SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) 
การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
ชื่อโครงงานชีววิทยา การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตร 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ XOXO 
1.นาย ธิติศักดิ์ มารุต ม.6/1 เลขที่ 12 
2.น.ส. เจนจิรา ศรีร่องหอย ม.6/1 เลขที่ 14 
3.น.ส. สายขวัญ สายะวิบูลย์ ม.6/1 เลขที่ 16 
4.น.ส. อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม.6/1 เลขที่ 19 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 
การสารวจทรัพยากรชีวภาพ หมายถึง การสารวจสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกันในธรรมชาติให้อยู่กัน อย่างสอดคล้องสมดุล การดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละภูมินิเวศน์จะแตกต่างกันไปนั้น คนหรือชุมชนซึ่ง ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของทรัพยากรชีวภาพ การดารงชีวิตของสังคมในชุมชนหรือภูมินิเวศน์ที่อยู่กันมาตั้งแต่ ดั้งเดิมที่เชื่อมโยงคนให้กับกับวิถีของธรรมชาติ จากความรู้ที่สั่งสมสืบทอดต่อ ๆ กันมา มองธรรมชาติว่ามี จิตวิญญาณ และสร้างกฎเกณฑ์ ประเพณี ความเชื่อ เพื่อให้คนอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ ความสาคัญของการ สารวจทรัพยากรชีวภาพก็คือ ทาให้มีฐานข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลของความหลากหลายทางชีวภาพของ ภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น , ทาให้รู้จักทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพต่างๆมากขึ้น ซึ่งข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวม ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพให้กับประชาชน นักศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย เข้ามาใช้ประโยชน์ผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต หรือ เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาต่อยอดมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับหน่วยงานต่างๆ ที่ให้ความ สนใจในข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงจัดทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชมขึ้นมา เพื่อใช้เป็นประโยชน์ในความหลากหลายทางชีวภาพต่อไป เพราะ การสะสมข้อมูลทรัพยากร ชีวภาพในประเทศไทยนั้นมีการจัดเก็บและค้นพบข้อมูลต่างๆมาช้านาน การจัดเก็บมีการกระจายอยู่ทั่วไป โดยผู้ที่ถือครองเป็นองค์กรหรือตัวบุคคล ซึ่งเป็นข้อจัดกัดและนาข้อมูลทางทรัพยากรทางชีวภาพมาใช้ได้ ยาก 
เนื่องจากได้รับหมอบหมายจากรายวิชาชีววิทยา เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ให้จัดทาโครงงาน เกี่ยวกับการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนของตนเอง กลุ่มของพวกเราจึงเลือกที่จะสารวจทรัพยากร ชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรเพราะสามารถทาการสารวจและเก็บข้อมูลได้สะดวก โดยกลุ่มของเราได้ สารวจทรัพยากรชีวภาพเป็นพืชทั้งหมดจานวน10ชนิด ได้แก่ ชบา , คุณนายตื่นสาย , ต้นโป๊ยเซียน , ดอก ชวนชม , บานบุรี , กระเพรา , ทับทิม , บัว , ดอกเข็มแดง และ ต้นมะลิ เพื่อเป็นความรู้ประกอบกับการเรียน รายวิชาชีววิทยาในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ 
ประโยชน์ที่คาดหวัง ได้ทราบถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ได้สารวจในชุมชนเขมาเนรมิตรเพิ่มเติมมาก ขึ้น , ทาให้ได้รู้จักกับสิ่งมีชีวิตในชุมชนเขมาเนรมิตรมากขึ้น , ได้ฝึกการทางานเป็นทีม,การคิดวิเคราะห์ และ ความรับผิดชอบ โดยอาศัยกระบวนการการทาโครงงาน และ ได้จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เขมาเนรมิตรโดยใช้ www.biogang.net และผู้จัดทาหวังว่าจะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็ น้อย
2. วัตถุประสงค์ 
1)เพื่อสารวจสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชนเขมาเนรมิตร 
2)เพื่อต้องการทราบถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้นๆในชุมชนเขมาเนรมิตร 
3)เพื่อต้องการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรในชุมชนเขมาเนรมิตรว่ามีสปีชีส์อะไรบ้างโดยใช้ www.biogang.net 
4)เพื่อฝึกการทางานเป็นทีม คือ ช่วยกันสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชน 
3. สมมติฐานของการศึกษา 
-ถ้าชุมชนเขมาเนรมิตรมีความหลากหลายของทรัพยากรทางชีวภาพแล้ว ชนิดและสายพันธ์ของทรัพยา ชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรก็จะมีมากตามไปด้วย 
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 
1)ได้ทราบถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ได้สารวจในชุมชนเขมาเนรมิตรเพิ่มเติมมากขึ้น 
2)ทาให้ได้รู้จักกับสิ่งมีชีวิตในชุมชนเขมาเนรมิตรมากขึ้น 
3)ได้ฝึกการทางานเป็นทีม,การคิดวิเคราะห์ และ ความรับผิดชอบ โดยอาศัยกระบวนการการทาโครงงาน 
4)ได้จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรโดยใช้ www.biogang.net 
5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน 
1)บานบุรี ชื่อวิทยาศาสร์ Allamanda cathartica. Linn. ตระกูล APOCYNACEAE ชื่อสามัญ Golden trumpet , Allamanda. 
ลักษณะ 
บานบุรีเป็นพรรณไม้เถาเล็ก จะเลื้อยเถายาวเกี่ยวเกาะกับไม้พุ่มใหญ่ๆ ลักษณะของใบเป็นใบมนรี ปลาย ใบแหลม ขอบใบเรียบ ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่งของต้น ช่อๆ หนึ่งมีดอกอยู่ประมาณ 5-8 ดอกและจะ ทยอยกันบาน ดอกมีสีเหลืองแสด ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกค่อนข้างกลม แฉกกลีบเวียนคล้าย กงจักร โคนดอกเป็นหลอด เมื่อดอกย่อยบานมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-7 ซม. มีจุดริ้วสีส้มที่โคนคอ กลีบ ดอกจะมีกลิ่นหอมในตอนเช้า
ประโยชน์ 
ใบ - ใช้เป็นยาถ่าย แก้จุกเสียด แก้อาเจียน เปลือกต้นและยางขาว - ใช้ปริมาณน้อยเป็นยาถ่าย ขับน้าดี ใช้ปริมาณมากเป็นพิษต่อหัวใจ ทาให้ท้องเสีย ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของบานบุรีเหลือง มีฤทธิ์ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเซลล์ ช่วยต้านเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา และต้านเนื้องอก แต่ฤทธิ์ดังกล่าว ยังต้องมีการศึกษาวิจัยต่อไป 
การปลูกดูแลรักษา บานบุรีหอมเป็นไม้กลางแจ้งต้องการแสงแดดจัด ดินปลูกควรเป็นดินร่วนซุยมีธาตุอาหารสมบูรณ์ ควร ปรับปรุงดินให้มีคุณภาพก่อนการปลูก เป็นพืชที่ต้องการน้าและความชื้นจึงควรรดน้าบ่อยๆ แต่ไม่ควรรดจน แฉะเกินไป หากกิ่งยึดยาวควรปักไม้และจับยอดเลื้อยพันให้สวยงาม 
2)กะเพรา ชื่อวิทยาศาสร์ Ocimum sanctum linn. ตระกูล LABIATAE (LAMIACEAE) ชื่อสามัญ Holy basil, Sacred Basil 
ลักษณะ 
ต้น เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30 - 60 ซม. โคนลาต้นค่อนข้างแข็ง ตามลาต้นมีขน มีกลิ่นหอมเป็น ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 1-3 ซม. ยาว 2.5-5 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนแหลม ขอบจักฟันเลื่อย และเป็นคลื่น แผ่นใบมีขนโดยเฉพาะยอด ใบสีเขียว เรียกกะเพราขาว ใบสีแดงเรียกกะเพราแดง ดอก เป็นแบบช่อฉัตร ออกบริเวณปลายยอดและปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ประกอบด้วยดอกเล็กๆ ออกเป็น วงรอบแกนช่อเป็นชั้นๆ ก้านดอกยาว 2-3 มม. และกางออกตั้งฉากกับแกนช่อ กลีบเลี้ยงโคนติดกันเป็นรูป คล้ายระฆัง ปลายแยกเป็น 2 ส่วน ส่วนบนมีกลีบเดียวค่อนข้างกลม ส่วนกลางแยกเป็น 4 แฉก ปลายแหลม เรียว ด้านในเกลี้ยง ด้านนอกมีขนตามโคนกลีบ กลีบดอกสีขาว (กะเพราขาว) หรือชมพูปนม่วงแดง (กะเพรา แดง) ด้านบนมี 4 กลีบ ด้านล่างมี 1 กลีบ ขนาดยาวกว่าด้านบน ตรงกลางกลีบเว้าตื้นๆ ปลายกลีบม้วนพับลง ผล แห้งแล้วแตกออก
ประโยชน์ 
1.ใช้ทาเป็นยาอายุวัฒนะ (the elixir of life) 
2.ช่วยทาให้ร่างกายอบอุ่น และป้องกันอาการหวัดได้ (ใบ) 
3.กะเพราเป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพรหลายชนิด เช่น ยารักษาตายขโมยสาหรับเด็ก ยาแก้ทาง เด็ก ฯลฯ 
4.รากแห้งนามาชงหรือต้มกับน้าร้อนดื่ม ช่วยแก้โรคธาตุพิการ (ราก) 
5.ช่วยบารุงธาตุไฟ (ใบ) 
6.ช่วยแก้อาการคลื่นเหียนอาเจียน (ใบ) 
7.ช่วยแก้อาการปวดด้วย ด้วยการใช้ใบกะเพรานามาคั้นรับประทานสด 1 ถ้วยตะไล จะช่วยแก้ อาการปวดมวนท้องได้เป็นอย่างดี (ใบ) 
8.ช่วยขับลมแก้อาการปวดท้องอุจจาระ (ใบ) 
9.ใบกะเพราสรรพคุณช่วยขับลมในกระเพาะ (ใบ) 
10.ช่วยแก้อาการจุกเสียดแน่นท้อง (ใบ) 
11.สรรพคุณกะเพราช่วยแก้ลมซานตาง (ใบ) 
12.น้าสกัดจากทั้งต้นของกะเพรามีฤทธิ์ช่วยลดการบีบตัวของลาไส้ (น้าสกัดจากทั้งต้น) 
13.ช่วยย่อยไขมัน (น้าสกัดจากทั้งต้น) 
14.ช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร (น้าสกัดจากทั้งต้น) 
15.กะเพรา สรรพคุณช่วยขับน้าดี (น้าสกัดจากทั้งต้น) 
พันธุ์กะเพรา 
กะเพราเป็นที่ปลูกกันทั่วไป มีอยู่ 2 ชนิด คือ กะเพราขาวและกะเพราแดง ซึ่งเรียกชื่อตามสีของก้านใบ และก้านดอก ส่วนในเรื่องพันธุ์ นั้น ยัง ไม่มี การ ศึกษาปรับปรุงพันธุ์หรือคัดเลือกพันธุ์อย่างจริงใจในทาง วิชาการ พันธุ์กะเพราที่ใช้ปลูกในปัจจุบันจะเป็นพันธุ์พื้นเมือง ที่มีการปลูกและเก็บเมล็ดพันธุ์เอาไว้ต่อๆ กัน มา เนื่องจากกะเพราเป็นพืชที่ยังไม่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจมากนัก
3)ทับทิม ชื่อวิทยาศาสร์ Punica granatum L.. ตระกูล LABIATAE (LAMIACEAE) ชื่อสามัญ Punicaceae 
ลักษณะ ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้น หรือพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง ลักษณะผิวเปลือกลาต้นเป็นสีเทา ส่วนที่เป็นกิ่งหรือ ยอดอ่อนจะเป็นเหลี่ยม หรือมีหนามแหลมยาวขึ้น ใบ ใบมีลักษณะเป็นรูปยาวรี โคนใบมนแคบ ส่วนปลายใบเรียวแหลมสั้น ผิวหลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ใต้ท้อง ใบจะเห็นเส้นใบได้ชัด ขนาดของใบกว้างประมาณ 1-1.8 ซม. ยาวประมาณ 2.5-6 ซม. ดอก ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็นดอกเดียว ในบริเวณปลายยอด หรือง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สี ส้ม สีขาว หรือสีแดง ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ ปลายกลีบดอกจะแยกออกจากกัน ตรงกลางดอก มีเกสรตัวเมีย และตัวผู้ซึ่งมีอับเรณูเป็นสีเหลือง ขนาดของดอกบานเต็มที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2- 3 ซม. ผล ผลมีลักษณะเป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกนอกหนาเกลี้ยง ผลเมื่อแก่หรือสุกเต็มที่มีสีเหลืองปนแดง และลักษณะของผลจะแตก หรืออ้างออก ข้างในผลก็จะมีเมล็ดเป็นจานวนมาก เป็นรูปเหลี่ยม มีสีชมพูสด การปลูก เป็นพืชชอบแดดที่ปลูกง่าย ทนทานต่อสภาพดินเกือบทุกชนิด ทั้งดินร่วน ดินทราย แม้กระทั่งดินที่ปนดิน เหนียวอยู่ ทั้งยังสามารถปลูกได้ทั้งการลงดินและเป็นไม้กระถาง ดังนั้นจึงมีผู้นิยมปลูกต้นทับทิมใน บ้านเรือนกันเป็นจานวนไม่น้อย การดูแลรักษา ผลทับทิมที่โดนแดดมากๆ จะทาให้ผิวเปลือกทับทิมด้าน ไม่สามารถขยายผลได้ เมื่อได้รับน้าหรือมีฝนตกลง มาหรือมีการใส่ปุ๋ยจะทาให้ผลแตกได้จะแก้ปัญหาด้วยการห่อผลโดยห่อในระยะผลมีอายุได้ประมาณ 40-45 วันหลังจากติดผลอ่อนและจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลังจากห่อผลไป ประมาณ1 เดือนครึ่ง หรือสังเกตง่ายๆ คือ ห่อในระยะที่ขนาดผลทับทิมใหญ่ใกล้เคียงกับผลส้มเขียวหวาน จะช่วยลดปัญหาเรื่องแดดเผาได้
4)ชบา ชื่อวิทยาศาสร์ Hibiscus rosa-sinensis L. ตระกูล MALVACEAE ชื่อสามัญ Chinese Rose , Rosa mallow 
ลักษณะ เป็นไม้พุ่มขนาดปานกลาง เป็นพืชที่มีเนื้อไม้อ่อน เปลือกเหนียว ใบเป็นใบเดี่ยว มีสีเขียวสด ใบรูปไข่ ปลาย แหลมริมใบเป็นจักฟันเลื่อย ดอกมีสีสันแตกต่างกัน มากมายเช่น แดง ชมพู เหลือง ส้ม มีกลีบดอก 5 กลีบ ทั้งดอกลา และดอกช้อนนอกออกดอกตลอดปี ใบ : ใบเดี่ยวรูปไข่กว้าง 3-3.5 เซนติเมตร นาว 4-9 เซนติเมตร ออกสลับ ปลายเรียวแหลมชอบใบเรียบ โคน สอบหรือมน ขอบจัก ดอก : ดอกมีสีแดง กลางดอกสีแดง ดอกเดี่ยว ออกตามชอกใบ ใกล้ปลายกิ่ง ริ้วประดับที่คนดอก 5-8 แฉก โคนเชื่อมกันเล็กน้อยกลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉกกลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 เซนติเมตร นาว 6-8 เซนติเมตร เกสรตัวผู้จานวน มากก้าน เชื่อมเป็นหลอดยาวประมาณ 9 เซนติเมตร ล้อมรอบเกสรตัวเมีย อับเรณูติดบริเวณปลายแยกเป็น 5 แฉก โผล่พ้นหลอดเกสรตัวผู้ไม่ติดผลในไทย ชบา พันธุ์ลูกผสมมีหลายสี เช่น สีแดง ชมพู ขาว เหลือง ส้ม 
ประโยชน์ - เปลือกต้นชบาใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบชบาใช้แก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก บารุงผม - ใบ จะมีรสฝาดชุ่มคอ ใช้รักษาเลือดกาเดาออก คางทูมรักษาแผลบวมอักเสบ - ดอก จะมีรสชุ่มคอ และเย็น ใช้ละลายเสมหะ รักษาอาการไอ เลือดกาเดาออก - รักษาโรคบิด ตกขาว และ แผลบวมอักเสบ - รากสด ใช้พอกรักษาฝี รักษาอาการพกช้าบวมเนื่องจากอักเสบ ใช้กินภายในเป็นยาขับน้าย่อย 
การปลูก การปลูกเลี้ยงชบาเป็นพืชที่ปลูกเลี้ยงง่าย ถ้ามีการดูแลรักษาอยู่เหมาะสม จะทาให้ชบาออกดอกสวยงาม ตลอดปี ดินปลูก ควรเป็นดินร่วนซุย มีการระบายน้าดี อาจผสมดินร่วน ขี้เถ้าแกลบ การมะพร้าวสับ และปุ๋ย คอก อย่างละ 1 ส่วน คลุกเคล้าให้เข้ากัน การให้น้าขึ้นอยู่กับฤดูกาลและสภาพอากาศ เช่น ในฤดูฝนควรให้ น้าเมื่อเห็นว่าฝนไม่ตก เป็นเวลานานหรือผิวดินแห้ง ส่วนใหญ่ฤดูแล้งให้น้าเพียงวันละครั้ง และไม่ควรมีน้า ขังแฉะ ควรให้ปุ๋ยสูตร เสมอ เช่น 16-16-16 หรือ 15-15-15 ทุกๆ เดือน เดือนละครั้ง พร้อมกับพรวมดินรอบ
พุ่มต้น ส่วนปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก นามาปรับปรุงดินเป็นตรั้งคราว โดยธรรมชาติเป็นพืชที่ ต้องการแสงแดดจัด ขึ้นได้ในดินทุก สภาพ และมักจะทนแล้งได้ดี 
5)คุณนายตื่นสาย ชื่อวิทยาศาสร์ Portulace grandiflora ตระกูล Portulacaceae ชื่อสามัญ Portulaca 
ลักษณะ ไม้ดอกในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นไม้พุ่มต้นเตี้ย การเจริญเติบโตค่อนไปทางเลื้อย ใบมีลักษณะอวบน้าเป็น แท่งรูปเข็มยาวประมาณ 1 นิ้ว สีเขียวอ่อนเป็นมัน ออกดอกและบานพร้อม ๆ กัน ดอกจะมีขนาดประมาณ 1- 2.5 นิ้ว แล้วแต่พันธุ์ กลีบดอกบางมีทั้งดอกชั้นเดียวและดอกซ้อนหลายสี เช่น สี ม่วงอ่อน บานเย็น ส้ม แดง ขาว เหลือง ชมพู ผลแห้งแตก มีเมล็ดจานวนมาก 
ประโยชน์ 
-ใช้เป็นไม้ประดับตกแต่งบ้าน ฤดูกาลออกดอก: ตลอดปี 
การปลูก: ปลูกคลุมดินประดับสวน เป็นแปลงริมรั้ว , ข้างทางเดินหรือนาขึ้นกระถางแขวน 
การดูแลรักษา: ขึ้นได้ในดินทั่วไป โดยเฉพาะดินทรายหรือดินปนทราย ไม่ชอบแฉะ และชอบแสงแดดจัด 
การขยายพันธุ์: โดยการปักชา กิ่ง แยกต้น 
การใช้ประโยชน์: ไม้ประดับ 
ถิ่นกาเนิด: แถบประเทศบราซิล 
การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ด 
การปลูกและการดูแลรักษา คุณนายตื่นสายนั้นเหมาะที่จะปลูกในที่ ๆ มีอากาศร้อน และแห้งแล้ง ปกติคุณนายตื่นสายชอบดินทรายหรือดินปน ทราย ไม่ชอบแฉะ จึงทนแล้งได้ดีกว่าแฉะ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมดิน ที่มีการระบายน้าได้ดี ระยะเวลาจากเพาะเมล็ดจนให้ดอก ประมาณ 6-8 สัปดาห์
6)ต้นโป๊ยเซียน ชื่อสามัญ Cronw of thorns, Christ Thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Euphorbia milli Desmoul ชื่อวงศ์ EUPHORBIACEAE 
ลักษณะ 
ใบ ยาวรีปลายใบจะแหลม ออกดอกเป็นกลุ่มๆ แต่ละดอกจะมีกลับอยู่ตรงข้ามกัน ดอก โป๊ยเซียนมีหลายสี เช่น แดง เหลือง ชมพู ส้ม ขาว เป็นต้น ดอกโป๊ยเซียนจะออกดอกทั้งปี แต่ออกมาก ในหน้าหนาว และดอกจะทนมาก ลาต้น มีหนามแหลม และแข็งคล้ายกระบองเพชร 
ประโยชน์ -ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงาม เป็นไม้มงคล คนจีนนิยมปลูกกัน -ความสาคัญ ต้นโป๊ยเซียนนั้น บางคนเชื่อว่าเป็นต้นไม้เสี่ยงทาย หากผู้ใดปลูกต้นโป๊ยเซียน ออกดอกได้ 8 ดอก ก็จะมีโชคลาภ ร่ารวยเงินทอง หรือได้เลื่อนยศเลื่อน ตาแหน่งให้สูงขึ้น คนโบราณเชื่อกันว่าครอบครัวใดปลูกโป๊ยเซียนเอาไว้ภายในบ้าน ต้นไม้ชนิดนี้จะช่วย ชักนาโชคลาภมาให้สมาชิกทุกคนภายในบ้าน และยังเชื่ออีกว่าต้นโป๊ยเซียนยังช่วยปกป้องคุ้มครองเจ้าของ และครอบครัวให้มีแต่ความสงบสุข เพราะต้นโป๊ยเซียนนั้นเป็นตัวแทนของเทพเจ้า 8 องค์ ที่คอยคุ้มครอง ให้มนุษย์สงบสุขและมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง การปลูกเลี้ยงและดูแลรักษา 
แม้ว่าต้นโป๊ยเซียนจะสามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได้ดีในทุกภูมิภาคของไทยก็ตาม แต่การ ปลูกโป๊ยเซียนให้สวยงามนั้น นอกจากสภาพแวดล้อมแล้ว การดูแลรักษาก็นับว่ามีส่วนสาคัญ 
ดินปลูก 
ควรเป็นดินชั้นบนมีอินทรียวัตถุพวกเศษพืช โดยเฉพาะใบก้ามปูและใบทองหลางที่เน่าเปื่อยผุพัง คลุกเคล้าอยู่ในดินจนเป็นเนื้อเดียวกัน ดินประเภทนี้จะอุ้มน้าและระบายอากาศได้ดี ทาให้รากของโป๊ยเซียน แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว การใช้ดินปลูกที่แน่นทึบและมีน้าขังอาจทาให้รากและต้นโป๊ยเซียนเน่าได้ เมื่อ ปลูกโป๊ยเซียนได้ระยะหนึ่งควรทาการพรวนดินรอบๆ กระถางปลูก ห่างจากโคนต้นประมาณ 2 นิ้ว พร้อม ทั้งใส่ปุ๋ยคอกลงไปในดินประมาณ 1-2 ช้อนแกง และควรเปลี่ยนดินปลูกทุกปี
แสงแดด 
โป๊ยเซียนเป็นไม้ที่ชอบแดด การปลูกถ้าให้โป๊ยเซียนได้รับแสงแดดประมาณ 60-70% จะดีมาก โดยเฉพาะแดดตอนเช้าถึงตอนสายก่อนเที่ยง ถ้าได้รับแสงแดด 100% ทั้งวันต้นจะแข็งแรง สีของดอกจะเข้ม แต่เล็กลงกว่าเดิม นอกจากนี้ใบยังอาจจะไหม้เกรียมได้ ถ้าให้โป๊ยเซียนได้รับแดดน้อยหรืออยู่ในร่ม ดอกจะ โต สีดอกไม่เข้ม ต้นไม่แข็งแรง ดังนั้นจึงควรจัดให้โป๊ยเซียนได้รับแสงแดดประมาณ 60-70% โดยใช้ตาข่าย พรางแสงช่วยก็จะดีมาก อย่างไรก็ตามในฤดูร้อนอากาศแห้งแล้งแดดจัดและร้อนมากเกินไปอาจทาให้ โป๊ยเซียนเหี่ยวเฉาได้ ดังนั้นความชุ่มชื้นในอากาศก็เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับโป๊ยเซียนเช่นกัน 
การรดน้า 
ตามปกติควรรดน้าวันละครั้งในตอนเช้าและควรรักษาระดับความชื้นของดินให้พอเหมาะไม่แฉะ หรือแห้งเกินไป เช่น ถ้าเป็นช่วงฤดูแล้งดินปลูกแห้งมากควรรดน้าทั้งเช้าและเย็น ฤดูฝนถ้าวันใดฝนตกก็ไม่ จาเป็นต้องรดน้าแต่ควรตรวจดูผิวดินในกระถางด้วย ทั้งนี้เพราะใบของโป๊ยเซียนอาจปกคลุมกระถางจนทา ให้ฝนที่ตกลงมาไม่สามารถลงไปในกระถางได้ ถ้าโป๊ยเซียนกาลังออกดอกควรหลีกเลี่ยงอย่าให้น้าไปถูก ดอกเพราะจะทาให้ดอกเน่าและร่วงเร็วกว่าปกติ สาหรับน้าที่ใช้รดควรเป็นน้าที่มีสภาพเป็นกลาง ถ้าน้ามี สภาพเป็นกรดอาจผสมปูนที่ใช้กินกับหมากลงไปเล็กน้อยก็ได้ ถ้าเป็นน้าประปาหรือน้าบาดาลควรมีบ่อหรือ ถังพักน้าไว้หลายๆ วันจึงจะนามาใช้ได้ 
การตัดแต่งกิ่ง 
โป๊ยเซียนบางต้นมีการแตกกิ่งก้านสาขามาก บางต้นมีลาต้นเดียวไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา ต้นที่มี กิ่งก้านสาขามากจะเป็นพุ่มทึบแสงแดดและอากาศถ่ายเทไม่สะดวก ทาให้โป๊ยเซียนออกดอกน้อยและมี ขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งหลบซ่อนของโรคและแมลงศัตรูพืช ควรตัดกิ่งก้านออกบ้างเพื่อให้แสง และอากาศถ่ายเทได้สะดวก การตัดควรตัดให้ชิดลาต้นไม่ควรเหลือตอกิ่งไว้ กิ่งที่เหลือไว้ควรให้มีรูปทรง สวยงามเป็นไปตามธรรมชาติ หลังจากตัดกิ่งออกแล้วควรใช้ปูนแดงทาบริเวณรอยตัดเพื่อป้องกันเชื้อรา ส่วนกิ่งที่ตัดออกอาจนาไปขยายพันธุ์ต่อไป สาหรับโป๊ยเซียนที่มีลาต้นเดี่ยวไม่ค่อยแตกกิ่งก้าน ถ้ากิ่งสูงมาก เมื่อโดนลมแรงๆ อาจทาให้ต้นหักได้ควรตัดยอดไปขยายพันธุ์เป็นต้นใหม่ ส่วนโคนที่เหลือก็จะแตกกิ่งก้าน ออกมาใหม่
การให้ปุ๋ย 
เมื่อปลูกโป๊ยเซียนเป็นเวลานานธาตุอาหารในดินก็จะถูกใช้ไปเรื่อยๆ จึงจาเป็นต้องเพิ่มธาตุอาหาร หรือปุ๋ยลงไปในดิน การใส่ปุ๋ยให้กับโป๊ยเซียนสามารถใส่ได้ทั้งปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์อาจเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก เช่น มูลวัว มูลสุกร มูลไก่ มูลค้างคาว รวมทั้งปุ๋ย กทม. ปุ๋ยเหล่านี้ทา ให้ดินร่วนซุย ระบายถ่ายเทอากาศได้ดี ควรใส่เดือนละครั้งสลับกับการใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีควรใช้ปุ๋ยที่มี คุณภาพดีซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งปุ๋ยละลายช้า ปุ๋ยเกล็ดและปุ๋ยน้าโดยปฏิบัติตามคาแนะนาในฉลากอย่าง เคร่งครัด การให้ปุ๋ยเคมีควรให้ในช่วงเช้าและควรงดน้าก่อนให้ปุ๋ย 1 วันเพื่อกระตุ้นให้รากดูดปุ๋ยได้มากขึ้น ควรรดหรือโรยเฉลี่ยรอบๆ ต้นเดือนละ 1-2 ครั้ง สาหรับไม้ที่ปลูกใหม่ๆ ยังไม่ควรให้ปุ๋ยเคมีเพราะระบบราก ยังจับตัวกับดินไม่ดีพอประกอบกับรากอาจมีการฉีกขาด เนื่องจากการเปลี่ยนดินทาให้ปุ๋ยกระทบราก โดยตรงและเร็วเกินไป อาจทาให้โป๊ยเซียนตายได้ การใส่ปุ๋ยเพื่อให้โป๊ยเซียนออกกิ่งหรือดอกมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 
 การปลูกเลี้ยงเพื่อให้แตกกิ่ง การทาให้โป๊ยเซียนคายน้าน้อยๆ จะทาให้โป๊ยเซียนไม่ออกดอกแต่จะ แตกกิ่งแทน ดังนั้นสถานที่ปลูกจึงควรเป็นที่อับลม มีลมพัดผ่านน้อย มีแสงแดดไม่มากหรือพราง แสงด้วยที่พรางแสงประมาณ 60-70% มีความชื้นแต่ไม่แฉะ การวางกระถางก็ควรวางให้สูงจากพื้น เพียงเล็กน้อย นอกจากนี้การยืดช่วงเวลากลางวันให้ยาวออกไปโดยการใช้หลอดไฟ Day Light 60- 100 วัตต์ ส่องให้กับต้นโป๊ยเซียนในเวลากลางคืนก็จะช่วยให้ต้นโป๊ยเซียนออกกิ่งได้ดีขึ้น สาหรับ ดินที่ปลูกควรผสมปุ๋ยคอกมูลสัตว์ เช่น มูลวัว มูลไก่ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ก็ควรใช้ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจน สูง เช่น 15-5-5, 25-7-7 ในปริมาณน้อยๆ ทุก 7-10 วัน 
 การปลูกเลี้ยงเพื่อให้ออกดอก จะตรงข้ามกับกับการปลูกเพื่อให้แตกกิ่ง คือการวางกระถางควรวาง ให้สูงจากพื้นประมาณ 60-70 ซม. เพื่อให้อากาศพัดผ่านก้นกระถางได้สะดวก เมื่อโป๊ยเซียนคายน้า มากจะทาให้ออกดอก แสงแดดควรให้มากกว่า 50% หรือพรางแสงด้วยที่พรางแสง 40-50% แสงแดดจะช่วยให้สีของดอกมีสีเข้มขึ้น แต่ไม่ควรให้โป๊ยเซียนถูกแสงแดด 100% หรือถูกแสงแดด โดยตรงจะทาให้ใบไหม้เกรียมได้ ดินปลูกไม่ควรมีปุ๋ยคอกมูลสัตว์มากนัก ควรใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ที่ มีธาตุฟอสฟอรัสค่อนข้างสูง เช่น 12-24-12, 8-24-24 จะเป็นปุ๋ยที่ให้ทางดินหรือทางใบก็ได้ การรด น้าก็ไม่ควรรดให้แฉะเกินไป เพราะจะทาให้ก้านส่งดอกยาว ออกดอกซ้อนและดอกจะโรยเร็ว นอกจากนี้ก็ไม่ควรรดน้าให้ถูกดอกเพราะจะทาให้เกสรดอกเน่าดาหมดความสวยงามได้
7)ดอกชวนชม ชื่อวิทยาศาสตร: Adenium obesum ชื่อวงศ: Apocynaceae ชื่อสามัญ Desert rose, Mock Azalea, Pinkbignonia, Impala lily ชื่อพื้นเมือ: ลั่นทมแดง ลั่นทมยะวา ลักษณะ ต้น เป็นไม้เนื้ออ่อน อวบน้า ต้นและกิ่งเป็นลากลม ผิวค่อนข้างเรียบสีเขียวอมเทา เปลือกบาง แตกกิ่ง ก้านไม่เป็นระเบียบ ส่วนโคนของลาต้นพองออกมีขนาดรูปทรงใหญ่เล็กแตกต่างกันไปเรียกว่า " โขด " มีไว้ สาหรับเก็บน้าเพื่อรักษาสมดุลของต้น โขด ของชวนชมคือรากที่ใช้สะสมอาหาร เช่นเดียวกับ เผือก มัน หรือพืชที่มีหัวทั่วไป มีลักษณะบวม ออกเป็นหัวขนาดใหญ่อยู่ใต้ดินหรือโผล่ขึ้นเหนือดินมีรูปทรงแตกต่างกันไป ใบ เป็นใบแบบเดี่ยว ออกเวียนรอบกิ่งคล้ายกังหันหลายๆ ชั้น และออกหนาแน่นตามปลายกิ่ง ใบของ ชวนชมมีหลายลักษณะแตกต่างกันขึ้นกับสายพันธุ์ เช่น ใบรูปไข่ ใบรูปหอก ปลายใบมีทั้งเว้า มน แหลม และใบตัด ขอบใบเรียบ หยักหรือเป็นคลื่น แผ่นใบหนาแข็งเขียวเข้มเป็นมันหรือบางพันธุ์มีขนนุ่มคล้าย กามะหยี่ที่ใต้ท้องใบ มีขนาดใหญ่และเล็กแตกต่างกันไป ดอก ชวนชมจะออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ช่อหนึ่งประมาณ 10-20 ดอก มีทั้งแบบบานพร้อมกันทั้งช่อ และทยอยบานครั้งละ 4-5 ดอก บานได้นาน 10-20 วัน ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 8-10 ซม. • กลีบเลี้ยง มีลักษณะเป็นกลีบเล็กๆ 5 กลีบ รูปรี ปลายแหลม ติดอยู่รอบโคนดอกเหนือฐานรองดอก มี สีแดง เขียว ชมพูอมแดงหรือเหลืองอมเขียว เมื่อดอกร่วงแล้วกลีบดอกยังติดแน่นอยู่ที่ฐานรองดอก • โคนกลีบดอกหรือหลอดดอก คือส่วนที่อยู่ต่อจากกลีบเลี้ยงขึ้นมามีลักษณะเป็นทรงกรวยกลม ยาว โคนหลอดเรียวเล็กลงติดกับกลีบเลี้ยง ปลายบานออกติดกับกลีบดอก • กลีบดอก มี 5 กลีบ เรียงติดอยู่รอบโคนกลีบดอกหรือหลอดดอกคล้ายปากแตร แต่ละกลีบมีรูปทรง หลายแบบ คือ รูปกลม รูปไข่ รูปแถบและรูปรี • เกสรตัวผู้ อยู่ตรงส่วนโคนของหลอดดอก เป็นรูปกระโจมคลุมยอดเกสรตัวเมีย ประกอบด้วยละออง เรณู 5 อันเรียงติดกันบนก้านชูเกสรตัวผู้ มีโคนระยางค์เชื่อมต่อจากปลายเกสรตัวผู้ยาวขึ้นไปตลอดหลอด ดอก 5 เส้น ภายในอับละอองเรณูนี้เมื่อแก่พร้อมที่จะผสมเกสร จะมีละอองเกสรตัวผู้มีลักษณะเป็นขุยสี เหลืองละเอียด • เกสรตัวเมีย อยู่ตรงส่วนโคนของหลอดดอก ล้อมรอบด้วยเกสรตัวผู้ ประกอบด้วยยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่ ยอดเกสรตัวเมียมีรูปกลมสีขาวขุ่น มีท่อยาวลงไปที่รังไข่ซึ่งอยู่ติดกับฐานรอง ดอก ภายในรังไข่มีไข่อ่อน เมื่อเกสรตัวเมียพร้อมที่จะผสมเกสรจะมีเมือกเหนียวคล้ายแป้งเปียก และเมื่อมี การผสมพันธุ์ไข่อ่อนภายในรังไข่จะเจริญไปเป็นเมล็ดต่อไป
ฝัก/ผล มีลักษณะคล้ายบูมเมอแรงหรือเขาคู่เป็นฝักสองฝักอยู่ติดกัน ปลายและโคนเรียวแหลมยาว ประมาณ 10-30 ซม. ขั้วของฝักอยู่ตรงตะเข็บแนวเชื่อมระหว่างเขาทั้งสอง ฝักอ่อนมีสีเขียว เมื่อฝักแก่จะมี สีน้าตาลอ่อนตะเข็บแนวเชื่อมจะแตกออก เมล็ด เมล็ดสีน้าตาลอ่อนเล็กๆ คล้ายเมล็ดข้าวเปลือก มีขนสีน้าตาลอ่อนเป็นพู่ติดอยู่ที่ปลายแหลมทั้งสอง ข้าง ขนที่ปลายทั้งสองนี้จะช่วยให้เมล็ดปลิวไปตามลมได้ไกล การปลูก: ปลูกลงกระถาง เป็นไม้ประธานสวนหย่อม เหมาะกับสวนกรวด ปลูกริมถนน ริมสระว่ายน้า ริม ทะเล การดูแลรักษา: ดินโปร่งร่วนซุย มีการระบายน้าดี ควรเป็นรดน้าด้วยน้าสะอาด ชอบแดดจัด นิยมใช้ปุ๋ยเม็ด ละลายช้า การขยายพันธุ์: การปักชากิ่ง การเสียบยอด การตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด การใช้ประโยชน์: ไม้ประดับ ถิ่นกาเนิด: แอฟริกาตะวันออก แถบแทนซาเนีย เคนยา และ ยูกันดา 
8)ต้นมะลิ ชื่อสามัญ Arabian jasmine ชื่อวิทยาศาสตร์ Jusminum adenophyllum ชื่อวงศ์ OLEACEAE 
ลักษณะ ลาต้น สูงประมาณ 58 ฟุต ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกเป็นคู่ไปตามก้านต้น ลักษณะใบป้อมมน ปลายใบแหลมโคนใบสอบ ขอบใบ แหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบไม่มีจัก สีเขียวเป็นมัน ใบยาว 2-3 นิ้ว มีดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นช่อ ตามปลายยอด หรือปลายกิ่งประมาณ 3-5 ดอกแล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอก ออกดอกตามซอกใบและปลายกิ่ง ลักษณะของดอกมีทั้งดอกซ้อนและดอกไม่ซ้อน ดอกซ้อนเราจะ เรียกว่า “มะลิซ้อน” ส่วนดอกที่ไม่ซ้อนจะเรียกว่า “มะลิลา” โดยทั้งสองชนิดจะเป็นดอกสีขาวและมีกลิ่น หอม ซึ่งดอกมะลิลาจะมีกลิ่นหอมมากกว่าดอกมะลิซ้อน ขนาดของดอกเมื่อบานเต็มที่จะมีขนาดกว้าง ประมาณ 2-3 เซนติเมตร ดอกมะลิลาปลายแยกเป็น 5-8 กลีบ โคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร ดอกที่อยู่ตรงกลางจะบานก่อน แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นหลอดสีเขียวอมสีเหลืองอ่อน ส่วน ปลายแยกเป็นเส้น มีเกสรเพศผู้ 2 อันติดกับกลีบดอกในหลอดสีขาว และมักไม่ติดผล
ประโยชน์ 1.ดอกมะลิมีรสหอมเย็น มีสรรพคุณบารุงหัวใจ ทาให้ชื่นใจ จิตใจชุมชื่น แก้อาการอ่อนเพลีย ชูกาลัง (ดอก) 2.ชาวโอรังอัสลี ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย จะใช้รากนาไปต้ม แล้วดื่มน้ากินเป็นยาแก้เบาหวาน (ราก) 3.หากมีอาการนอนไม่หลับ ให้ใช้รากแห้งประมาณ 1-1.5 กรัม นามาฝนกับน้ารับประทาน (ราก) 4.ดอกสดนามาตาให้ละเอียดใช้พอกขมับ จะช่วยแก้อาการปวดศีรษะได้ (ดอก) หรือจะใช้รากสดประมาณ 1-1.5 กรัม นามาต้มกับน้ากินเป็นยาแก้ปวดหัวก็ได้ (ราก) 5.ช่วยแก้เจ็บตา (ดอก) ชื่อเรียกมะลิ : มะลิลา (ทั่วไป), มะลิซ้อน (ภาคกลาง), มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่), มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน), มะลิป้อม (ภาคเหนือ), ข้าวแตก (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), เตียมูน (ละว้า-เชียงใหม่) มะลิเป็นไม้ดอกเศรษฐกิจที่นับวันมีความสาคัญมากขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับจากมะลิ เช่น เก็บดอก สาหรับร้อยมาลัย ดอกไม้แห้ง อุตสาหกรรมน้ามันหอมระเหย แล้วยังมีประโยชน์ รวมถึงใช้เป็นพืช สมุนไพรรักษาโรคได้ เช่น มะลิซ้อนดอกสดใช้รักษาโรคตาเจ็บ แก้ตัวร้อน แก้หวัด เป็นต้น 
9)ดอกเข็มแดง ชื่อสามัญ West Indian Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร์ Ixora chinensis Lamk. Ixora spp ชื่อวงศ์ RUBIACEAE 
ลักษณะ ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ลาต้นสูงประมาณ 3–5 ฟุต จะแตกกิ่งก้านสาขาออกแผ่เป็นพุ่ม ลาต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอแผ่สาขาออกไปเป็นต้นต้นเล็กกลมขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตรลาต้นเรียบสีน้าตาลกิ่งยอดมีสีเขียวแตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน ใบ ใบของดอกเข็มแข็ง และเปราะง่าย มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออก เรียงสลับกันคนละทิศทาง ลักษณะใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดพันธุ์
ดอก ดอกออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็น หลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ลักษณะดอกและสีสรรแตกต่างกันไป ฝัก/ผล เป็นผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดา 
ประโยชน์ สรรพคุณทางยา - รากมีรสหวานใช้รับประทานแก้โรคตา เจริญอาหาร - ใบใช้เป็นยาฆ่าพยาธิ - ดอกแก้โรคตาแดง ตาแฉะ - ผลแก้โรคริดสีดวงในจมูก 
ต้นเข็มหรือดอกเข็ม คนนิยมปลูกกันมากมายตามบ้านและสถานที่ต่างๆ นิยมปลูกเป็นกลุ่มเป็นพุ่ม บาง บ้านนามาใช้แทนกาแพงบ้านกัน ดอกเข็มมีหลากหลายชนิดและหลายสี ดอกเข็มนิยมนามาใช้ทางพุทธ ศาสนาด้วยเช่นกันเพราะดอกเข็มใช้แทนความจริงใจ และความเคารพและศัทธาคนๆนั้น การปลูก - การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน - การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวนนิยมปลูกเป็นกลุ่มตกแต่งสวนบริเวณบ้านหรือ ปลูกเป็นแนวรั้วก็ได้ สามารถตัดแต่ง และบังคับรูปทรงได้ตามความเหมาะสม และความต้องการของผู้ปลูก การดูแลรักษา -ชอบอยู่กลางแจ้ง ขึ้นได้กับดินทุกชนิดแต่จะชอบดินที่ร่วนซุยมากกว่า มีความชุ่มชื้นพอดี ทนทานต่อ ความแห้งแล้ง 
10)บัว ชื่อสามัญ Water Lily ชื่อวิทยาศาสตร์ Nymphaea lotus ชื่อวงศ์ NYMPHAEACEAE 
ลักษณะ ต้น เป็นพืชน้าล้มลุก ลักษณะลาต้นมีทั้งที่เป็นเหง้า (Rhizome) ไหล (Stolon) หน่อ (Sprout) และหัว (Bulb)
ใบ เป็นใบเดี่ยวเจริญขึ้นจากลาต้น โดยมีก้านใบส่งขึ้นมาเจริญที่ใต้น้า ผิวน้าหรือเหนือน้า รูปร่างของใบส่วน ใหญ่กลมมีหลายแบบ ฐานใบแยกกางออกตรงจุดต่อของใบ และก้านใบ (Cordate) บางชนิดมีก้านใบติดอยู่ที่ หลังใบ ดอก เป็นดอกเดี่ยวสมบูรณ์เพศ ก้านดอกยาวมีหนามเหมือนก้านใบ ชูดอกเหนือน้า และชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ สีขาวอมเขียวหรือสีเทาชมพู ร่วงง่าย กลีบดอก (Petal) มีทั้งชนิดกลีบซ้อน และไม่ซ้อน ดอกตูมเป็นรูปกรวยแหลม ดอกมีสีสันแตกต่างกัน แล้วแต่ชนิด ฝัก/ผล ตรงใจกลางดอกมีรูปร่างคล้ายกรวย สีเหลืองนวล หรือที่เรียกกันว่า ฝักบัว พอแก่จะมีสีเขียว รอบ รูปกรวยที่มีไข่ฝังอยู่ มีเกสรตัวผู้ลักษณะเป็นเส้นสีเหลือง ล้อมรอบอยู่มากมาย เปลือกเมล็กสีเขียว ภายในมี เนื้อสีขาวนวล รสหวานมัน ตรงกลางที่ฝาเมล็ดบัวประกบกัน จะมีดีบัวสีเขียวเข้ม มีขนาดเล็กอยู่ตรงกลาง (ดี บัว คือ ต้นอ่อนเป็นส่วนที่จะงอกไปเป็นต้นใหม่ อยู่ในเมล็ด) 
ประโยชน์ ดอกบัว ถือเป็นดอกไม้ที่สวยงาม ประชาชนหาซื้อไปบูชาพระมากกว่าดอกไม้ชนิดอื่น เพราะสามารถคง ความงามไว้ได้นานกว่าดอกไม้หลายชนิด เม็ดบัว สามารถนามากินได้ทั้งสดและแห้ง เม็ดบัวมีปริมาณสารอาหารที่สาคัญ คือ โปรตีน ประมาณ 23 % ซึ่งสูงกว่าข้าวถึง 3 เท่า และเป็นแหล่งรวมธาตุ อาหารหลายชนิดด้วยกัน เม็ดบัวนามาประกอบอาหารได้ทั้ง คาวหวาน เช่น สังขยา เม็ดบัว ขนมหม้อแกงเม็ดบัว เม็ดบัวเชื่อม สาคูเม็ดบัว เป็นต้น รากบัว นิยมนามาเชื่อมแห้งกินเป็นของหวาน หรือนาไปต้มกับน้าตาลกรวด แก้ร้อนใน ชาวอินเดีย จะให้ เด็กดื่มน้ารากบัว เพื่อระงับอาการท้องร่วง ไหลบัว หรือต้นกล้าบัว สามารถนามาประกอบอาหารได้ทั้งสด ทั้งแห้ง โดยมากจะนามาแกงส้ม แกงเลียง ผัดเผ็ดต่าง ๆ สายบัว สามารถปรุงอาหารแทนผักได้หลายชนิด ทั้งแกงส้มสายบัว แกงสายบัวกับปลาทู ฯลฯ ชาวอินเดีย กินเพื่อแก้อาการท้องร่วง ใบบัว นิยมนามาห่อข้าว ห่อของ เช่น ข้าวห่อใบบัว ส่วนใบอ่อนสามารถนามากินเป็นผักสดแกล้มน้าพริก หรือนามาหั่นฝอย ๆ ชงดื่มแทนน้าชา ช่วยแก้ร้อนในกระหายน้าได้เป็นอย่างดี การปลูก ปลูกในดินเหนียวในน้า
การดูแลรักษา ต้องเป็นน้าที่สะอาด ชอบแสงแดดจัดถ้าปลูกบัวในที่ร่มเกินไปบัวจะออกดอกน้อยหรือไม่ออกดอกเลย การขยายพันธุ์: - แยกเหง้า บัวในเขตอบอุ่นและเขตหนาวที่มีลาต้นเป็นแบบเหง้าสามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีแยกหน่อ หรือต้นอ่อนจากเหง้าต้นแม่ไปปลูก โดยตัดแยกเหง้าที่มีหน่อหรือต้นอ่อนยาว 5-8 ซม. ตัดรากออกให้ หมด ถ้าเป็นต้นอ่อนสามารถนาไปปลูกยังที่ต้องการได้เลย ถ้าเป็นหน่อให้นาไปปลูกในกระถางขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-25 ซม. ฝังดินให้ลึกประมาณ 3-5 ซม. กดดินให้แน่น เทน้าให้ท่วมประมาณ 8-10 ซม. ดินที่ใช้ควรเป็นดินเหนียวเพื่อช่วยจับเหง้าไม้ให้ลอยขึ้นเหนือผิวน้า เมื่อหน่อเจริญเติบโตเป็นต้น ใหม่จึงย้ายไปปลูกยังที่ต้องการ - แยกไหล บัวในเขตร้อนโดยเฉพาะบัวหลวงจะสร้างไหลจากหัวหรือเหง้าของต้นแม่แล้วไปงอกเป็นต้น ใหม่ สามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีตัดเอาไหลที่มีหน่อหรือปลิดต้นใหม่จากไหลไปปลูก การตัดไหลที่มี หน่อไปปลูกควรตัดให้มีขนาดความยาวประมาณ 2-3 ข้อ และมีตาประมาณ 3 ตา นาไหลที่ตัดฝังดินให้ลึก 3-5 ซม. กดดินให้แน่น ต้นอ่อนจะขึ้นจากตาและเจริญเป็นต้นใหม่ต่อไป
6. วิธีดาเนินงาน 
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 
1. กล้องถ่ายรูป 
2. คอมพิวเตอร์ 
3. สมุดจดบันทึก 
4. อุปกรณ์เครื่องเขียน 
5. เว็ปไซต์ www.biogang.net 
- ขั้นตอนการศึกษา 
1.ประชุมเลือกชุมชนที่เราต้องการจะไปสารวจซึ่งก็คือชุมชนเขมาเนรมิตรและตกลงกันว่าจะไปสารวจ ทรัพยากรชีวภาพชนิดใดบ้าง ซึ่งกลุ่มเราจะสารวจ ชบา , คุณนายตื่นสาย , ต้นโป๊ยเซียน , ดอกชวนชม , บานบุรี , กระเพรา , ทับทิม , บัว , ดอกเข็มแดง และ ต้นมะลิ 
2.แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มในการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตอย่างชัดเจน 
3.เริ่มทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรโดยสมาชิกในกลุ่มได้ทาตามแผนที่กาหนด เอาไว้ 
4.นาข้อมูลที่สมาชิกแต่ละคนสารวจมาได้โพสลงที่ www.biogang.net 
5.ให้สมาชิกภายในกลุ่มแต่ละคนแคปรูปหน้าจอที่โพสข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพใน www.biogang.net และ รวบรวมส่งให้หัวหน้ากลุ่มเพื่อที่จะจัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map 
6.จัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map จากข้อมูลที่ทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพของชุมชนเขมา เนรมิตรและนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อตรวจและแก้ไข 
7.จัดทา E-book โดยใช้ข้อมูลจากเค้าโครงโครงงาน และ Bio map ที่ให้ครูที่ปรึกษาโครงงานตรวจและ แก้ไขได้อย่างถูกต้องแล้ว 
8.นาเสนอผลงาน
- แผนปฏิบัติงาน 
ขั้นตอนในการทาโครงงาน 
ระยะเวลาการดาเนินงาน 
หมายเหตุ 
1.ประชุมเลือกชุมที่ต้างการจะไป สารวจและตกลงกันว่าจะไปสารวจ ทรัพยากรชนิดใดบ้าง 
1 ก.ค. 57 -3 ก.ค. 57 
- เลือกสารวจชุมชนเขมาเนรมิตร 
- ทรัพยากรชีวภาพที่สารวจในชุมชน เขมาเนรมิตร คือ ชบา , คุณนายตื่นสาย , ต้นโป๊ยเซียน , ดอกชวนชม , บานบุรี , กระเพรา , ทับทิม , บัว , ดอกเข็มแดง และ ต้นมะลิ 
2.แบ่งหน้าที่สมาชิกในกลุ่มในการ สารวจทรัพยากรชีวภาพอย่างชัดเจน 
5 ก.ค. 57 - 6 ก.ค. 57 
- 
3.เริ่มทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนเขมาเนรมิตร 
11 ก.ค. 57 - 13 ก.ค. 57 
สมาชิกทาตามแผนที่กาหนดเอาไว้ 
4.นาข้อมูลที่สมาชิกแต่ละคนสารวจมา ได้โพสลงที่ www.biogang.net 
14 ก.ค. 57 - 19 ก.ค. 57 
- 
5.ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแคปรูปหน้าจอ ที่โพสข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพ ใน www.biogang.net และ รวบรวม ส่งให้หัวหน้ากลุ่ม 
20 ก.ค. 57 - 21 ก.ค. 57 
-เพื่อนาข้อมูลจัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map 
6.จัดทาเค้าโครงโครงงาน และ 
Bio map จากข้อมูลที่ทาการสารวจ ทรัพยากรชีวภาพของชุมชนเขมา เนรมิตรและนาเสนอครูที่ปรึกษา โครงงานเพื่อตรวจและแก้ไข 
22 ก.ค. 57 - 25 ก.ค. 57 
- 
7.จัดทา E-book โดยใช้ข้อมูลจากเค้า โครงโครงงาน และ Bio map 
28 ก.ค. 57 - 10 ส.ค. 57 
-ใช้ข้อมูลจากเค้าโครงโครงงานที่ถูกต้อง โดยผ่านการตรวจและแก้ไขจากอาจารย์ที่ ปรึกษาโครงงานแล้ว 
8. นาเสนอผลงาน 
18 ส.ค. 57 
-
7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 
http://kruwichailikitponrak.wordpress.com/ 
http://www.biogang.net/ 
ข้อมูลเว็ปไซต์ทรัพยากรชีวภาพที่สารวจในชุมชนเขมาเนรมิตร 10ชนิด 1.http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_3.htm 
(ทับทิม) 2.http://frynn.com/%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87 (บานบุรี) 3.http://frynn.com/%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B (กระเพรา) 4.http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=668&name=%20Shoe%20flower%2C%20China%20rose%20-%20Shoe%20Flower%20%5B1%5D 
(ชบา) 
5.http://www.natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10- 46/Portulaca.htm 
(คุณนายตื่นสาย) 6.http://www.shc.ac.th/learning/botanical-garden/143.htm (ต้นโป้ยเซียน) 7.http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2% E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E (บัว)
8.www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_9.htm (ต้นมะลิ) 9.http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2% E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E ( ดอกเข็มแดง) 10.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%A (ดอกชวนชม)
รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) 
บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net 
ชื่อโครงงานชีววิทยา การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตร 
รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ XOXO 
1.นาย ธิติศักดิ์ มารุต ม.6/1 เลขที่ 12 
2.น.ส. เจนจิรา ศรีร่องหอย ม.6/1 เลขที่ 14 
3.น.ส. สายขวัญ สายะวิบูลย์ ม.6/1 เลขที่ 16 
4.น.ส. อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม.6/1 เลขที่ 19 
ครูที่ปรึกษาโครงงาน 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 
สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน 
กระทรวงศึกษาธิการ
1. ชื่อ นาย ธิติศักดิ์ นามสกุล มารุต เลขที่ 12 ชั้น ม.6/1 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ บัว
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 2 คือ ดอกเข็มแดง
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 3 คือ ต้นมะลิ
2. ชื่อ นางสาว เจนจิรา นามสกุล ศรีร่องหอย เลขที่ 14 ชั้น 6/1
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 4 คือ ดอกชวนชม
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 5 คือ ต้นโป๊ยเซียน
3. ชื่อ นางสาว สายขวัญ นามสกุล สายะวิบูลย์ เลขที่ 16 ชั้น 6/1 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ ชบา
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 7 คือ คุณนายตื่นสาย
4. ชื่อ นางสาว อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม. 6/1 เลขที่ 19 
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ บานบุรี
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 9 คือ กะเพรา
ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 10 คือ ทับทิม
Biomapcontest2014 xoxo

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรWichai Likitponrak
 
รายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclipรายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclipWichai Likitponrak
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2Mam Chongruk
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

Worksheet genetics mendel
Worksheet genetics mendelWorksheet genetics mendel
Worksheet genetics mendel
 
Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5
 
Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6
 
Worksheet cell division
Worksheet cell divisionWorksheet cell division
Worksheet cell division
 
Worksheet human kidney
Worksheet human kidneyWorksheet human kidney
Worksheet human kidney
 
Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6Worksheet biolo gy6
Worksheet biolo gy6
 
Lesson procedure biology4
Lesson procedure biology4Lesson procedure biology4
Lesson procedure biology4
 
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสรเอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
เอกสารประกอบการสอนเข้มอัปสร
 
รายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclipรายงานประกอบBioclip
รายงานประกอบBioclip
 
Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5Worksheet biolo gy5
Worksheet biolo gy5
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
Worksheet human heart
Worksheet human heartWorksheet human heart
Worksheet human heart
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
2013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.7796272013 07-28 12-22-07-0.779627
2013 07-28 12-22-07-0.779627
 
Worksheet biolo gy4
Worksheet biolo gy4Worksheet biolo gy4
Worksheet biolo gy4
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
Lesson procedure biology6
Lesson procedure biology6Lesson procedure biology6
Lesson procedure biology6
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 

Similar to Biomapcontest2014 xoxo (20)

Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
group 1 room 656
group 1 room 656group 1 room 656
group 1 room 656
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Biomapcontest2014 xoxo

  • 1. เค้าโครงโครงงานชีววิทยา (Biology Project) การรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) ชื่อโครงงานชีววิทยา การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตร รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ XOXO 1.นาย ธิติศักดิ์ มารุต ม.6/1 เลขที่ 12 2.น.ส. เจนจิรา ศรีร่องหอย ม.6/1 เลขที่ 14 3.น.ส. สายขวัญ สายะวิบูลย์ ม.6/1 เลขที่ 16 4.น.ส. อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม.6/1 เลขที่ 19 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน การสารวจทรัพยากรชีวภาพ หมายถึง การสารวจสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่อยู่ร่วมกันในธรรมชาติให้อยู่กัน อย่างสอดคล้องสมดุล การดารงอยู่ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละภูมินิเวศน์จะแตกต่างกันไปนั้น คนหรือชุมชนซึ่ง ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของทรัพยากรชีวภาพ การดารงชีวิตของสังคมในชุมชนหรือภูมินิเวศน์ที่อยู่กันมาตั้งแต่ ดั้งเดิมที่เชื่อมโยงคนให้กับกับวิถีของธรรมชาติ จากความรู้ที่สั่งสมสืบทอดต่อ ๆ กันมา มองธรรมชาติว่ามี จิตวิญญาณ และสร้างกฎเกณฑ์ ประเพณี ความเชื่อ เพื่อให้คนอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ ความสาคัญของการ สารวจทรัพยากรชีวภาพก็คือ ทาให้มีฐานข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลของความหลากหลายทางชีวภาพของ ภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น , ทาให้รู้จักทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพต่างๆมากขึ้น ซึ่งข้อมูล ทรัพยากรชีวภาพสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวม ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลความ หลากหลายทางชีวภาพให้กับประชาชน นักศึกษา นักวิชาการ นักวิจัย เข้ามาใช้ประโยชน์ผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต หรือ เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาต่อยอดมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับหน่วยงานต่างๆ ที่ให้ความ สนใจในข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนั้นกลุ่มของพวกเราจึงจัดทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชมขึ้นมา เพื่อใช้เป็นประโยชน์ในความหลากหลายทางชีวภาพต่อไป เพราะ การสะสมข้อมูลทรัพยากร ชีวภาพในประเทศไทยนั้นมีการจัดเก็บและค้นพบข้อมูลต่างๆมาช้านาน การจัดเก็บมีการกระจายอยู่ทั่วไป โดยผู้ที่ถือครองเป็นองค์กรหรือตัวบุคคล ซึ่งเป็นข้อจัดกัดและนาข้อมูลทางทรัพยากรทางชีวภาพมาใช้ได้ ยาก เนื่องจากได้รับหมอบหมายจากรายวิชาชีววิทยา เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ให้จัดทาโครงงาน เกี่ยวกับการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนของตนเอง กลุ่มของพวกเราจึงเลือกที่จะสารวจทรัพยากร ชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรเพราะสามารถทาการสารวจและเก็บข้อมูลได้สะดวก โดยกลุ่มของเราได้ สารวจทรัพยากรชีวภาพเป็นพืชทั้งหมดจานวน10ชนิด ได้แก่ ชบา , คุณนายตื่นสาย , ต้นโป๊ยเซียน , ดอก ชวนชม , บานบุรี , กระเพรา , ทับทิม , บัว , ดอกเข็มแดง และ ต้นมะลิ เพื่อเป็นความรู้ประกอบกับการเรียน รายวิชาชีววิทยาในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพ ประโยชน์ที่คาดหวัง ได้ทราบถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ได้สารวจในชุมชนเขมาเนรมิตรเพิ่มเติมมาก ขึ้น , ทาให้ได้รู้จักกับสิ่งมีชีวิตในชุมชนเขมาเนรมิตรมากขึ้น , ได้ฝึกการทางานเป็นทีม,การคิดวิเคราะห์ และ ความรับผิดชอบ โดยอาศัยกระบวนการการทาโครงงาน และ ได้จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน เขมาเนรมิตรโดยใช้ www.biogang.net และผู้จัดทาหวังว่าจะเป็นประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจศึกษาไม่มากก็ น้อย
  • 3. 2. วัตถุประสงค์ 1)เพื่อสารวจสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชนเขมาเนรมิตร 2)เพื่อต้องการทราบถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้นๆในชุมชนเขมาเนรมิตร 3)เพื่อต้องการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรในชุมชนเขมาเนรมิตรว่ามีสปีชีส์อะไรบ้างโดยใช้ www.biogang.net 4)เพื่อฝึกการทางานเป็นทีม คือ ช่วยกันสารวจสิ่งมีชีวิตในชุมชน 3. สมมติฐานของการศึกษา -ถ้าชุมชนเขมาเนรมิตรมีความหลากหลายของทรัพยากรทางชีวภาพแล้ว ชนิดและสายพันธ์ของทรัพยา ชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรก็จะมีมากตามไปด้วย 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงงาน 1)ได้ทราบถึงลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ได้สารวจในชุมชนเขมาเนรมิตรเพิ่มเติมมากขึ้น 2)ทาให้ได้รู้จักกับสิ่งมีชีวิตในชุมชนเขมาเนรมิตรมากขึ้น 3)ได้ฝึกการทางานเป็นทีม,การคิดวิเคราะห์ และ ความรับผิดชอบ โดยอาศัยกระบวนการการทาโครงงาน 4)ได้จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรโดยใช้ www.biogang.net 5. ทฤษฎีหลักการหรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน 1)บานบุรี ชื่อวิทยาศาสร์ Allamanda cathartica. Linn. ตระกูล APOCYNACEAE ชื่อสามัญ Golden trumpet , Allamanda. ลักษณะ บานบุรีเป็นพรรณไม้เถาเล็ก จะเลื้อยเถายาวเกี่ยวเกาะกับไม้พุ่มใหญ่ๆ ลักษณะของใบเป็นใบมนรี ปลาย ใบแหลม ขอบใบเรียบ ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่งของต้น ช่อๆ หนึ่งมีดอกอยู่ประมาณ 5-8 ดอกและจะ ทยอยกันบาน ดอกมีสีเหลืองแสด ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกค่อนข้างกลม แฉกกลีบเวียนคล้าย กงจักร โคนดอกเป็นหลอด เมื่อดอกย่อยบานมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-7 ซม. มีจุดริ้วสีส้มที่โคนคอ กลีบ ดอกจะมีกลิ่นหอมในตอนเช้า
  • 4. ประโยชน์ ใบ - ใช้เป็นยาถ่าย แก้จุกเสียด แก้อาเจียน เปลือกต้นและยางขาว - ใช้ปริมาณน้อยเป็นยาถ่าย ขับน้าดี ใช้ปริมาณมากเป็นพิษต่อหัวใจ ทาให้ท้องเสีย ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของบานบุรีเหลือง มีฤทธิ์ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเซลล์ ช่วยต้านเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา และต้านเนื้องอก แต่ฤทธิ์ดังกล่าว ยังต้องมีการศึกษาวิจัยต่อไป การปลูกดูแลรักษา บานบุรีหอมเป็นไม้กลางแจ้งต้องการแสงแดดจัด ดินปลูกควรเป็นดินร่วนซุยมีธาตุอาหารสมบูรณ์ ควร ปรับปรุงดินให้มีคุณภาพก่อนการปลูก เป็นพืชที่ต้องการน้าและความชื้นจึงควรรดน้าบ่อยๆ แต่ไม่ควรรดจน แฉะเกินไป หากกิ่งยึดยาวควรปักไม้และจับยอดเลื้อยพันให้สวยงาม 2)กะเพรา ชื่อวิทยาศาสร์ Ocimum sanctum linn. ตระกูล LABIATAE (LAMIACEAE) ชื่อสามัญ Holy basil, Sacred Basil ลักษณะ ต้น เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30 - 60 ซม. โคนลาต้นค่อนข้างแข็ง ตามลาต้นมีขน มีกลิ่นหอมเป็น ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 1-3 ซม. ยาว 2.5-5 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนแหลม ขอบจักฟันเลื่อย และเป็นคลื่น แผ่นใบมีขนโดยเฉพาะยอด ใบสีเขียว เรียกกะเพราขาว ใบสีแดงเรียกกะเพราแดง ดอก เป็นแบบช่อฉัตร ออกบริเวณปลายยอดและปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ประกอบด้วยดอกเล็กๆ ออกเป็น วงรอบแกนช่อเป็นชั้นๆ ก้านดอกยาว 2-3 มม. และกางออกตั้งฉากกับแกนช่อ กลีบเลี้ยงโคนติดกันเป็นรูป คล้ายระฆัง ปลายแยกเป็น 2 ส่วน ส่วนบนมีกลีบเดียวค่อนข้างกลม ส่วนกลางแยกเป็น 4 แฉก ปลายแหลม เรียว ด้านในเกลี้ยง ด้านนอกมีขนตามโคนกลีบ กลีบดอกสีขาว (กะเพราขาว) หรือชมพูปนม่วงแดง (กะเพรา แดง) ด้านบนมี 4 กลีบ ด้านล่างมี 1 กลีบ ขนาดยาวกว่าด้านบน ตรงกลางกลีบเว้าตื้นๆ ปลายกลีบม้วนพับลง ผล แห้งแล้วแตกออก
  • 5. ประโยชน์ 1.ใช้ทาเป็นยาอายุวัฒนะ (the elixir of life) 2.ช่วยทาให้ร่างกายอบอุ่น และป้องกันอาการหวัดได้ (ใบ) 3.กะเพราเป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพรหลายชนิด เช่น ยารักษาตายขโมยสาหรับเด็ก ยาแก้ทาง เด็ก ฯลฯ 4.รากแห้งนามาชงหรือต้มกับน้าร้อนดื่ม ช่วยแก้โรคธาตุพิการ (ราก) 5.ช่วยบารุงธาตุไฟ (ใบ) 6.ช่วยแก้อาการคลื่นเหียนอาเจียน (ใบ) 7.ช่วยแก้อาการปวดด้วย ด้วยการใช้ใบกะเพรานามาคั้นรับประทานสด 1 ถ้วยตะไล จะช่วยแก้ อาการปวดมวนท้องได้เป็นอย่างดี (ใบ) 8.ช่วยขับลมแก้อาการปวดท้องอุจจาระ (ใบ) 9.ใบกะเพราสรรพคุณช่วยขับลมในกระเพาะ (ใบ) 10.ช่วยแก้อาการจุกเสียดแน่นท้อง (ใบ) 11.สรรพคุณกะเพราช่วยแก้ลมซานตาง (ใบ) 12.น้าสกัดจากทั้งต้นของกะเพรามีฤทธิ์ช่วยลดการบีบตัวของลาไส้ (น้าสกัดจากทั้งต้น) 13.ช่วยย่อยไขมัน (น้าสกัดจากทั้งต้น) 14.ช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร (น้าสกัดจากทั้งต้น) 15.กะเพรา สรรพคุณช่วยขับน้าดี (น้าสกัดจากทั้งต้น) พันธุ์กะเพรา กะเพราเป็นที่ปลูกกันทั่วไป มีอยู่ 2 ชนิด คือ กะเพราขาวและกะเพราแดง ซึ่งเรียกชื่อตามสีของก้านใบ และก้านดอก ส่วนในเรื่องพันธุ์ นั้น ยัง ไม่มี การ ศึกษาปรับปรุงพันธุ์หรือคัดเลือกพันธุ์อย่างจริงใจในทาง วิชาการ พันธุ์กะเพราที่ใช้ปลูกในปัจจุบันจะเป็นพันธุ์พื้นเมือง ที่มีการปลูกและเก็บเมล็ดพันธุ์เอาไว้ต่อๆ กัน มา เนื่องจากกะเพราเป็นพืชที่ยังไม่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจมากนัก
  • 6. 3)ทับทิม ชื่อวิทยาศาสร์ Punica granatum L.. ตระกูล LABIATAE (LAMIACEAE) ชื่อสามัญ Punicaceae ลักษณะ ต้น เป็นพรรณไม้ยืนต้น หรือพรรณไม้พุ่มขนาดกลาง ลักษณะผิวเปลือกลาต้นเป็นสีเทา ส่วนที่เป็นกิ่งหรือ ยอดอ่อนจะเป็นเหลี่ยม หรือมีหนามแหลมยาวขึ้น ใบ ใบมีลักษณะเป็นรูปยาวรี โคนใบมนแคบ ส่วนปลายใบเรียวแหลมสั้น ผิวหลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ใต้ท้อง ใบจะเห็นเส้นใบได้ชัด ขนาดของใบกว้างประมาณ 1-1.8 ซม. ยาวประมาณ 2.5-6 ซม. ดอก ดอกออกเป็นช่อ หรืออาจจะเป็นดอกเดียว ในบริเวณปลายยอด หรือง่ามกิ่ง ลักษณะของดอกมีเป็น สี ส้ม สีขาว หรือสีแดง ดอกหนึ่งมีกลีบดอกประมาณ 6 กลีบ ปลายกลีบดอกจะแยกออกจากกัน ตรงกลางดอก มีเกสรตัวเมีย และตัวผู้ซึ่งมีอับเรณูเป็นสีเหลือง ขนาดของดอกบานเต็มที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2- 3 ซม. ผล ผลมีลักษณะเป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกนอกหนาเกลี้ยง ผลเมื่อแก่หรือสุกเต็มที่มีสีเหลืองปนแดง และลักษณะของผลจะแตก หรืออ้างออก ข้างในผลก็จะมีเมล็ดเป็นจานวนมาก เป็นรูปเหลี่ยม มีสีชมพูสด การปลูก เป็นพืชชอบแดดที่ปลูกง่าย ทนทานต่อสภาพดินเกือบทุกชนิด ทั้งดินร่วน ดินทราย แม้กระทั่งดินที่ปนดิน เหนียวอยู่ ทั้งยังสามารถปลูกได้ทั้งการลงดินและเป็นไม้กระถาง ดังนั้นจึงมีผู้นิยมปลูกต้นทับทิมใน บ้านเรือนกันเป็นจานวนไม่น้อย การดูแลรักษา ผลทับทิมที่โดนแดดมากๆ จะทาให้ผิวเปลือกทับทิมด้าน ไม่สามารถขยายผลได้ เมื่อได้รับน้าหรือมีฝนตกลง มาหรือมีการใส่ปุ๋ยจะทาให้ผลแตกได้จะแก้ปัญหาด้วยการห่อผลโดยห่อในระยะผลมีอายุได้ประมาณ 40-45 วันหลังจากติดผลอ่อนและจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลังจากห่อผลไป ประมาณ1 เดือนครึ่ง หรือสังเกตง่ายๆ คือ ห่อในระยะที่ขนาดผลทับทิมใหญ่ใกล้เคียงกับผลส้มเขียวหวาน จะช่วยลดปัญหาเรื่องแดดเผาได้
  • 7. 4)ชบา ชื่อวิทยาศาสร์ Hibiscus rosa-sinensis L. ตระกูล MALVACEAE ชื่อสามัญ Chinese Rose , Rosa mallow ลักษณะ เป็นไม้พุ่มขนาดปานกลาง เป็นพืชที่มีเนื้อไม้อ่อน เปลือกเหนียว ใบเป็นใบเดี่ยว มีสีเขียวสด ใบรูปไข่ ปลาย แหลมริมใบเป็นจักฟันเลื่อย ดอกมีสีสันแตกต่างกัน มากมายเช่น แดง ชมพู เหลือง ส้ม มีกลีบดอก 5 กลีบ ทั้งดอกลา และดอกช้อนนอกออกดอกตลอดปี ใบ : ใบเดี่ยวรูปไข่กว้าง 3-3.5 เซนติเมตร นาว 4-9 เซนติเมตร ออกสลับ ปลายเรียวแหลมชอบใบเรียบ โคน สอบหรือมน ขอบจัก ดอก : ดอกมีสีแดง กลางดอกสีแดง ดอกเดี่ยว ออกตามชอกใบ ใกล้ปลายกิ่ง ริ้วประดับที่คนดอก 5-8 แฉก โคนเชื่อมกันเล็กน้อยกลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็น 5 แฉกกลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 เซนติเมตร นาว 6-8 เซนติเมตร เกสรตัวผู้จานวน มากก้าน เชื่อมเป็นหลอดยาวประมาณ 9 เซนติเมตร ล้อมรอบเกสรตัวเมีย อับเรณูติดบริเวณปลายแยกเป็น 5 แฉก โผล่พ้นหลอดเกสรตัวผู้ไม่ติดผลในไทย ชบา พันธุ์ลูกผสมมีหลายสี เช่น สีแดง ชมพู ขาว เหลือง ส้ม ประโยชน์ - เปลือกต้นชบาใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา ใบชบาใช้แก้แผลไฟไหม้น้าร้อนลวก บารุงผม - ใบ จะมีรสฝาดชุ่มคอ ใช้รักษาเลือดกาเดาออก คางทูมรักษาแผลบวมอักเสบ - ดอก จะมีรสชุ่มคอ และเย็น ใช้ละลายเสมหะ รักษาอาการไอ เลือดกาเดาออก - รักษาโรคบิด ตกขาว และ แผลบวมอักเสบ - รากสด ใช้พอกรักษาฝี รักษาอาการพกช้าบวมเนื่องจากอักเสบ ใช้กินภายในเป็นยาขับน้าย่อย การปลูก การปลูกเลี้ยงชบาเป็นพืชที่ปลูกเลี้ยงง่าย ถ้ามีการดูแลรักษาอยู่เหมาะสม จะทาให้ชบาออกดอกสวยงาม ตลอดปี ดินปลูก ควรเป็นดินร่วนซุย มีการระบายน้าดี อาจผสมดินร่วน ขี้เถ้าแกลบ การมะพร้าวสับ และปุ๋ย คอก อย่างละ 1 ส่วน คลุกเคล้าให้เข้ากัน การให้น้าขึ้นอยู่กับฤดูกาลและสภาพอากาศ เช่น ในฤดูฝนควรให้ น้าเมื่อเห็นว่าฝนไม่ตก เป็นเวลานานหรือผิวดินแห้ง ส่วนใหญ่ฤดูแล้งให้น้าเพียงวันละครั้ง และไม่ควรมีน้า ขังแฉะ ควรให้ปุ๋ยสูตร เสมอ เช่น 16-16-16 หรือ 15-15-15 ทุกๆ เดือน เดือนละครั้ง พร้อมกับพรวมดินรอบ
  • 8. พุ่มต้น ส่วนปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก นามาปรับปรุงดินเป็นตรั้งคราว โดยธรรมชาติเป็นพืชที่ ต้องการแสงแดดจัด ขึ้นได้ในดินทุก สภาพ และมักจะทนแล้งได้ดี 5)คุณนายตื่นสาย ชื่อวิทยาศาสร์ Portulace grandiflora ตระกูล Portulacaceae ชื่อสามัญ Portulaca ลักษณะ ไม้ดอกในสกุลนี้ส่วนใหญ่เป็นไม้พุ่มต้นเตี้ย การเจริญเติบโตค่อนไปทางเลื้อย ใบมีลักษณะอวบน้าเป็น แท่งรูปเข็มยาวประมาณ 1 นิ้ว สีเขียวอ่อนเป็นมัน ออกดอกและบานพร้อม ๆ กัน ดอกจะมีขนาดประมาณ 1- 2.5 นิ้ว แล้วแต่พันธุ์ กลีบดอกบางมีทั้งดอกชั้นเดียวและดอกซ้อนหลายสี เช่น สี ม่วงอ่อน บานเย็น ส้ม แดง ขาว เหลือง ชมพู ผลแห้งแตก มีเมล็ดจานวนมาก ประโยชน์ -ใช้เป็นไม้ประดับตกแต่งบ้าน ฤดูกาลออกดอก: ตลอดปี การปลูก: ปลูกคลุมดินประดับสวน เป็นแปลงริมรั้ว , ข้างทางเดินหรือนาขึ้นกระถางแขวน การดูแลรักษา: ขึ้นได้ในดินทั่วไป โดยเฉพาะดินทรายหรือดินปนทราย ไม่ชอบแฉะ และชอบแสงแดดจัด การขยายพันธุ์: โดยการปักชา กิ่ง แยกต้น การใช้ประโยชน์: ไม้ประดับ ถิ่นกาเนิด: แถบประเทศบราซิล การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ด การปลูกและการดูแลรักษา คุณนายตื่นสายนั้นเหมาะที่จะปลูกในที่ ๆ มีอากาศร้อน และแห้งแล้ง ปกติคุณนายตื่นสายชอบดินทรายหรือดินปน ทราย ไม่ชอบแฉะ จึงทนแล้งได้ดีกว่าแฉะ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมดิน ที่มีการระบายน้าได้ดี ระยะเวลาจากเพาะเมล็ดจนให้ดอก ประมาณ 6-8 สัปดาห์
  • 9. 6)ต้นโป๊ยเซียน ชื่อสามัญ Cronw of thorns, Christ Thorn ชื่อวิทยาศาสตร์ Euphorbia milli Desmoul ชื่อวงศ์ EUPHORBIACEAE ลักษณะ ใบ ยาวรีปลายใบจะแหลม ออกดอกเป็นกลุ่มๆ แต่ละดอกจะมีกลับอยู่ตรงข้ามกัน ดอก โป๊ยเซียนมีหลายสี เช่น แดง เหลือง ชมพู ส้ม ขาว เป็นต้น ดอกโป๊ยเซียนจะออกดอกทั้งปี แต่ออกมาก ในหน้าหนาว และดอกจะทนมาก ลาต้น มีหนามแหลม และแข็งคล้ายกระบองเพชร ประโยชน์ -ปลูกเป็นไม้ประดับสวยงาม เป็นไม้มงคล คนจีนนิยมปลูกกัน -ความสาคัญ ต้นโป๊ยเซียนนั้น บางคนเชื่อว่าเป็นต้นไม้เสี่ยงทาย หากผู้ใดปลูกต้นโป๊ยเซียน ออกดอกได้ 8 ดอก ก็จะมีโชคลาภ ร่ารวยเงินทอง หรือได้เลื่อนยศเลื่อน ตาแหน่งให้สูงขึ้น คนโบราณเชื่อกันว่าครอบครัวใดปลูกโป๊ยเซียนเอาไว้ภายในบ้าน ต้นไม้ชนิดนี้จะช่วย ชักนาโชคลาภมาให้สมาชิกทุกคนภายในบ้าน และยังเชื่ออีกว่าต้นโป๊ยเซียนยังช่วยปกป้องคุ้มครองเจ้าของ และครอบครัวให้มีแต่ความสงบสุข เพราะต้นโป๊ยเซียนนั้นเป็นตัวแทนของเทพเจ้า 8 องค์ ที่คอยคุ้มครอง ให้มนุษย์สงบสุขและมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง การปลูกเลี้ยงและดูแลรักษา แม้ว่าต้นโป๊ยเซียนจะสามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได้ดีในทุกภูมิภาคของไทยก็ตาม แต่การ ปลูกโป๊ยเซียนให้สวยงามนั้น นอกจากสภาพแวดล้อมแล้ว การดูแลรักษาก็นับว่ามีส่วนสาคัญ ดินปลูก ควรเป็นดินชั้นบนมีอินทรียวัตถุพวกเศษพืช โดยเฉพาะใบก้ามปูและใบทองหลางที่เน่าเปื่อยผุพัง คลุกเคล้าอยู่ในดินจนเป็นเนื้อเดียวกัน ดินประเภทนี้จะอุ้มน้าและระบายอากาศได้ดี ทาให้รากของโป๊ยเซียน แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว การใช้ดินปลูกที่แน่นทึบและมีน้าขังอาจทาให้รากและต้นโป๊ยเซียนเน่าได้ เมื่อ ปลูกโป๊ยเซียนได้ระยะหนึ่งควรทาการพรวนดินรอบๆ กระถางปลูก ห่างจากโคนต้นประมาณ 2 นิ้ว พร้อม ทั้งใส่ปุ๋ยคอกลงไปในดินประมาณ 1-2 ช้อนแกง และควรเปลี่ยนดินปลูกทุกปี
  • 10. แสงแดด โป๊ยเซียนเป็นไม้ที่ชอบแดด การปลูกถ้าให้โป๊ยเซียนได้รับแสงแดดประมาณ 60-70% จะดีมาก โดยเฉพาะแดดตอนเช้าถึงตอนสายก่อนเที่ยง ถ้าได้รับแสงแดด 100% ทั้งวันต้นจะแข็งแรง สีของดอกจะเข้ม แต่เล็กลงกว่าเดิม นอกจากนี้ใบยังอาจจะไหม้เกรียมได้ ถ้าให้โป๊ยเซียนได้รับแดดน้อยหรืออยู่ในร่ม ดอกจะ โต สีดอกไม่เข้ม ต้นไม่แข็งแรง ดังนั้นจึงควรจัดให้โป๊ยเซียนได้รับแสงแดดประมาณ 60-70% โดยใช้ตาข่าย พรางแสงช่วยก็จะดีมาก อย่างไรก็ตามในฤดูร้อนอากาศแห้งแล้งแดดจัดและร้อนมากเกินไปอาจทาให้ โป๊ยเซียนเหี่ยวเฉาได้ ดังนั้นความชุ่มชื้นในอากาศก็เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับโป๊ยเซียนเช่นกัน การรดน้า ตามปกติควรรดน้าวันละครั้งในตอนเช้าและควรรักษาระดับความชื้นของดินให้พอเหมาะไม่แฉะ หรือแห้งเกินไป เช่น ถ้าเป็นช่วงฤดูแล้งดินปลูกแห้งมากควรรดน้าทั้งเช้าและเย็น ฤดูฝนถ้าวันใดฝนตกก็ไม่ จาเป็นต้องรดน้าแต่ควรตรวจดูผิวดินในกระถางด้วย ทั้งนี้เพราะใบของโป๊ยเซียนอาจปกคลุมกระถางจนทา ให้ฝนที่ตกลงมาไม่สามารถลงไปในกระถางได้ ถ้าโป๊ยเซียนกาลังออกดอกควรหลีกเลี่ยงอย่าให้น้าไปถูก ดอกเพราะจะทาให้ดอกเน่าและร่วงเร็วกว่าปกติ สาหรับน้าที่ใช้รดควรเป็นน้าที่มีสภาพเป็นกลาง ถ้าน้ามี สภาพเป็นกรดอาจผสมปูนที่ใช้กินกับหมากลงไปเล็กน้อยก็ได้ ถ้าเป็นน้าประปาหรือน้าบาดาลควรมีบ่อหรือ ถังพักน้าไว้หลายๆ วันจึงจะนามาใช้ได้ การตัดแต่งกิ่ง โป๊ยเซียนบางต้นมีการแตกกิ่งก้านสาขามาก บางต้นมีลาต้นเดียวไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา ต้นที่มี กิ่งก้านสาขามากจะเป็นพุ่มทึบแสงแดดและอากาศถ่ายเทไม่สะดวก ทาให้โป๊ยเซียนออกดอกน้อยและมี ขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งหลบซ่อนของโรคและแมลงศัตรูพืช ควรตัดกิ่งก้านออกบ้างเพื่อให้แสง และอากาศถ่ายเทได้สะดวก การตัดควรตัดให้ชิดลาต้นไม่ควรเหลือตอกิ่งไว้ กิ่งที่เหลือไว้ควรให้มีรูปทรง สวยงามเป็นไปตามธรรมชาติ หลังจากตัดกิ่งออกแล้วควรใช้ปูนแดงทาบริเวณรอยตัดเพื่อป้องกันเชื้อรา ส่วนกิ่งที่ตัดออกอาจนาไปขยายพันธุ์ต่อไป สาหรับโป๊ยเซียนที่มีลาต้นเดี่ยวไม่ค่อยแตกกิ่งก้าน ถ้ากิ่งสูงมาก เมื่อโดนลมแรงๆ อาจทาให้ต้นหักได้ควรตัดยอดไปขยายพันธุ์เป็นต้นใหม่ ส่วนโคนที่เหลือก็จะแตกกิ่งก้าน ออกมาใหม่
  • 11. การให้ปุ๋ย เมื่อปลูกโป๊ยเซียนเป็นเวลานานธาตุอาหารในดินก็จะถูกใช้ไปเรื่อยๆ จึงจาเป็นต้องเพิ่มธาตุอาหาร หรือปุ๋ยลงไปในดิน การใส่ปุ๋ยให้กับโป๊ยเซียนสามารถใส่ได้ทั้งปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์อาจเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก เช่น มูลวัว มูลสุกร มูลไก่ มูลค้างคาว รวมทั้งปุ๋ย กทม. ปุ๋ยเหล่านี้ทา ให้ดินร่วนซุย ระบายถ่ายเทอากาศได้ดี ควรใส่เดือนละครั้งสลับกับการใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีควรใช้ปุ๋ยที่มี คุณภาพดีซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งปุ๋ยละลายช้า ปุ๋ยเกล็ดและปุ๋ยน้าโดยปฏิบัติตามคาแนะนาในฉลากอย่าง เคร่งครัด การให้ปุ๋ยเคมีควรให้ในช่วงเช้าและควรงดน้าก่อนให้ปุ๋ย 1 วันเพื่อกระตุ้นให้รากดูดปุ๋ยได้มากขึ้น ควรรดหรือโรยเฉลี่ยรอบๆ ต้นเดือนละ 1-2 ครั้ง สาหรับไม้ที่ปลูกใหม่ๆ ยังไม่ควรให้ปุ๋ยเคมีเพราะระบบราก ยังจับตัวกับดินไม่ดีพอประกอบกับรากอาจมีการฉีกขาด เนื่องจากการเปลี่ยนดินทาให้ปุ๋ยกระทบราก โดยตรงและเร็วเกินไป อาจทาให้โป๊ยเซียนตายได้ การใส่ปุ๋ยเพื่อให้โป๊ยเซียนออกกิ่งหรือดอกมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้  การปลูกเลี้ยงเพื่อให้แตกกิ่ง การทาให้โป๊ยเซียนคายน้าน้อยๆ จะทาให้โป๊ยเซียนไม่ออกดอกแต่จะ แตกกิ่งแทน ดังนั้นสถานที่ปลูกจึงควรเป็นที่อับลม มีลมพัดผ่านน้อย มีแสงแดดไม่มากหรือพราง แสงด้วยที่พรางแสงประมาณ 60-70% มีความชื้นแต่ไม่แฉะ การวางกระถางก็ควรวางให้สูงจากพื้น เพียงเล็กน้อย นอกจากนี้การยืดช่วงเวลากลางวันให้ยาวออกไปโดยการใช้หลอดไฟ Day Light 60- 100 วัตต์ ส่องให้กับต้นโป๊ยเซียนในเวลากลางคืนก็จะช่วยให้ต้นโป๊ยเซียนออกกิ่งได้ดีขึ้น สาหรับ ดินที่ปลูกควรผสมปุ๋ยคอกมูลสัตว์ เช่น มูลวัว มูลไก่ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ก็ควรใช้ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจน สูง เช่น 15-5-5, 25-7-7 ในปริมาณน้อยๆ ทุก 7-10 วัน  การปลูกเลี้ยงเพื่อให้ออกดอก จะตรงข้ามกับกับการปลูกเพื่อให้แตกกิ่ง คือการวางกระถางควรวาง ให้สูงจากพื้นประมาณ 60-70 ซม. เพื่อให้อากาศพัดผ่านก้นกระถางได้สะดวก เมื่อโป๊ยเซียนคายน้า มากจะทาให้ออกดอก แสงแดดควรให้มากกว่า 50% หรือพรางแสงด้วยที่พรางแสง 40-50% แสงแดดจะช่วยให้สีของดอกมีสีเข้มขึ้น แต่ไม่ควรให้โป๊ยเซียนถูกแสงแดด 100% หรือถูกแสงแดด โดยตรงจะทาให้ใบไหม้เกรียมได้ ดินปลูกไม่ควรมีปุ๋ยคอกมูลสัตว์มากนัก ควรใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ที่ มีธาตุฟอสฟอรัสค่อนข้างสูง เช่น 12-24-12, 8-24-24 จะเป็นปุ๋ยที่ให้ทางดินหรือทางใบก็ได้ การรด น้าก็ไม่ควรรดให้แฉะเกินไป เพราะจะทาให้ก้านส่งดอกยาว ออกดอกซ้อนและดอกจะโรยเร็ว นอกจากนี้ก็ไม่ควรรดน้าให้ถูกดอกเพราะจะทาให้เกสรดอกเน่าดาหมดความสวยงามได้
  • 12. 7)ดอกชวนชม ชื่อวิทยาศาสตร: Adenium obesum ชื่อวงศ: Apocynaceae ชื่อสามัญ Desert rose, Mock Azalea, Pinkbignonia, Impala lily ชื่อพื้นเมือ: ลั่นทมแดง ลั่นทมยะวา ลักษณะ ต้น เป็นไม้เนื้ออ่อน อวบน้า ต้นและกิ่งเป็นลากลม ผิวค่อนข้างเรียบสีเขียวอมเทา เปลือกบาง แตกกิ่ง ก้านไม่เป็นระเบียบ ส่วนโคนของลาต้นพองออกมีขนาดรูปทรงใหญ่เล็กแตกต่างกันไปเรียกว่า " โขด " มีไว้ สาหรับเก็บน้าเพื่อรักษาสมดุลของต้น โขด ของชวนชมคือรากที่ใช้สะสมอาหาร เช่นเดียวกับ เผือก มัน หรือพืชที่มีหัวทั่วไป มีลักษณะบวม ออกเป็นหัวขนาดใหญ่อยู่ใต้ดินหรือโผล่ขึ้นเหนือดินมีรูปทรงแตกต่างกันไป ใบ เป็นใบแบบเดี่ยว ออกเวียนรอบกิ่งคล้ายกังหันหลายๆ ชั้น และออกหนาแน่นตามปลายกิ่ง ใบของ ชวนชมมีหลายลักษณะแตกต่างกันขึ้นกับสายพันธุ์ เช่น ใบรูปไข่ ใบรูปหอก ปลายใบมีทั้งเว้า มน แหลม และใบตัด ขอบใบเรียบ หยักหรือเป็นคลื่น แผ่นใบหนาแข็งเขียวเข้มเป็นมันหรือบางพันธุ์มีขนนุ่มคล้าย กามะหยี่ที่ใต้ท้องใบ มีขนาดใหญ่และเล็กแตกต่างกันไป ดอก ชวนชมจะออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ช่อหนึ่งประมาณ 10-20 ดอก มีทั้งแบบบานพร้อมกันทั้งช่อ และทยอยบานครั้งละ 4-5 ดอก บานได้นาน 10-20 วัน ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 8-10 ซม. • กลีบเลี้ยง มีลักษณะเป็นกลีบเล็กๆ 5 กลีบ รูปรี ปลายแหลม ติดอยู่รอบโคนดอกเหนือฐานรองดอก มี สีแดง เขียว ชมพูอมแดงหรือเหลืองอมเขียว เมื่อดอกร่วงแล้วกลีบดอกยังติดแน่นอยู่ที่ฐานรองดอก • โคนกลีบดอกหรือหลอดดอก คือส่วนที่อยู่ต่อจากกลีบเลี้ยงขึ้นมามีลักษณะเป็นทรงกรวยกลม ยาว โคนหลอดเรียวเล็กลงติดกับกลีบเลี้ยง ปลายบานออกติดกับกลีบดอก • กลีบดอก มี 5 กลีบ เรียงติดอยู่รอบโคนกลีบดอกหรือหลอดดอกคล้ายปากแตร แต่ละกลีบมีรูปทรง หลายแบบ คือ รูปกลม รูปไข่ รูปแถบและรูปรี • เกสรตัวผู้ อยู่ตรงส่วนโคนของหลอดดอก เป็นรูปกระโจมคลุมยอดเกสรตัวเมีย ประกอบด้วยละออง เรณู 5 อันเรียงติดกันบนก้านชูเกสรตัวผู้ มีโคนระยางค์เชื่อมต่อจากปลายเกสรตัวผู้ยาวขึ้นไปตลอดหลอด ดอก 5 เส้น ภายในอับละอองเรณูนี้เมื่อแก่พร้อมที่จะผสมเกสร จะมีละอองเกสรตัวผู้มีลักษณะเป็นขุยสี เหลืองละเอียด • เกสรตัวเมีย อยู่ตรงส่วนโคนของหลอดดอก ล้อมรอบด้วยเกสรตัวผู้ ประกอบด้วยยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่ ยอดเกสรตัวเมียมีรูปกลมสีขาวขุ่น มีท่อยาวลงไปที่รังไข่ซึ่งอยู่ติดกับฐานรอง ดอก ภายในรังไข่มีไข่อ่อน เมื่อเกสรตัวเมียพร้อมที่จะผสมเกสรจะมีเมือกเหนียวคล้ายแป้งเปียก และเมื่อมี การผสมพันธุ์ไข่อ่อนภายในรังไข่จะเจริญไปเป็นเมล็ดต่อไป
  • 13. ฝัก/ผล มีลักษณะคล้ายบูมเมอแรงหรือเขาคู่เป็นฝักสองฝักอยู่ติดกัน ปลายและโคนเรียวแหลมยาว ประมาณ 10-30 ซม. ขั้วของฝักอยู่ตรงตะเข็บแนวเชื่อมระหว่างเขาทั้งสอง ฝักอ่อนมีสีเขียว เมื่อฝักแก่จะมี สีน้าตาลอ่อนตะเข็บแนวเชื่อมจะแตกออก เมล็ด เมล็ดสีน้าตาลอ่อนเล็กๆ คล้ายเมล็ดข้าวเปลือก มีขนสีน้าตาลอ่อนเป็นพู่ติดอยู่ที่ปลายแหลมทั้งสอง ข้าง ขนที่ปลายทั้งสองนี้จะช่วยให้เมล็ดปลิวไปตามลมได้ไกล การปลูก: ปลูกลงกระถาง เป็นไม้ประธานสวนหย่อม เหมาะกับสวนกรวด ปลูกริมถนน ริมสระว่ายน้า ริม ทะเล การดูแลรักษา: ดินโปร่งร่วนซุย มีการระบายน้าดี ควรเป็นรดน้าด้วยน้าสะอาด ชอบแดดจัด นิยมใช้ปุ๋ยเม็ด ละลายช้า การขยายพันธุ์: การปักชากิ่ง การเสียบยอด การตอนกิ่ง การเพาะเมล็ด การใช้ประโยชน์: ไม้ประดับ ถิ่นกาเนิด: แอฟริกาตะวันออก แถบแทนซาเนีย เคนยา และ ยูกันดา 8)ต้นมะลิ ชื่อสามัญ Arabian jasmine ชื่อวิทยาศาสตร์ Jusminum adenophyllum ชื่อวงศ์ OLEACEAE ลักษณะ ลาต้น สูงประมาณ 58 ฟุต ใบ เป็นใบเดี่ยวแตกออกเป็นคู่ไปตามก้านต้น ลักษณะใบป้อมมน ปลายใบแหลมโคนใบสอบ ขอบใบ แหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบไม่มีจัก สีเขียวเป็นมัน ใบยาว 2-3 นิ้ว มีดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นช่อ ตามปลายยอด หรือปลายกิ่งประมาณ 3-5 ดอกแล้วแต่ชนิดพันธุ์ ดอก ออกดอกตามซอกใบและปลายกิ่ง ลักษณะของดอกมีทั้งดอกซ้อนและดอกไม่ซ้อน ดอกซ้อนเราจะ เรียกว่า “มะลิซ้อน” ส่วนดอกที่ไม่ซ้อนจะเรียกว่า “มะลิลา” โดยทั้งสองชนิดจะเป็นดอกสีขาวและมีกลิ่น หอม ซึ่งดอกมะลิลาจะมีกลิ่นหอมมากกว่าดอกมะลิซ้อน ขนาดของดอกเมื่อบานเต็มที่จะมีขนาดกว้าง ประมาณ 2-3 เซนติเมตร ดอกมะลิลาปลายแยกเป็น 5-8 กลีบ โคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร ดอกที่อยู่ตรงกลางจะบานก่อน แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นหลอดสีเขียวอมสีเหลืองอ่อน ส่วน ปลายแยกเป็นเส้น มีเกสรเพศผู้ 2 อันติดกับกลีบดอกในหลอดสีขาว และมักไม่ติดผล
  • 14. ประโยชน์ 1.ดอกมะลิมีรสหอมเย็น มีสรรพคุณบารุงหัวใจ ทาให้ชื่นใจ จิตใจชุมชื่น แก้อาการอ่อนเพลีย ชูกาลัง (ดอก) 2.ชาวโอรังอัสลี ในรัฐเประ ประเทศมาเลเซีย จะใช้รากนาไปต้ม แล้วดื่มน้ากินเป็นยาแก้เบาหวาน (ราก) 3.หากมีอาการนอนไม่หลับ ให้ใช้รากแห้งประมาณ 1-1.5 กรัม นามาฝนกับน้ารับประทาน (ราก) 4.ดอกสดนามาตาให้ละเอียดใช้พอกขมับ จะช่วยแก้อาการปวดศีรษะได้ (ดอก) หรือจะใช้รากสดประมาณ 1-1.5 กรัม นามาต้มกับน้ากินเป็นยาแก้ปวดหัวก็ได้ (ราก) 5.ช่วยแก้เจ็บตา (ดอก) ชื่อเรียกมะลิ : มะลิลา (ทั่วไป), มะลิซ้อน (ภาคกลาง), มะลิขี้ไก่ (เชียงใหม่), มะลิหลวง (แม่ฮ่องสอน), มะลิป้อม (ภาคเหนือ), ข้าวแตก (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน), เตียมูน (ละว้า-เชียงใหม่) มะลิเป็นไม้ดอกเศรษฐกิจที่นับวันมีความสาคัญมากขึ้น ประโยชน์ที่ได้รับจากมะลิ เช่น เก็บดอก สาหรับร้อยมาลัย ดอกไม้แห้ง อุตสาหกรรมน้ามันหอมระเหย แล้วยังมีประโยชน์ รวมถึงใช้เป็นพืช สมุนไพรรักษาโรคได้ เช่น มะลิซ้อนดอกสดใช้รักษาโรคตาเจ็บ แก้ตัวร้อน แก้หวัด เป็นต้น 9)ดอกเข็มแดง ชื่อสามัญ West Indian Jasmine ชื่อวิทยาศาสตร์ Ixora chinensis Lamk. Ixora spp ชื่อวงศ์ RUBIACEAE ลักษณะ ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดย่อม ลาต้นสูงประมาณ 3–5 ฟุต จะแตกกิ่งก้านสาขาออกแผ่เป็นพุ่ม ลาต้นเป็นต้นเดี่ยวหรือแตกกอแผ่สาขาออกไปเป็นต้นต้นเล็กกลมขนาดเส้นรอบวงประมาณ 4-10 เซนติเมตรลาต้นเรียบสีน้าตาลกิ่งยอดมีสีเขียวแตกกิ่งตรงขึ้นด้านบน ใบ ใบของดอกเข็มแข็ง และเปราะง่าย มีสีเขียวสด ลักษณะใบมนรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบจะออก เรียงสลับกันคนละทิศทาง ลักษณะใบมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกันตามชนิดพันธุ์
  • 15. ดอก ดอกออกเป็นช่อใหญ่ จะออกตรงส่วนยอดของต้น ในแต่ละช่อจะประกอบด้วยดอกขนาดเล็กเป็น หลอด ตรงปลายหลอดจะเป็นกลีบซึ่งมีอยู่ 4-5 กลีบ ปลายกลีบแหลม ลักษณะดอกและสีสรรแตกต่างกันไป ฝัก/ผล เป็นผลกลม ผลอ่อนสีเขียว ผลแก่สีดา ประโยชน์ สรรพคุณทางยา - รากมีรสหวานใช้รับประทานแก้โรคตา เจริญอาหาร - ใบใช้เป็นยาฆ่าพยาธิ - ดอกแก้โรคตาแดง ตาแฉะ - ผลแก้โรคริดสีดวงในจมูก ต้นเข็มหรือดอกเข็ม คนนิยมปลูกกันมากมายตามบ้านและสถานที่ต่างๆ นิยมปลูกเป็นกลุ่มเป็นพุ่ม บาง บ้านนามาใช้แทนกาแพงบ้านกัน ดอกเข็มมีหลากหลายชนิดและหลายสี ดอกเข็มนิยมนามาใช้ทางพุทธ ศาสนาด้วยเช่นกันเพราะดอกเข็มใช้แทนความจริงใจ และความเคารพและศัทธาคนๆนั้น การปลูก - การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคารบ้านเรือน - การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวนนิยมปลูกเป็นกลุ่มตกแต่งสวนบริเวณบ้านหรือ ปลูกเป็นแนวรั้วก็ได้ สามารถตัดแต่ง และบังคับรูปทรงได้ตามความเหมาะสม และความต้องการของผู้ปลูก การดูแลรักษา -ชอบอยู่กลางแจ้ง ขึ้นได้กับดินทุกชนิดแต่จะชอบดินที่ร่วนซุยมากกว่า มีความชุ่มชื้นพอดี ทนทานต่อ ความแห้งแล้ง 10)บัว ชื่อสามัญ Water Lily ชื่อวิทยาศาสตร์ Nymphaea lotus ชื่อวงศ์ NYMPHAEACEAE ลักษณะ ต้น เป็นพืชน้าล้มลุก ลักษณะลาต้นมีทั้งที่เป็นเหง้า (Rhizome) ไหล (Stolon) หน่อ (Sprout) และหัว (Bulb)
  • 16. ใบ เป็นใบเดี่ยวเจริญขึ้นจากลาต้น โดยมีก้านใบส่งขึ้นมาเจริญที่ใต้น้า ผิวน้าหรือเหนือน้า รูปร่างของใบส่วน ใหญ่กลมมีหลายแบบ ฐานใบแยกกางออกตรงจุดต่อของใบ และก้านใบ (Cordate) บางชนิดมีก้านใบติดอยู่ที่ หลังใบ ดอก เป็นดอกเดี่ยวสมบูรณ์เพศ ก้านดอกยาวมีหนามเหมือนก้านใบ ชูดอกเหนือน้า และชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ สีขาวอมเขียวหรือสีเทาชมพู ร่วงง่าย กลีบดอก (Petal) มีทั้งชนิดกลีบซ้อน และไม่ซ้อน ดอกตูมเป็นรูปกรวยแหลม ดอกมีสีสันแตกต่างกัน แล้วแต่ชนิด ฝัก/ผล ตรงใจกลางดอกมีรูปร่างคล้ายกรวย สีเหลืองนวล หรือที่เรียกกันว่า ฝักบัว พอแก่จะมีสีเขียว รอบ รูปกรวยที่มีไข่ฝังอยู่ มีเกสรตัวผู้ลักษณะเป็นเส้นสีเหลือง ล้อมรอบอยู่มากมาย เปลือกเมล็กสีเขียว ภายในมี เนื้อสีขาวนวล รสหวานมัน ตรงกลางที่ฝาเมล็ดบัวประกบกัน จะมีดีบัวสีเขียวเข้ม มีขนาดเล็กอยู่ตรงกลาง (ดี บัว คือ ต้นอ่อนเป็นส่วนที่จะงอกไปเป็นต้นใหม่ อยู่ในเมล็ด) ประโยชน์ ดอกบัว ถือเป็นดอกไม้ที่สวยงาม ประชาชนหาซื้อไปบูชาพระมากกว่าดอกไม้ชนิดอื่น เพราะสามารถคง ความงามไว้ได้นานกว่าดอกไม้หลายชนิด เม็ดบัว สามารถนามากินได้ทั้งสดและแห้ง เม็ดบัวมีปริมาณสารอาหารที่สาคัญ คือ โปรตีน ประมาณ 23 % ซึ่งสูงกว่าข้าวถึง 3 เท่า และเป็นแหล่งรวมธาตุ อาหารหลายชนิดด้วยกัน เม็ดบัวนามาประกอบอาหารได้ทั้ง คาวหวาน เช่น สังขยา เม็ดบัว ขนมหม้อแกงเม็ดบัว เม็ดบัวเชื่อม สาคูเม็ดบัว เป็นต้น รากบัว นิยมนามาเชื่อมแห้งกินเป็นของหวาน หรือนาไปต้มกับน้าตาลกรวด แก้ร้อนใน ชาวอินเดีย จะให้ เด็กดื่มน้ารากบัว เพื่อระงับอาการท้องร่วง ไหลบัว หรือต้นกล้าบัว สามารถนามาประกอบอาหารได้ทั้งสด ทั้งแห้ง โดยมากจะนามาแกงส้ม แกงเลียง ผัดเผ็ดต่าง ๆ สายบัว สามารถปรุงอาหารแทนผักได้หลายชนิด ทั้งแกงส้มสายบัว แกงสายบัวกับปลาทู ฯลฯ ชาวอินเดีย กินเพื่อแก้อาการท้องร่วง ใบบัว นิยมนามาห่อข้าว ห่อของ เช่น ข้าวห่อใบบัว ส่วนใบอ่อนสามารถนามากินเป็นผักสดแกล้มน้าพริก หรือนามาหั่นฝอย ๆ ชงดื่มแทนน้าชา ช่วยแก้ร้อนในกระหายน้าได้เป็นอย่างดี การปลูก ปลูกในดินเหนียวในน้า
  • 17. การดูแลรักษา ต้องเป็นน้าที่สะอาด ชอบแสงแดดจัดถ้าปลูกบัวในที่ร่มเกินไปบัวจะออกดอกน้อยหรือไม่ออกดอกเลย การขยายพันธุ์: - แยกเหง้า บัวในเขตอบอุ่นและเขตหนาวที่มีลาต้นเป็นแบบเหง้าสามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีแยกหน่อ หรือต้นอ่อนจากเหง้าต้นแม่ไปปลูก โดยตัดแยกเหง้าที่มีหน่อหรือต้นอ่อนยาว 5-8 ซม. ตัดรากออกให้ หมด ถ้าเป็นต้นอ่อนสามารถนาไปปลูกยังที่ต้องการได้เลย ถ้าเป็นหน่อให้นาไปปลูกในกระถางขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-25 ซม. ฝังดินให้ลึกประมาณ 3-5 ซม. กดดินให้แน่น เทน้าให้ท่วมประมาณ 8-10 ซม. ดินที่ใช้ควรเป็นดินเหนียวเพื่อช่วยจับเหง้าไม้ให้ลอยขึ้นเหนือผิวน้า เมื่อหน่อเจริญเติบโตเป็นต้น ใหม่จึงย้ายไปปลูกยังที่ต้องการ - แยกไหล บัวในเขตร้อนโดยเฉพาะบัวหลวงจะสร้างไหลจากหัวหรือเหง้าของต้นแม่แล้วไปงอกเป็นต้น ใหม่ สามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยวิธีตัดเอาไหลที่มีหน่อหรือปลิดต้นใหม่จากไหลไปปลูก การตัดไหลที่มี หน่อไปปลูกควรตัดให้มีขนาดความยาวประมาณ 2-3 ข้อ และมีตาประมาณ 3 ตา นาไหลที่ตัดฝังดินให้ลึก 3-5 ซม. กดดินให้แน่น ต้นอ่อนจะขึ้นจากตาและเจริญเป็นต้นใหม่ต่อไป
  • 18. 6. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ 1. กล้องถ่ายรูป 2. คอมพิวเตอร์ 3. สมุดจดบันทึก 4. อุปกรณ์เครื่องเขียน 5. เว็ปไซต์ www.biogang.net - ขั้นตอนการศึกษา 1.ประชุมเลือกชุมชนที่เราต้องการจะไปสารวจซึ่งก็คือชุมชนเขมาเนรมิตรและตกลงกันว่าจะไปสารวจ ทรัพยากรชีวภาพชนิดใดบ้าง ซึ่งกลุ่มเราจะสารวจ ชบา , คุณนายตื่นสาย , ต้นโป๊ยเซียน , ดอกชวนชม , บานบุรี , กระเพรา , ทับทิม , บัว , ดอกเข็มแดง และ ต้นมะลิ 2.แบ่งหน้าที่ให้สมาชิกในกลุ่มในการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตอย่างชัดเจน 3.เริ่มทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตรโดยสมาชิกในกลุ่มได้ทาตามแผนที่กาหนด เอาไว้ 4.นาข้อมูลที่สมาชิกแต่ละคนสารวจมาได้โพสลงที่ www.biogang.net 5.ให้สมาชิกภายในกลุ่มแต่ละคนแคปรูปหน้าจอที่โพสข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพใน www.biogang.net และ รวบรวมส่งให้หัวหน้ากลุ่มเพื่อที่จะจัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map 6.จัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map จากข้อมูลที่ทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพของชุมชนเขมา เนรมิตรและนาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงานเพื่อตรวจและแก้ไข 7.จัดทา E-book โดยใช้ข้อมูลจากเค้าโครงโครงงาน และ Bio map ที่ให้ครูที่ปรึกษาโครงงานตรวจและ แก้ไขได้อย่างถูกต้องแล้ว 8.นาเสนอผลงาน
  • 19. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการทาโครงงาน ระยะเวลาการดาเนินงาน หมายเหตุ 1.ประชุมเลือกชุมที่ต้างการจะไป สารวจและตกลงกันว่าจะไปสารวจ ทรัพยากรชนิดใดบ้าง 1 ก.ค. 57 -3 ก.ค. 57 - เลือกสารวจชุมชนเขมาเนรมิตร - ทรัพยากรชีวภาพที่สารวจในชุมชน เขมาเนรมิตร คือ ชบา , คุณนายตื่นสาย , ต้นโป๊ยเซียน , ดอกชวนชม , บานบุรี , กระเพรา , ทับทิม , บัว , ดอกเข็มแดง และ ต้นมะลิ 2.แบ่งหน้าที่สมาชิกในกลุ่มในการ สารวจทรัพยากรชีวภาพอย่างชัดเจน 5 ก.ค. 57 - 6 ก.ค. 57 - 3.เริ่มทาการสารวจทรัพยากรชีวภาพใน ชุมชนเขมาเนรมิตร 11 ก.ค. 57 - 13 ก.ค. 57 สมาชิกทาตามแผนที่กาหนดเอาไว้ 4.นาข้อมูลที่สมาชิกแต่ละคนสารวจมา ได้โพสลงที่ www.biogang.net 14 ก.ค. 57 - 19 ก.ค. 57 - 5.ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแคปรูปหน้าจอ ที่โพสข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพ ใน www.biogang.net และ รวบรวม ส่งให้หัวหน้ากลุ่ม 20 ก.ค. 57 - 21 ก.ค. 57 -เพื่อนาข้อมูลจัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map 6.จัดทาเค้าโครงโครงงาน และ Bio map จากข้อมูลที่ทาการสารวจ ทรัพยากรชีวภาพของชุมชนเขมา เนรมิตรและนาเสนอครูที่ปรึกษา โครงงานเพื่อตรวจและแก้ไข 22 ก.ค. 57 - 25 ก.ค. 57 - 7.จัดทา E-book โดยใช้ข้อมูลจากเค้า โครงโครงงาน และ Bio map 28 ก.ค. 57 - 10 ส.ค. 57 -ใช้ข้อมูลจากเค้าโครงโครงงานที่ถูกต้อง โดยผ่านการตรวจและแก้ไขจากอาจารย์ที่ ปรึกษาโครงงานแล้ว 8. นาเสนอผลงาน 18 ส.ค. 57 -
  • 20. 7. เอกสารอ้างอิงหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆที่เกี่ยวข้อง http://kruwichailikitponrak.wordpress.com/ http://www.biogang.net/ ข้อมูลเว็ปไซต์ทรัพยากรชีวภาพที่สารวจในชุมชนเขมาเนรมิตร 10ชนิด 1.http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_07_3.htm (ทับทิม) 2.http://frynn.com/%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87 (บานบุรี) 3.http://frynn.com/%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B (กระเพรา) 4.http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=668&name=%20Shoe%20flower%2C%20China%20rose%20-%20Shoe%20Flower%20%5B1%5D (ชบา) 5.http://www.natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/510-111web/510-482web/510-482web-1-10- 46/Portulaca.htm (คุณนายตื่นสาย) 6.http://www.shc.ac.th/learning/botanical-garden/143.htm (ต้นโป้ยเซียน) 7.http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2% E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E (บัว)
  • 21. 8.www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_9.htm (ต้นมะลิ) 9.http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2% E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E ( ดอกเข็มแดง) 10.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%A (ดอกชวนชม)
  • 22. รายงานการรวบรวมข้อมูลทรัพยากรชีวภาพในชุมชน (Bio Map) บนฐานข้อมูลออนไลน์ www.biogang.net ชื่อโครงงานชีววิทยา การสารวจทรัพยากรชีวภาพในชุมชนเขมาเนรมิตร รายชื่อสมาชิกกลุ่มโครงงานชีววิทยา ชื่อกลุ่ม คือ XOXO 1.นาย ธิติศักดิ์ มารุต ม.6/1 เลขที่ 12 2.น.ส. เจนจิรา ศรีร่องหอย ม.6/1 เลขที่ 14 3.น.ส. สายขวัญ สายะวิบูลย์ ม.6/1 เลขที่ 16 4.น.ส. อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม.6/1 เลขที่ 19 ครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 23. 1. ชื่อ นาย ธิติศักดิ์ นามสกุล มารุต เลขที่ 12 ชั้น ม.6/1 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 1 คือ บัว
  • 26. 2. ชื่อ นางสาว เจนจิรา นามสกุล ศรีร่องหอย เลขที่ 14 ชั้น 6/1
  • 29. 3. ชื่อ นางสาว สายขวัญ นามสกุล สายะวิบูลย์ เลขที่ 16 ชั้น 6/1 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 6 คือ ชบา
  • 31. 4. ชื่อ นางสาว อัฐภรณ์ ชื่นคลัง ม. 6/1 เลขที่ 19 ทรัพยากรชีวภาพชนิดที่ 8 คือ บานบุรี
  • 33.