SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
นักเรียนคิดว่า ในการเล่นกีฬาดังภาพผู้เล่นต้องอาศัยพลังงาน และการ
ทางานที่สัมพันธ์ของระบบต่างๆ พลังงานเหล่านั้นมาจากไหน และระบบ
ต่างๆทางานสัมพันธ์กันอย่างไร
นักเรียนคิดว่า ในการเล่นกีฬาดังภาพผู้เล่นต้องอาศัยพลังงาน และการ
ทางานที่สัมพันธ์ของระบบต่างๆ พลังงานเหล่านั้นมาจากไหน และระบบ
ต่างๆทางานสัมพันธ์กันอย่างไร
ในการทากิจกรรมใดๆ ก็ตามต้องอาศัย...
การทางานที่สัมพันธ์กันของระบบต่างๆในร่างกาย
รวมถึงต้องใช้สิ่งสาคัญที่เรียกว่า..“พลังงาน”
“อาหารถือเป็นแหล่งพลังงานของร่างกาย”
ระบบย่อยอาหาร(DigestionSystem)
คือ กระบวนการที่ร่างกายเปลี่ยนสภาพอาหารให้มีขนาดเล็ก
พอที่ร่างกายจะดูดซึม และนาไปใช้ได้ (หน่วยย่อยของอาหาร)
4.1การย่อยอาหารของจุลินทรีย์
และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
4.1การย่อยอาหารของจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
ราและแบคทีเรีย มีการย่อยแบบภายนอกเซลล์ (Extracellulardigestion)
 โดยจะส่งน้าย่อยออกมาย่อยให้ขนาดเล็กก่อนแล้วจึงดูดซึมเข้าเซลล์
ราและแบคทีเรีย
เซลล์โพรคาริโอต (Prokaryotic Cell)
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
อะมีบา พารามีเซียม มีการย่อยแบบภายในเซลล์ (Intracellulardigestion)
 โดยจะมีวิธีการนาอาการเข้าที่ต่างกัน เช่นอะมีบาใช้วิธีฟาโกไซโตซิส
ส่วนพารามีเซียมอาหารจะเข้าทางร่องปาก โดยวิธีพิโนไซโทซิส
เข้ามาในรูปแบบของ Food Vacuole แล้วถูกย่อยโดยไลโซโซมต่อไป
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
4.2การย่อยอาหารของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การย่อยอาหารของอะมีบา
การย่อยอาหารของอะมีบา
การย่อยอาหารของพารามีเซียม
การย่อยอาหารของพารามีเซียม
สรุปการย่อยอาหารของจุลินทรีย์
ชนิดสิ่งมีชีวิต
ระบบทางเดิน
อาหาร
วิธีการกิน ลักษณะการย่อยอาหาร
รา และแบคทีเรีย ไม่มี
การย่อยอาหารนอก
เซลล์
สร้างน้าย่อยออกมา แล้วส่งไป
นอกเซลล์เพื่อสารโมเลกุลใหญ่ใน
เล็กลง แล้วดูดซึมเข้าเซลล์
อะมีบา ไม่มี ฟาโกไซโทซิส ย่อยในฟูดแวคิวโอล
พารามีเซียม ไม่มี
พิโนไซโทซิสโดยการ
พัดโบกของซีเลีย
ย่อยในฟูดแวคิวโอล
4.2การย่อยอาหารของสัตว์
โดย..ครูปินัชยา นาคจารูญ
1)ฟองน้า(Sponge)
ลาตัวมีรูโดยรอบ มีช่องว่างกลางลาตัว ที่ผนังด้านในมีเซลล์ที่ย่อยอาหาร
เซลล์โคเอโนไซต์ (Choanocyte) มีแฟลกเจลลัมคอยพัดโบกอาหาร (<1 ไมครอน)
แล้วนาเข้าเซลล์ โดยวิธีฟาโกไซโตซิส
เซลล์อะมิโบไซต์ จานาอาหาร (5-50 ไมครอน) โดยวิธีฟาโกไซโตซิสเช่นกัน
เพิ่มเติม
อาหารของฟองน้าได้แก่ แบคทีเรีย และอินทรียสารต่างๆ
ถือว่าไม่มีทางเดินอาหาร น้าเข้าทางรูด้านข้าง เรียกว่า “ออสเทีย”
และออกทางรูด้านบนเรียกว่า “ออสคิวลัม”
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
ฟองน้ำ (Sponge)
2)ไฮดรา( Hydra)
มีทางเดินอาหารเป็นแบบปากถุงมีเข็มพิษ(Nematocyst)อยู่บริเวณหนวด(Tentacle)
อาหารจะเข้าสู่ เข้าสู่ช่องกลางลาตัว (Gastrovascular Cavity)
ที่ผนังด้านในประกอบด้วยเซลล์ ที่เรียกว่า แกสโตรโดรมิส (Gastrodermis)
อาหารของไฮดราคือ ตัวอ่อนของกุ้ง ปู และไรน้าเล็กๆ
 ไฮดรำ
แกสโตรโดรมิส(Gastrodermis)
1)นิวทริทิพเซลล์(Nutritivecell)
เซลล์ที่มีแซ่2 เส้นเรียกว่าแฟลเจลเลตเซลล์(Flagellatecell)
 เซลล์ที่คล้ายอะมีบาเรียกว่าอะมีบอยด์เซลล์(Amoebiolcell)
จะย่อยอาหารโดยใช้รูปแบบฟาโกไซโทซิส(หลังจากเซลล์ต่อมย่อยแล้ว)
2)เซลล์ต่อมหรือเซลล์ย่อยอาหาร(Glandcellordigestivecell)
 เป็นเซลล์ที่สร้างน้าย่อยและปล่อยออกมา จัดเป็นการย่อยอาหารแบบนอกเซลล์
เมื่ออาหารมีขนาดเล็กลงก็จะถูกนิวทริทิพเซลล์นาไปย่อยภายในเซลล์ต่อไป
 ไฮดรำ
 ชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) ประกอบด้วย
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
 ไฮดรำ
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
 ไฮดรำ
 ชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) ประกอบด้วย
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
 ไฮดรำ
 ชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) ประกอบด้วย
1) เซลล์ย่อยอาหาร หรือนิวทริทิพ เซลล์ (Nutritive cell)
3)หนอนตัวแบน( Flatworm)
เช่น พลานาเรียจะมีทางเดินอาหารทอดยาวและแตกแขนงไปตามลาตัว
จะมีปาก และคอยหอย ยื่นออกมาเป็นท่อ เพื่อเป็นทางเข้าของอาหาร
ของเสียหรือกากอาหาก็จะออกทางปาก ถือเป็นทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์
3)หนอนตัวแบน( Flatworm)
4)ไส้เดือนดิน(Earthworm)
มีระบบทางเดินอาหารประกอบด้วยปากซึ่งเป็นรูเปิดของปล้องที่หนึ่ง
 ต่อจากปากก็จะเป็นช่องปาก คอหอยมีกล้ามเนื้อหนาช่วยในการฮุบกิน
กระเพาะพักอาหารและมีกึ๋นช่วยในการบดอาหารลาไส้ย่อยอาหารและดูดซึมเข้าสู่ระบบเลือด
 และปล่อยของเสียออกทางทวารหนัก ถือเป็นทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
4)ไส้เดือนดิน(Earthworm)
ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพักอาหาร
กึ๋น ลาไส้ ทวารหนัก
5)แมลง(Insect)
ทางเดินอาหารแบบช่องเปิด2ทาง ปากมีการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างออกไปเช่นกัด/ดูด
 พื้นฐานของทางเดินอาหารที่เหมือนกันคือ
 ปากคอหอยหลอดอาหารกระเพาะพักอาหารกึ๋นกระเพาะอาหารลาไส้และทวารหนัก
5)แมลง(Insect)
6)การย่อยอาหารของสัตว์กินพืช
6)การย่อยอาหารของสัตว์กินพืช
การมีทางเดินอาหารที่ยาวมากๆยาวถึงเกือบ40เมตร
ทาให้ระยะเวลาในการย่อยและการดูดซึมสารอาหารนานยิ่งขึ้น(ต้องใช้จุลินทรีย์ช่วยย่อย)
มีกระเพาะอาหาร4ส่วนคือกระเพาะผ้าขี้ริ้ว(Rumen),กระเพาะรังผึ้ง(reticulum),
กระเพาะสามสิบกลีบ(omasum),กระเพาะจริง(อะโบมาซัม)
6)การย่อยอาหารของสัตว์กินพืช
อวัยวะในระบบย่อยอาหารของคน
ปากและโพรงปาก
เป็นอวัยวะส่วนแรกของระบบทางเดินอาหาร มีหน้าที่เป็นทางเข้าของอาหาร
เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก จะถูกบดด้วยฟัน มีลิ้นช่วยคลุกเคล้าอาหารให้เข้าน้าลาย
1.1ฟัน(Teeth)
มีหน้าที่ในการตัดฉีกและบดอาหาร
แบ่งเป็น ฟันตัด ฟันฉีก ฟันกรามหน้า ฟันกรามหลัง
1.2ลิ้น(Tongue)
 บอกตาแหน่งอาหาร กลืนอาหารและเปล่งเสียง
และมีหน่วยรับรสอาหารและคลุกเคล้าอาหารแล้วช่วยส่งอาหารต่อไป
1.3ต่อมน้าลาย
 สร้างน้าลายซึ่งประกอบด้วยเอนไซม์ อะไมเลส น้าและเมือก
มี 3 คู่ คือต่อมน้าลายใต้ลิ้น ใต้ขากรรไกรและข้างกกหู
การหลั่งน้าลาย
 การหลั่งน้าลายออกมาวันละ1,000 - 1,500ลูกบาศก์เซนติเมตร
 จะเกิดเมื่อระบบประสาทถูกกระตุ้น เช่น การมองเห็นอาหาร กลิ่นอาหาร รสอาหาร
หรือความนึกถึงอาหาร
คอหอย(Pharynx)
เป็นจุดเชื่อมระหว่างโพรงจมูกกับปาก
 เมื่อเริ่มการกลืน เพดานอ่อนยกขึ้นปิดช่องจมูกฝาปิดกล่องเสียงจะปิดหลอดลม
คอหอย (Pharynx)
 หลอดอาหาร(Esophagus)
ยาวประมาณ 25ซม.ไม่มีต่อมที่ทาหน้าที่สร้างน้าย่อย
 เกิดการหดตัวเป็นลูกคลื่นของผนังกล้ามเนื้อหลอดอาหารเรียกว่า เพอริสทัลซิสไล่
ให้อาหารตกลงสู่กระเพาะอาหาร
 กระเพาะอาหาร(Stomach)
 อยู่ภายในช่องท้องด้านซ้ายใต้กะบังลมยืดขยายได้ดี แข็งแรงมาก ขยายความจุได้
ถึง 500– 2,000ลูกบาศก์เซนติเมตร
 กล้ามเนื้อหูรูดอยู่2 แห่งคือที่ต่อกับหลอดอาหารและที่ต่อกับลาไส้เล็ก
พบเอนไซม์ที่สาคัญ 2ชนิดคือเปบซินและเรนนิน
 กระเพาะอาหาร(Stomach)
มีเซลล์สาคัญ3 เซลล์ สร้างเมือก สร้างไฮโดรคลอริกและเพปซิโนเจน
 เมื่ออาหารมาถึงจะหลั่งฮอร์โมนแกสตริน กระตุ้นการสร้างไฮโดรคลอริก
ซึ่งจะเปลี่ยนเพปซิโนเจนเป็นเปบซินที่พร้อมย่อยโปรตีน
ส่วนเมือกจะช่วยเคลือบเยื่อบุกระเพาะอาหารไว้ไม่ให้ถูกทาลาย
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับกระเพาะอาหาร
เซลล์ของกระเพาะอาหารถูกทาลายตลอดเวลาแต่ก็สร้างทดแทนตลอดเวลา
 การเกิดแผลเกิดจากกินอาหารไม่ตรงเวลา
การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนทาให้การสร้างเมือกน้อยกว่าปกติ
และการพักผ่อนไม่เพียงพอส่งผลต่อการสร้างกรดไฮโดรคลอริกมากกว่าปกติ
ลาไส้เล็ก(Smallintestine)
มีลักษณะเป็นท่อยาวประมาณ6-7เมตรกว้าง2.5เซนติเมตร
 แบ่งออกเป็น3ส่วนดูโอดีนัม(Duodenum)ยาวประมาณ25เซนติเมตร เจจูนัม
(Jejunum)ยาวประมาณ 2.5 เมตร และไอเลียม (Ileum)ยาวประมาณ 4 เมตร
เมื่ออาหารถึงดูโอดีนัม ตับอ่อนสร้างNaHCO3 เพื่อลดความเป็นกรด
ลาไส้เล็ก(Smallintestine)
 ผนังมีลักษณะคล้ายนิ้วมือเรียกว่าวิลลัส(Villus)
เอนไซม์ที่สร้างเองได้แก่มอลเทส ซูเครส แลกเทส และอะมิโนเปบติเดส
เอนไซม์ที่ตับอ่อนสร้าง อะไมเลส ไลเปสทริปซิน คาร์บอกซิเพปทิเดสส่วนตับจะผลิตน้าดี
ถือเป็นอวัยวะที่มีการย่อยและดูดซึมมากที่สุด(เจจูนัม)
 ลาไส้ใหญ่(Largeintestine)
 กากอาหาร น้า วิตามิน และแร่ธาตุบางส่วนที่ไม่ถูกดูดซึมจะเข้าสู่ลาไส้ใหญ่
 ยาวประมาณ1.5 เมตรกว้างประมาณ7ซม.
 ประกอบด้วย ซีกัม(Caecum) โคลอน(Colon)และไส้ตรง (Rectum)
 มีหน้าที่ดูดซึมน้าและวิตามินบี12และส่งกากอาหารออกทางไส้ตรงต่อไป
 ทวารหนัก(Anus)
เป็นกล้ามเนื้อหูรูด 2 ชั้น กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักชั้นในทางานนอกอานาจจิตใจ
 จะเปิดออกเมื่อกากอาหารถูกส่งเข้าสู่ไส้ตรงจะมีปฏิกิริยารีเฟ็กซ์กระตุ้น
 แต่กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักอันนอกเปิดออกเมื่อร่างกายต้องการ

More Related Content

What's hot

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
Namthip Theangtrong
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 

What's hot (20)

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ราก (2)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 

Viewers also liked

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
supreechafkk
 

Viewers also liked (9)

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร (2)   2559
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร (2) 2559
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2  โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559

Similar to บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559 (9)

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
m5b4_13_1animal_digestion_001_ppt(1).pptx
m5b4_13_1animal_digestion_001_ppt(1).pptxm5b4_13_1animal_digestion_001_ppt(1).pptx
m5b4_13_1animal_digestion_001_ppt(1).pptx
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
ชีวิตและกฏธรรมชาติของ
ชีวิตและกฏธรรมชาติของชีวิตและกฏธรรมชาติของ
ชีวิตและกฏธรรมชาติของ
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

More from Pinutchaya Nakchumroon

บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
Pinutchaya Nakchumroon
 

More from Pinutchaya Nakchumroon (17)

บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   ใบ (4)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ใบ (4)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช ลำต้น (3)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2อาณาจักรสัตว์ 2
อาณาจักรสัตว์ 2
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
บทที่ 1 พันธุกรรม (2)
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 

บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร 2559