที่เหนือดิน จนถึงปลายยอดสูงสุด พร้อมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึก 2 1
  • 7. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. พืชที่ทดลอง ข้อมูลทั่วไป เข็ม ชื่อพื้นเมือง : เข็ม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ixora , spp. ชื่อสามัญ (Common Name) : West Indian Jasmine ชื่อวงศ์ (Family Name) : Rubiaceae ลักษณะของดอกเข็ม เป็นไม้พุ่ม ออกดอกเป็นช่อที่ปลายยอดหรือกิ่งข้าง ดอกมีหลากสีด้วยกันคือ สีแดง ส้ม ชมพู เหลือง และขาว เป็นต้น ดอกเข็มมีลักษณะเป็นหลอดเล็ก ๆ ที่ปลายหลอดมีกลีบแยกจากกันเป็น 4 กลีบ ถ้าดอกซ้อนอาจจะมีถึง 8 กลีบ หรือมากกว่านั้น เกสรตัวผู้ติดอยู่ที่หลอดดอกด้านบน และอยู่สลับกับกลีบ เกสรตัวเมียยื่นเลยหลอดดอก ออกมา มี 2 แฉก เข็มจะออกดอกตลอดทั้งปี น้าหวานจากดอกเข็มมีปริมาณมาก เราสามารถดูดน้าหวานด้วยปาก โดยตรงจากดอกเข็มแต่ละดอกได้โดยง่าย 3
  • 8. ชนิดของต้นเข็ม ต้นเข็ม มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด และจะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์ จุดเด่นที่เห็นง่ายคือสีที่แตกต่าง กันของดอกเข็ม 1. ต้นเข็มสีชมพู หรือบางที่เรียกว่า เข็มพิษณุโลกชมพู เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ทรงพุ่มดอกอัดแน่นทึบ ดอก สีชมพูหวาน มักจะออกดอกเป็นพุ่มเล็ก ๆ กระจุ๋มกระจิ๋ม ต้นเข็มพันธุ์นี้ออกดอกตลอดทั้งปี อีกทั้งยัง ออกดอกค่อนข้างเยอะ จึงเป็นพันธุ์เข็มที่นิยมปลูกไม่น้อยเลยทีเดียว 2. ต้นเข็มขาว ดอกเข็มพันธุ์นี้มีจุดเด่นอยู่ที่ความหอมละมุน และลักษณะดอกตูมสีเขียวอ่อน แต่พอโต ขึ้นมาก็บานแผ่กลีบดอกกระจุ๋มกระจิ๋มสีขาว 4 แฉก พร้อมเกสรที่คอยแทรกอยู่ข้างกลีบดอก ใบโค้งมน มีขนาดใหญ่ คอยรองรับกลีบดอก ดอกเข็มขาวเป็นไม้พุ่มไม้ขนาดกลาง หากโตเต็มที่อาจมีความสูง ประมาณ 2 เมตรเลยทีเดียว 4
  • 9. 3. ต้นเข็มแดง ต้นเข็มแดงเป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงกลาง มีขนาดตั้งแต่ 0.3-5 เมตร เรือนดอกเป็นพุ่มขนาด ใหญ่ ที่อัดแน่นไปด้วยกลีบดอกย่อยสีแดง แน่นขนัด กลีบดอกเวลาบานจะแผ่กลีบ 4-6 แฉก มีเกสรสี เหลืองแซมข้างกลีบประมาณ 4 อัน ส่วนใบเป็นใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ลักษณะใบหนาและแข็ง สีเขียว สด จัดว่าเป็นพันธุ์เข็มที่นิยมปลูกตามบ้าน และนาไปใช้ การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ด และด้วยการตอน สรรพคุณของดอกเข็ม ราก : มีรสหวานใช้รับประทานแก้โรคตา เจริญอาหาร ใบ : ใช้เป็นยาฆ่าพยาธิ ดอกแก้โรคตาแดง ตาแฉะ ผลแก้โรคริดสีดวงในจมูก เปลือก : ใช้ตาคั้นเอาน้าหยอดหูฆ่าแมงคาเรืองเข้าหู การดูแล 1. แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง 2. น้า ต้องการปริมาณน้าปานกลาง สามารถทนต่อความแห้งแล้ง การให้น้า 3-5 วัน/ครั้ง 3. ดิน ชอบดินร่วนซุย ดินร่วนปนทราย มีความชุ่มชื้น 4. ปุ๋ ย ใส่ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก อัตรา 0.5-1 กิโลกรัม/ต้น ควรใส่ 5-6 ครั้ง/ปี 5. การขยายพันธ์ การปักชา การเพาะเมล็ด การตอน วิธีที่ได้ผลดีและนิยมกัน คือ การปักชาและการตอน 5
  • 10. 6. โรค ไม่ค่อยพบและมีปัญหาเรื่องโรค เพราะเป็นไม้ที่ทนทานต่อโรคได้ดี การบารุงรักษา การบารุงรักษาในระยะแรกๆ ควรให้น้าสม่าเสมอ เป็นประจา และควรพรวนดินให้รากเจริญเติบโตได้ดี ศัตรูพืชของดอกเข็มไม่ค่อยมี แต่ถ้าจะมีก็เป็นหนอนผีเสื้อชนิดที่มีขน หลังจากที่ต้นเริ่มแข็งแรงไม่จาเป็นต้องลด น้าบ่อย ลดสัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้งก็พอ หรือว่าจะไม่ลดเลยก็ได้ (ถ้าปลูกในพื้นดิน เพราะสามารถทนแล้งได้ดีมาก) 2. ฮอร์โมนที่ทดลอง จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและ มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดย นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อรา G. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่า ทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อ ว่าจิบเบอเรลลิน ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย 6
  • 11. คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะหืโดยวิถึเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึงเปลี่ยนรูปใน เอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้จิบเบอเรลลินทั้งหมดมีโครงสร้าง หลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืชชั้นสูงเริ่มจาก สร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึง เปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จิบ เบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) จัดเป็นสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์ (Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า 80 ชนิด ดังตัวอย่าง มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาลและสาหร่ายสีแดง รวมทั้งไมคอไรซาในรากกล้วยไม้ ในรา วิถีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้ายกับ พืชชั้นสูง แม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถั่วที่เกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมากกว่าราก ข้างเคียงที่ไม่เกิดปม Phaseolus lunatus ที่เติมเชื้อ Bradyrhizobium sp. ที่จาเพาะต่อกัน ส่วนปล้องจะยาวกว่าต้น ที่ได้รับเชื้อชนิดเดียวกันแต่ไม่จาเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมที่มีแบคทีเรียที่กระตุ้นการยืดยาวของ ปล้องได้ จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น Azotobactor Pseudomonas) ยีสต์ และราได้ เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย การออกฤทธิ์ของจิบเบอเรลลิน การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินได้แก่ 1. กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น GA1 GA3 ent-Gibberellane ent-Kaurene 7
  • 12. 2. กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน ปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโครโมลาร์ 3. จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก บริเวณ ที่มีการสร้างจิบเบอเรลลินมากในดอกคือผนังของอับละอองเรณูและในละอองเรณู การสร้างจิบเบอเรลลินใน อับละอองเรณูนี้จะควบคุมพัฒนาการของดอกทั้งหมด 4. กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติด ผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้ 5. กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ เรลลินมากขึ้น และส่งผลต่อการตอบสนองของเนื้อเยื่อต่อจิบเบอเรลลิน พืชบางชนิดเช่น Arabidopsis และ ผักกาดหอมซึ่งต้องการแสงสว่างในการงอก การเพิ่มจิบเบอเรลลินจะส่งผลต่อการงอกของพืชเหล่านี้ เช่นเดียวกับการได้รับแสงสว่าง 6. การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิด ดอกตัวผู้มากขึ้นได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช 7. การกระตุ้นการพักตัวของพืช จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว 8. หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ 9. กระตุ้นการทางานของแคมเบียมในพืชหลายชนิด เช่น แอพริคอด บีโกเนีย และมันฝรั่ง 10. ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะ อ่อนวัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้ 11. กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วงกลางวัน ของพืชวันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้ 8
  • 13. บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. พืช ต้นเข็ม 2. ฮอร์โมน จิบเบอริลลิน 3. อุปกรณ์ ขวดสเปรย์สาหรับฉีดฮอร์โมน ขนาด 250 มิลลิลิตร 3 ขวด กระถางต้นไม้ 9 กระถาง ถุงพลาสติกรองกระถางต้นไม้ 9 ถุง ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนเลือกประเภทของฮอร์โมน,ชนิดของต้นไม้ และ ส่วนที่จะศึกษาซึ่งก็คือ การศึกษาผลของ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นเข็ม 2. ศึกษาเเละค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1 ต้นเข็ม 2.2 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 3. วางแผนรายละเอียดของการทดลองโดยแบ่งกลุ่มการทดลองออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มฮอร์โมน high dose (35%) , lose dose (30%) และ control (0%) เพื่อศึกษาผลของความสูงของต้นเข็มในเเต่ละกลุ่มการทดลอง 4. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 4.1 ต้นเข็ม 9 ต้น 4.2 ถุงพลาสติก 9 ใบ 4.3 กระบอกฉีดน้า 3 ขวด 4.4 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 1 ขวด 4.5 ไซริงค์1 อัน 4.6 ไม้บรรทัด 1 อัน 4.7 สมุดจดบันทึก 1 เล่ม 9
  • 14. 5. จัดทาข้อมูลที่ใช้ระบุความเข้มข้นของฮอร์โมนและต้นไม้แต่ละต้นที่ใช้ในการทดลอง 6. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 6.1 จัดเตรียมต้นเข็ม 9 ต้น โดยเเบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น 6.2 จัดเตรียมฮอร์โมน โดยเเบ่งตามความเข้มข้น ออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มฮอร์โมน high dose (35%) , lose dose (30%) และ control (0%) 6.3 เขียนข้อมูลติดไว้บริเวณกระถางและกระบอกฉีด 6.4 จากนั้นเมื่อเตรียมการทดลองเรียบร้อยเเล้ว ก็ทาการทดลองโดยการรดน้าต้นทุกวัน ฉีดฮอร์โมนทุกๆ วัน จันทร์ พุธ ศุกร์ 6.5 วัดและจดบันทึกความสูงของต้นไม้ทุกๆ 2 อาทิตย์เพื่อหาความเฉลี่ยของแต่ละชุดการทดลอง 7. สรุปผล อภิปราย และนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 8. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 9. จัดทาสื่ออภิปราย แสดงผลการทดลอง 10. นาเสนอโครงงาน 10
  • 15. บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง ความสูงของต้นเข็มในหน่วยเซนติเมตร ( ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ) * วัดความสูงของต้นไม้ทุกๆ 2 สัปดาห์ * สัญลักษณ์ – แทนต้นไม้ที่ตายระหว่างการทดลอง ชุดต้นเข็ม วันที่บัน ทึกผล High dose Low dose Control ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ค่าเฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ค่าเฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 ค่าเฉลี่ย 7 มิถุนายน 2560 15.00 16.00 17.00 16.00 16.00 20.00 19.00 18.33 14.00 20.00 13.00 15.67 21 มิถุนายน 2560 15.00 16.50 17.00 16.17 18.00 20.00 20.00 19.33 15.00 20.50 13.50 16.33 5 กรกฎาคม 2560 15.30 16.80 17.00 16.37 19.00 20.50 21.00 20.17 16.00 21.00 14.00 17.00 19 กรกฎาคม 2560 15.50 - 17.00 16.43 19.50 - 22.00 20.67 17.50 - 15.00 17.83 31 กรกฎาคม 2560 15.50 - 17.00 16.43 21.00 - 24.00 21.83 19.00 - 16.00 18.67 ความสูงที่ เปลี่ยนแปลง ไปโดยเฉลี่ย 0.43 3.50 3.00 11
  • 16. กราฟแสดงผลการทดลอง High dose Low dose 14 14.5 15 15.5 16 16.5 17 17.5 ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 7/6/2560 21/6/2560 5/7/2560 19/7/2560 31/7/2560 0 5 10 15 20 25 30 ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 7-มิ.ย.-60 21-มิ.ย.-60 5-ก.ค.-60 19-ก.ค.-60 31-ก.ค.-60 12
  • 17. Control กราฟเส้นแสดงค่าเฉลี่ยการเจริญเติบโตของแต่ละกลุ่มการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง จากการทดลองพบว่า เมื่อพิจารณาความสูงเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นแต่ละกลุ่มจะได้ว่า กลุ่มHigh doseมีความสูงเฉลี่ย เพิ่มขึ้นน้อยที่สุดและกลุ่มLow doseมีความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากที่สุด พบว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลทาให้ต้น เข็มสูงขึ้น 0 5 10 15 20 25 ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 7/6/2560 21/6/2560 5/7/2560 19/7/2560 31/7/2560 10 15 20 25 High dose Low dose Control 13
  • 18. บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง ต้นเข็มทั้ง 3 ชุดการทดลอง มีการเจริญเติบโตที่ไม่เท่ากัน เมื่อคานวณความสูงที่เพิ่มขึ้นจากต้นไม้ที่ยังมี ชีวิตอยู่ในแต่ละชุดการทดลอง จะได้ว่าความสูงเฉลี่ยของชุดการทดลอง Low dose มีค่ามากสุด เท่ากับ 5 เซนติเมตร ชุดการทดลอง Control เท่ากับ 4 เซนติเมตร และชุดการทดลอง High dose เท่ากับ 0.5 เซนติเมตร ซึ่ง เป็นค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุด ดังนั้น ชุด Low dose จะมีอัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงมากที่สุด และชุด High dose มี อัตราการเพิ่มขึ้นของความสูงต่าที่สุด จึงสามารถสรุปได้ว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่เหมาะสม จะทาให้ค่าเฉลี่ยความสูงมีค่ามากที่สุด จากงานวิจัยของคณะผู้วิจัย สังกัด รุ่งนภา ช่างเจรจา สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร อัญชนา จาปา คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลของสารจิบเบอเรลลินต่อการเจริญเติบโตและการ พัฒนาช่อดอกว่านนางคุ้ม กล่าวไว้ว่า “การนาสารจิบเบอเรลลินมาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆนั้นจาเป็นต้องหา ระดับการใช้สารจิบเบอเรลินที่เหมาะสม ถ้าความเข้มข้นของสารและระยะเวลาที่ให้สารไม่เหมาะสม จะทาให้ พืชไม่พัฒนาอาจทาให้พืช เกิดอาการเหลือง ซีด เหี่ยว และพืชอาจตายได้ ความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลินจะ แปรผันไปตามชนิดของพืชและส่วนต่างๆของพืช ความเข้มข้นของสารจิบเบอเรลลินโดยทั่วไปการให้สารที่เร่ง การเจริญเติบโตในส่วนต่างๆของพืชควรใช้ในปริมาณที่เหมาะสมแก่พืช เพื่อเป็นการป้ องกันไม่ให้เกิดอันตราย หรือ เกิดอาการผิดปกติทางพันธุ์กรรม” ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คณะผู้วิจัยได้ประสบปัญหาระหว่างทาการทดลองมากมาย เช่น การให้ปริมาณน้าที่น้อยเกินไปแก่ต้น เข็ม ทาให้ต้นเข็มเหี่ยวแห้ง และตายในที่สุด ดังนั้นควรจะมีการศึกษาล่วงหน้าอย่างละเอียดเกี่ยวกับวิธีการดูแล รักษาต้นไม้ชนิดนั้นๆ หรือการได้รับปริมาณน้ามากเกินไปในฤดูฝน ทาให้คณะผู้จัดทาไม่ได้รดน้าตามที่ได้ วางแผนไว้ แต่เนื่องจากปัญหานี้คณะผู้จัดทาไม่สามารถแก้ไขได้ หรือการวางต้นไม้ในที่ที่แสงแดดไม่ส่องถึง อาจทาให้ต้นไม้โตช้ากว่าปกติ ดังนั้นควรวางต้นไม้ในที่ที่แสงแดดส่องถึงพอประมาณ ไม่มากหรือน้อย จนเกินไป 14
  • 19. บรรณานุกรม "จิบเบอเรลลิน." [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8 %9A%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0% B8%99 วันที่สืบค้น (31 กรกฎาคม 2560) "งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา." [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/tubotany2012/gallery/dxk-khem วันที่สืบค้น (31 กรกฎาคม 2560) "ต้นเข็ม ต้นไม้ริมรั้วสีสวย ปลูกประดับหน้าบ้าน." [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา https://home.kapook.com/view96253.html วันที่สืบค้น (31 กรกฎาคม 2560) 15