SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ความคลาย
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
       การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ ภาษาไทย และวิทยาศาสตร

1. มาตรฐานการเรียนรู
       มฐ. ค 3.2

2. ตัวชี้วัดที่เกี่ยวของ
         ค 3.2 ม.3/1

3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 รูปเรขาคณิตที่คลายกัน
   3.2 รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน
   3.3 การนําไปใช

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 – 3 และแบบฝกหัด 1 – 3
        2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบติงานไดแก
                    ั
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในกาปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                    178

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม

                                                      แนวทางการจัดการเรียนรู
      รองรอยการเรียนรู
                                                 บทบาทครู                บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
    1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                    - ฝ ก คิ ด ต าม แ ล ะ ร ว ม ทํ า
        สอบความเขาใจ 1 – 3                                                    กิจกรรมในชั้นเรียน
        และแบบฝกหัด 1 – 3 - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และ
                                      กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ               - ทําแบบฝกหัด
     2) การทําแบบทดสอบ             - อธิ บ ายสรุ ป ความคิ ด รวบยอด           - ทําแบบทดสอบหนวยยอย
                                     ในแตละเรื่อง                             เปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัตงานไดแก
                     ิ
    1) การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมใน - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป
                                                          - ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง
       ชั้ น เรี ย น แ ล ะ ก ารใช ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ
                                                             ความคิดประจําหนวย
       บ ริ ก ารของโรงเรี ย น หาประจําหนวย               - ใหนักเรียนไปคนควาโจทย
       อยางเหมาะสม                - แนะนํ า ให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร
                                                            ในห อ งสมุ ด โรงเรียนและ
                                      ห อ งสมุ ด ของโรงเรี ย นอย า ง
                                                            ห อ งสมุ ด กลุ ม สาระการ
                                      เหมาะสม               เรียนรูคณิตศาสตร
                                                          - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครู
    2) การมี ส ว นร ว มในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ
       ปฏิบัติกิจกรรมกลุม            ทํากิจกรรมกลุม       มอบหมายและชวยกั น ทํ า
                                                            กิจกรรมในชั้นเรียน
5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทํ าแบบทดสอบหลั งเรี ย น
    ทางการเรียน             ความคิดรวบยอดประจําหนวย จบ
                            อีกครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                  179

                           แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1–3)
                               เรื่อง รูปเรขาคณิตที่คลายกัน
                                        เวลา 3 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        1) รูปคลาย คือ รูปที่มีรูปรางแบบเดียวกัน แตมีขนาดตางกันหรือเทากันก็ได
        2) รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน
และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทากัน)
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
         ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และแบบฝกหัด 1
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                  180

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน)
         ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของการเทากันทุกประการ โดยการซักถาม จากนั้นครูยกตัวอยาง
ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปบทนิยามของความคลาย ซึ่งจะไดวา รูปคลาย คือ รูปที่มีรูปราง
แบบเดียวกัน แตมีขนาดตางกันหรือเทากันก็ได
       ครูใหนักเรียนพิจารณาภาพ แลวตอบวามีมุมใดบางที่เทากัน และมีดานใดที่เปนอัตราสวน
กันบาง โดยครูเปนผูแนะนํากอนในกรณีที่นักเรียนตอบไมได จากการพิจารณา ใหนักเรียนคาดเดา
วาภาพสองภาพนี้คลายกันหรือไม แลวรวมกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา บทนิยามของ รูปหลายเหลี่ยม
สองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย นั่นคือ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ตอเมื่อ
มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทากัน)
       ชั่วโมงที่ 2 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ)
       ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนาแลวซักถาม ครูนํา
เสนอตัวอยางใหนักเรียนศึกษาและพิจารณาการหาคําตอบชวยกันบนกระดาน
       ชั่วโมงที่ 3 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ)
       ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนาแลวซักถาม ครูนํา
เสนอตัวอยางใหนักเรียนศึกษาและพิจารณาการหาคําตอบชวยกันบนกระดาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                        181

   5.2 ขั้นสอน
                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                                 ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน)
 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของการเทากันทุกประการ โดยการซักถาม เชน                                ทักษะการคิดสรุปความ
     (1) รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเทากันเมื่อใด                                                       ทักษะการตีความหมาย
     (2) ใหนักเรียนบอกสมบัติของการเทากันทุกประการ                                                ทักษะการสังเกต
     จากนั้ น ครูนํ ากระดาษรูปสี่ เหลี่ยมที่มีขนาด 4×6 ตารางเซนติเมตร และ                          ทักษะการคิดวิเคราะห
 รู ป สี่ เหลี่ ย มที่ มี ข นาด 6×4 ตารางเซนติ เมตร ที่ เกิ ด จากการพิ ม พ ซ้ํ า ให
 นักเรียนสังเกตวารูปทั้งสองนี้เทากันทุกประการหรือไม ใหนักเรียนลองเอา
 ภาพมาวางทับกันดู ภาพจะซอนทับกันสนิทหรือไม
 ตอจากนั้น ครูสรุปวารูปสี่เหลี่ยมสองรูปนั้นเทากันทุกประการ
 ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นต อ ไปว า ถ า เอาภาพนั้ น มาย อ ให มี ข นาด 2×3 ตาราง
 เซนติเมตร รูปทั้งสองยังจะเทากันทุกประการอยูหรือไม ใหนักเรียนลองคาด
 เดา แลวใหนักเรียนลองวาดภาพแลวตัดออกมาดู




 ซึ่งจากการพิจารณาจะไดวา รูปทั้งสองจะไมเทากันหรือเมื่อนํามาวางแลวทับ
 กันไมสนิท
 ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นต อ ไปว า แล ว รู ป ร างยั งเหมื อ นเดิ ม หรื อ ไม (รู ป ร างยั ง
 เหมือนเดิม)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                    182

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 2. ครูยกตัวอยางที่เปนเชนเดียวกับรูปใหนักเรียนพิจารณาตอ เชน               ทักษะการคิดวิเคราะห
     - เมื่อใชกลองจุลทรรศนขยายภาพจุลินทรีย                                  ทักษะการคิดสรุปความ
     - วางภาพบนสไลดถกฉายไปบนฉาก
                          ู
 ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา ลักษณะของเหตุการณดังที่กลาวมาแลว รูปรางที่
 ปรากฏจะยังคงเหมือนเดิม ซึ่งทางคณิตศาสตรจะเรียกวารูปทั้งสองคลายกัน
 ครูสรุปใหนักเรียนฟงอีกครั้งวา รูปคลาย คือ รูปที่มีรูปรางแบบเดียวกัน แตมี
 ขนาดตางกันหรือเทากันก็ได
 3. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งของที่เปนรูปคลายที่พบเห็นในชีวิตประจําวันมา ทักษะการคิดวิเคราะห
 คนละ 5 อยาง พรอมทั้งใหเหตุผล โดยแลวครูสุมถามทีละคน
 เชน


   ผิดพลาด! ไมใชการเชื่อมโยงที่ถูกตอง   ผิดพลาด! ไมใชการเชื่อมโยงที่ถูกตอง
 ชุดของกลองของขวัญที่เหมือนกันแตมีขนาดตางกัน
 4. จากนั้นครูใชเครื่องฉายภาพขามศีรษะฉายรูปหกเหลี่ยม ABCDEF ไปบน ทักษะการคิดวิเคราะห
 ฉาก โดยใหภาพบนฉากเปนรูปหกเหลี่ยม GHIJKL ซึ่งมีความยาวเปนสอง
                                                                   ทักษะการคิดสรุปความ
 เทาของความยาวแตละดานของรูปหกเหลี่ยม ABCDEF (ถาไมมีเครื่องฉาย
 ขามศีรษะ ครูอาจวาดรูป บนกระดานหรือวาดใสแผ น กระดาษแลวปะบน
 กระดาน)




 ครูใหนกเรียนพิจารณาจากภาพ แลวตอบวามีมุมใดบางที่เทากัน และมีดานใด
          ั
 ที่เปนอัตราสวนกันบาง โดยครูเปนผูแนะนํากอนในกรณีที่นักเรียนตอบไมได
 ซึ่งจะไดวา A = G, B = H , C = Iˆ, D = Jˆ , E = K , F = L
              ˆ ˆ ˆ      ˆ ˆ         ˆ        ˆ   ˆ ˆ ˆ

 และ GH = BC = CD = DE = EF = LG
        AB
              HI    IJ    JK      KL
                                         FA
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                            183

                          กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 จากการพิจารณา ใหนักเรียนคาดเดาวาภาพสองภาพนี้คลายกันหรือไม แลว
 รวมกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา
 รูป หกเหลี่ ย ม ABCDEF และรู ป สามเหลี่ ย ม GHIJKL เป น รู ป หกเหลี่ ย มที่
 คลายกัน
 ครูแนะนําและอธิบายใหนักเรียนฟงวา มุมแตละคูตอไปนี้เปนมุมที่สมนัยกัน
 A และ G , B และ H , C และ I , D และ J , E และ K , F และ L
  ˆ       ˆ    ˆ      ˆ ˆ        ˆ  ˆ      ˆ   ˆ    ˆ    ˆ     ˆ

 และเรียกดานแตละคูตอไปนี้วาดานที่สมนัยกัน
 AB และ GH , BC และ HI , CD และ IJ , DE และ JK , EF และ KL , FA และ LG

 จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปบทนิยามของความคลาย ซึ่งจะ
 ได
 บทนิยาม รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ตอเมื่อ มุมที่
 สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทา
 กัน)
 ชั่วโมงที่ 2 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ)
 5. ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนา ทักษะการคิดวิเคราะห
 แลวซักถาม
 ครูนํ าเสนอรูป บนกระดาน แลวให นั กเรียนรวมกัน พิจารณาวา รูปทั้งสอง
 คลายกันหรือไม เชน
 1)



 2)



 3)



 4)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                          184

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 5)

 6. ให นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความเข าใจ 1 ในชั่ ว โมง โดยครู สุ ม ทักษะการคิดวิเคราะห
 นักเรียนออกมาวาดรูปที่มีลักษณะคลายกับรูปที่กําหนดใหบนกระดาน โดยมี
 ครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นรวมกันตรวจสอบความถูกตอง
 7. ครูนําเสนอรูปบนกระดาน แลวใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวา รูปทั้งสอง ทักษะการคิดวิเคราะห
 คลายกันหรือไม เชน




 จะได ว า รู ป สี่ เหลี่ ย ม ABCD คล ายกั บ รู ป สี่ เหลี่ ย ม EFGH เขี ย นแทนด ว ย
 สัญลักษณ ABCD , EFGH
 จะไดวา A = E, B = F , C = G, D = H
         ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ
 และ EF = FG = GH = EH
      AB BC CD                 AD


 ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD และรูปสี่เหลี่ยมมุม
 ฉาก EFGH บนกระดานวาคลายกันหรือไม หลังจากที่ครูตรวจสอบความถูก
 ตองแลวใหนักเรียนจดลงสมุด




   ABCD, EFGH มี           ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ
                           A = E , B = F , C = G, D = H
                                                      ˆ

 แต EF = 6 , FG = 4
     AB 4 BC
                   2
 นั่นคือ   AB BC
             ≠
           EF FG

 ดังนั้น ABCD และ EFGH ไมเปนรูปสี่เหลี่ยมคลาย
 ชั่วโมงที่ 3 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ)
 8. ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนา ทักษะการคิดวิเคราะห
 แลวซักถาม ครูนําเสนอตัวอยางใหนักเรียนศึกษาและพิจารณาการหาคําตอบ ทักษะการคิดคํานวณ
 ชวยกันบนกระดาน โดยครูเปนผูถามนํา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                         185

                       กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ตัวอยางที่ 1 จากรูป ABCD ~ EFGH จงหา w, x, y, z




 วิธีทา เนื่องจาก ABCD ~ EFGH
       ํ
 มี A และ E , B และ F , C และ G , D และ H เปนมุมที่สมนัยกัน
     ˆ       ˆ  ˆ      ˆ   ˆ         ˆ    ˆ      ˆ

 ดังนั้น F = B เนื่องจาก B = 86° เพื่อให F = x จะได x = 86°
          ˆ ˆ            ˆ                  ˆ

 และ C = G เนื่องจาก G = 120° เมื่อให C = z จะได z = 120°
         ˆ ˆ           ˆ                  ˆ

 และ EF = FG = GH หรือ EF = FG = GH
         AB BC CD
                             AB BC CD
 เนื่องจาก   AB BC
               =
             EF FG
 ให AB = w หนวย, EF = 31.5 หนวย, FG = 14 หนวย, BC = 12 หนวย
 จะได 31.5 = 12
        w
              14
             w= 31.5 × 12
                   14
                            = 27 หนวย
 เนื่องจาก   GH
             CD
                =
                  AG
                  BC
 ให GH = y หนวย, CD = 18 หนวย, FG = 14 หนวย, BC = 12 หนวย
 จะได 18 = 14
        y
            12
         y = 181214 = 21 หนวย
                ×


 ตอบ w = 27 หนวย x = 86° y = 21 หนวย z = 120°
 ตัวอยางที่ 2 จากรูปกําหนดให ABCDE คลายกับรูป VWXYZ จงหาขนาด
 ของ B, C , E, Vˆ , X , Yˆ
      ˆ ˆ ˆ         ˆ
                           D
                          50°                             Y
         E                               C
                                                 Z 110°              X

                                                              150°
                   150°
                  A               B                  V           W
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   186

                        กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
 วิธทํา เนื่องจาก รูป ABCDE ~ รูป VWXYZ
    ี
 ดังนั้น A = Vˆ = 150o
         ˆ

          B = W = 150o
          ˆ    ˆ

          D = Y = 50o
          ˆ ˆ

          E = Z = 110o
          ˆ ˆ

 เนื่องจากรูปหาเหลี่ยมถาแบงรูปตามเสนทแยงมุมแลวจะไดรูปสามเหลี่ยมทั้ง
 หมด 3 รูป จึงมีมุมภายในเทากับ 180×3 = 540°
 ดังนั้น C = X = 540o − 150o − 150o − 50o − 110o = 80o
          ˆ    ˆ

 ตอบ B = 150o , C = 80o , E = 110o , Vˆ = 150o , X = 80o , Yˆ = 50o
        ˆ          ˆ      ˆ                      ˆ

 9. ครูให นั ก เรียนทํ าแบบฝก หั ด 1 เพื่ อเป น การตรวจสอบความเข าใจของ ทักษะการคิดวิเคราะห
 นักเรียน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง                                         ทักษะการคิดคํานวณ
     5.3 ขั้นสรุป
          ชั่วโมงที่ 1 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน)
          นักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปบทนิยามของความคลาย ซึ่งจะไดวา รูปคลาย คือ รูปที่มี
รูปรางแบบเดียวกัน แตมีขนาดตางกัน หรือเทากันก็ได แลวรวมกัน สรุปบทนิยามของ รูปหลาย
เหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย นั่นคือ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็
ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทากัน)
         ชั่วโมงที่ 2-3 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ)
          นักเรียนสามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                  187

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
          ขั้นรวบรวมขอมูล
          ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของรูปเรขาคณิตที่คลายกัน พรอมทั้งแสดงวิธีการใช
สมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมมาแกปญหาโจทยอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
          ขั้นวิเคราะห
          ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
          ขั้นสรุป
          ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
          ขั้นประยุกตใช
          ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
   7.2 กิจกรรมบูรณาการ
      ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย
กันเขียนกลอนเกี่ยวกับการใหความหมายของรูปคลาย

                   ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องความหมายของรูปคลาย”

ผลการเรียนรู             ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการใหความหมายของรูป
                          คลาย
ผลงานที่ตองการ           กลอนเกี่ยวกับเรื่องความหมายของรูปคลาย
ขั้นตอนการทํางาน          1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนตาง ๆ
                          2. ศึกษาเรื่องความหมายของรูปคลาย
                          3. ใหนกเรียนแลกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามขอคิดเห็น
                                  ั
                          4. คัดเลือกกลอนที่นักเรียนแตงไดครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติด
                             ปายนิเทศและอานใหเพื่อนหองอื่นๆ ฟง
เกณฑการประเมิน           1. ความถูกตองในเรื่องความหมายของรูปคลาย
                          2. ความไพเราะและเหมาะสม
                          3. การใชคํา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      188

8. บันทึกหลังการสอน

                                     บันทึกหลังการสอน
                        (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

               ประเด็นการบันทึก                           จุดเดน        จุดที่ควรปรับปรุง
 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
 2. การใชสื่อการเรียนรู
 3. การประเมินผลการเรียนรู
 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน
 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..
 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………


                                                           ลงชื่อ………………………………………..
                                                           ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                                                           189

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
       กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ..................
 ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                      ระดับการประเมิน
                          หัวขอการประเมิน
                                                                                    ดีมาก             ดี          พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

  แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
 ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                  ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                             ดีมาก           ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   190

                           แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 4–8)
                              เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน
                                       เวลา 5 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปสามเหลี่ยมได
        2) สามารถบอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันได
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปสามเหลี่ยมได
        2) สามารถบอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
          1) รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากันและดานที่สมนัย
กันเปนสัดสวนกัน
          2) รูปสามเหลี่ยมคลายกันแบบ ดาน-ดาน-ดาน เมื่อความยาวของดานทั้งสามของรูปหนึ่ง
เปนสัดสวนกับความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง ดานตอดาน และรูปสามเหลี่ยมนั้น
คลายกัน
          3) ขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูป หนึ่งเทากับขนาดของมุมสองมุมของรูป
สามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง แลวรูปสามเหลี่ยมทั้งสองคลายกันแบบ มุม-มุม-มุม
          4) ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวนของรูปสามเหลี่ยม
รูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่
สอง
          5) ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวนของความยาวของ
เสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตรา
สวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
          การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคิดคํานวณ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                            191

   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ
ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 – 3 และแบบฝกหัด 2
        2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        1) นักเรียนสามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปสามเหลี่ยมได
        2) นักเรียนสามารถบอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                     192

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1 (รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน)
         ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของรูปหลายเหลี่ยมที่คลายกันที่เรียนมาแลว โดยการสนทนาและ
ซั ก ถาม จากนั้ น ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นว า รูป สามเหลี่ ย มสองรูป จะคล ายกั น เมื่ อ ใด ครูให นั ก เรี ย น
อภิปรายและชวยกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมี
ขนาดเทากันและดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน ครูใหนักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปนี้บน
กระดาน โดยครูเปนผูอธิบาย
         ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน)
         ครู ส นทนาและซั ก ถามนั ก เรีย นเกี่ ย วกั บ รู ป สามเหลี่ ย มสองรู ป ที่ ค ล ายกั น เพื่ อ เป น การ
ทบทวน จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา รูปสามเหลี่ยมสองรูป ถาความยาวของดานสามดานของรูป
สามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับความยาวของดานสามดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอ
ดาน) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้น จะคลายกันหรือไม ครูใหนักเรียนคาดเดาคําตอบ จากนั้น ครูให
นักเรียนทํากิจกรรมเพื่อเปนการตรวจสอบคําตอบที่นักเรียนคาดเดาวาถูกตองหรือไม
         ชั่วโมงที่ 3 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
         ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและซักถาม ครูกลาว
วาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถาขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากับมุม
สองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (มุมตอมุม) แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกันหรือไม ครู
ใหนกเรียนรวมกันอภิปราย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันพิสูจนโดยการทํากิจกรรม
       ั
          ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
         ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและซักถาม ครูกลาว
วาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตรา
ส ว นของรู ป สามเหลี่ ย มรู ป ที่ ห นึ่ ง และรู ป ที่ ส องเท า กั บ อั ต ราส ว นของความยาวของฐานของ
รูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปราย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน
พิสจนโดยการทํากิจกรรม
     ู
         ชั่วโมงที่ 5 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
         ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและซักถาม ครูกลาว
วาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตรา
สวนของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและ
รูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง ครูให
นักเรียนรวมกันอภิปราย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันพิสูจนโดยการทํากิจกรรม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                             193

   5.2 ขั้นสอน
                            กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน)
 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของรูปหลายเหลี่ยมที่คลายกันที่เรียนมาแลว โดย ทักษะการคิดวิเคราะห
 การสนทนาและซักถาม                                                        ทักษะการคิดคํานวณ
 จากนั้นครูใหนักเรียนพิจารณาตัวอยาง และเสนอแนะวิธการหาคําตอบ
                                                    ี                     ทักษะการคิดสรุปความ
 ตัวอยาง จงตรวจสอบวา ∆ABC และ ∆DEF เปนรูปสามเหลี่ยมคลายหรือไม




 วิธีทา
      ํ    AB 30 2
             =   =
           DE 45 3
           แต
             BC 5
                =
             EF 8
                      2 5
                       ≠
                      3 8
                         และ
           ดังนั้น
                AB BC
                   ≠
                DE EF

 เพราะฉะนั้น ∆ABC และ ∆DEF ไมเปนรูปสามเหลี่ยมคลาย
 จากนั้นครูใหนักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปตอไปนี้บนกระดาน โดย
 ครูเปนผูอธิบาย
 ตัวอยาง จงตรวจสอบวา ∆ABC และ ∆DEF เปนรูปสามเหลี่ยมคลายหรือไม




 วิธทํา จากรูป โจทยกําหนดให A = D, B = E
    ี                         ˆ ˆ ˆ ˆ

 และเนื่องจาก มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมถาเทากัน 2 คูแลว คูที่เหลือจะเทากัน
 ดวย นั่นคือ C = F
               ˆ ˆ

       และ DE = 435 = 3
              AB    .
                       2
                  BC    8    8×3 3
                      =    =     =
                  EF 16       16   2
                        3
                  AC 6 3
                      = =
                  DF 4 2
 ดังนั้น         AB BC AC
                    =
                 DE EF DF
                          =

 นั่นคือ ∆ABC ~ ∆DEF
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                         194

                         กิจกรรมการเรียนการสอน                                                          ฝกการคิดแบบ
 ครูใหนักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปตอไปนี้บนกระดาน โดยครูเปนผู
 อธิบาย
 ตัวอยาง จงตรวจสอบวา ∆ABC และ ∆DEF เปนรูปสามเหลี่ยมคลายหรือไม
                     A
                       45°           D
                                      45°

                                                                     C
 วิธีทํา จากรูป โจทยกําหนดให A = D, B = E, C = C
                                            ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ

 นั่นคือ ∆ABC ~ ∆DEF
 จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกันเมื่อใด
 ครูใหนักเรียนอภิปรายและชวยกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูป
 คล า ยกั น ก็ ต อ เมื่ อ มุ ม ที่ ส มนั ย กั น มี ข นาดเท ากั น และด านที่ ส มนั ย กั น เป น
 สัดสวนกัน
 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
 โดยครูกําหนดวันและเวลาสงงาน                                                                        ทักษะการคิดคํานวณ
 ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน)
 3. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คลายกันเพื่อ                            ทักษะการคิดวิเคราะห
 เปนการทบทวน                                                                                        ทักษะการคิดสรุปความ
 จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา รูปสามเหลี่ยมสองรูป ถาความยาวของดานสาม                                ทักษะการคิดคํานวณ
 ดานของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับความยาวของดานสามดานของ
 รูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอดาน) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคลายกัน
 หรือไม ครูใหนักเรียนคาดเดาคําตอบ จากนั้นครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเพื่อเปน
 การตรวจสอบคําตอบที่นักเรียนคาดเดาวาถูกตองหรือไม
 กิจกรรมที่ 1
 ขั้นที่ 1 ใหนักเรียนชวยกันสรางรูปสามเหลี่ยมหนึ่งรูป (กลุมละ 1 รูป)
 ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยมรูปที่สอง ซึ่งความยาวทั้งสามดานเปนพหุคูณ (สอง
 เทา สามเทา สี่เทา หรืออื่นๆ) ของรูปที่ 1
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   195

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ




 ขั้นที่ 3 ใชไม โพรแทรกเตอรเปรียบเที ยบมุ มที่สมนัยกัน ของรูปสามเหลี่ยม
 สองรูป
 จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน
 นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร
 ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นให รู จั ก สมบั ติ ข อ 1 ของรู ป สามเหลี่ ย ม และซั ก ถามกั บ
 นักเรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม
 สมบัติ 1 ถาความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับ
 ความยาวของดานสามดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอดาน) แลวรูป
 สามเหลี่ยมสองรูปนั้นคลายกัน เรียกขอคาดเดารูปสามเหลี่ยมคลายแบบ ดาน-
 ดาน-ดาน
 4. ใหนักเรียนสรางรูปสามเหลี่ยมคลายที่เปนเชนเดียวกับสมบัติ 1 มา 5 ขอ สง ทักษะการคิดวิเคราะห
 ในชั่วโมง ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสมบัติ 1 อีกครั้ง
 เชน
     1)




     2)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                            196


                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
     3)




 ชั่วโมงที่ 3 (สมบัตของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
                      ิ
 5. ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและ
 ซักถาม จากนั้นครูกลาววาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถาขนาดของมุม
 สองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากับมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูป
 หนึ่ง (มุมตอมุม) แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกันหรือไม ครูใหนักเรียน
 ร ว มกั น อภิ ป ราย จากนั้ น ครู บ อกนั ก เรี ย นว า เราจะมาพิ สู จ น กั น โดยการทํ า
 กิจกรรมตอไปนี้
 ตอจากนั้นใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน ใหนักเรียนชวยกันทํากิจกรรม
 ที่ 2 ดังนี้
 กิจกรรมที่ 2 ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
 ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC
 ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ให D = A และ E = B
                                            ˆ     ˆ        ˆ ˆ

 ครูซักถามนักเรียนวา จากการที่มุม D = A และ E = B แลวทําให F = C หรือไม
                                        ˆ     ˆ          ˆ ˆ                 ˆ  ˆ

 (เทากัน) เพราะผลบวกของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใดๆ เทากับ 180°
                         ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 2




 ขั้นที่ 3 วัดความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC และรูปสามเหลี่ยม DEF
 และหาอัตราสวนของดานที่สมนัยกัน นั่นคือ หา DE , DF , BC แลวใหนักเรียน
                                             AB AC
                                                       EF

 ชวยกันสรุปวา อัตราสวนทั้งสามเทากันหรือไม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                 197

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 แลวใหเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อนๆ ซึ่งถานักเรียนไดผลวา
 อัตราสวนของดานเทากัน จะสอดคลองกับบทนิยามของรูปสามเหลี่ยมคลาย
 ซึ่งจะไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน
 ครูใหนักเรียนตั้งขอคาดเดาจากการทํากิจกรรม ซึ่งครูแนะนํานักเรียนในการ
 คาดเดาเพื่อใหสอดคลองกับสมบัติตอไปนี้
 สมบัติ 2 ถาขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากันขนาดของมุม
 สองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่งแลว รูปสามเหลี่ยมทั้งสองคลายกัน (เรียง
 ขอคาดเดารูปสามเหลี่ยมคลายแบบ มุม-มุม-มุม)
 6. ใหนั กเรียนทําแบบฝกหั ด 2 ขอ 1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน      ทักษะการคิดวิเคราะห
 โดยครูเดินตรวจสอบความถูกตอง และใหคําแนะนํากับนักเรียนที่ทําไมไดเปน     ทักษะการคิดคํานวณ
 รายบุคคล ถานักเรียนทําไมเสร็จในชั่วโมง ใหนักเรียนนํากลับไปทําเปนการ
 บาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
 ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
 7. ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและ             ทักษะการคิดวิเคราะห
 ซักถาม ครูกลาววาในกิจกรรมตอไปนี้ จะศึกษาความสัมพันธระหวางสวนที่สม     ทักษะการคิดสรุปความ
 นัยกันที่นอกเหนือจากดานในรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน โดยเราจะศึกษาความ        ทักษะการคิดคํานวณ
 สัมพันธระหวางความสูงของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ซึ่งลากจากจุดยอดที่สม
 นัยกันไปตั้งฉากกับฐาน ความสัมพันธระหวางความยาวของเสนที่ลากแบงครึ่ง
 จุดยอดที่สมนัยกันไปยังฐาน และความสัมพันธระหวางเสนที่ลากจากจุดยอด
 ไปแบงครึ่งฐาน               D



                    E           Y                     F
 จากนั้นครูใหนกเรียนทํากิจกรรม
                 ั
 กิจกรรมที่ 3 ใหนกเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
                    ั
 ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC
 ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ใหความยาวของดานทั้งสาม เปนพหุคูณของ
 ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC
 ดังนั้น ∆ABC ~ ∆DEF
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                             198

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                         ฝกการคิดแบบ
                          ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 2
                                         A


                                 B       X                C
 ขั้นที่ 3 สรางคูของความสูงที่สมนัยกัน เชน ลาก AX ⊥ BC และ DY ⊥ EF
 ขั้นที่ 4 วัดความยาว AX , BC , DY , EF และหาวา DY = BC หรือไม
                                                  AX
                                                       EF
 จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน
 นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร
 ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นให รู จั ก สมบั ติ ข อ 3 ของรู ป สามเหลี่ ย ม และซั ก ถามกั บ
 นักเรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม
 สมบัติ 3 ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวน
 ของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของ
 ฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
 8. ใหนกเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้
         ั                                                                                ทักษะการคิดวิเคราะห
                                                          D
                   A


          B        X                 C        E           Y                    F
 กําหนดให ∆ABC ~ ∆DEF และ AX ⊥ BC และ DY ⊥ EF ที่ Y
 ตอไปครูซักถามนักเรียนวา DY = BC หรือไม แลวเราจะพิสูจนอยางไร
                           AX
                                EF
 จะพิสูจนตอไปวา     AX
                          =
                       DY EF
                            BC


 พิสูจน 1.     ∆ABC ~ ∆DEF มี

          AXC = DYF
           ˆ      ˆ    จากการสราง
          ˆ
         ACX = DFY
                ˆ      มุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคลาย
         AXC = YDF
          ˆ     ˆ      รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเทากันสองมุม มุมที่เหลือยอม
 เทากัน
 ดังนั้น ∆AXC ~ ∆DYF
 2. DY = DF จากขอ 1 และดานที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน
     AX    AC


 3. ∆ABC ~ ∆DEF โจทยกําหนด
 4. DF = BC จากขอ 3 และดานที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน
    AC
         EF
 5.   AX
         =
      DY EF
           BC
                    จากขอ 2, 3 และสมบัติการถายทอด
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                     199

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 5 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
 9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
 กิจกรรมที่ 4 ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
 ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC
 ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ใหความยาวของดานทั้งสาม เปนพหุคูณของ
 ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC
 ดังนั้น ∆ABC ~ ∆DEF
 ขั้น ที่ 3 สรางคูของเส นแบ งครึ่งมุ มของ A และ D โดยที่ AX แบ งครึ่ง BAC
                                               ˆ      ˆ                     ˆ

 และ DY แบงครึ่ง EDF   ˆ

                           ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 3
                                                           D
                   A




         B                         C
                                                E                            F

                    X
                                                               Y


 ขั้นที่ 4 วัดความยาว   AX , BC , DY , EF   และหาวา   AX
                                                          =
                                                       DY EF
                                                            BC
                                                                   หรือไม
 จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน
 นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร
 ครูแนะนํานักเรียนใหรูจักสมบัติขอ 4 ของรูปสามเหลี่ยม และซักถามกับนัก
 เรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม
 สมบัติ 4 ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวน
 ของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยม
 รู ป ที่ ห นึ่ ง และรู ป ที่ ส องเท า กั บ อั ต ราส ว นของความยาวของฐานของรู ป
 สามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
 10. ใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้                        D                  ทักษะการคิดวิเคราะห
                   A




         B                         C
                                                E                            F

                    X
                                                               Y
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                            200

                         กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 กําหนดให ∆ABC ~ ∆DEF ลาก AX แบงครึ่ง BAC ตัด BC ที่ X และ DY แบง
                                            ˆ

 ครึ่ง EDF ตัด EF ที่ Y
        ˆ

 ตอไปครูซักถามนักเรียนวา DY = BC หรือไม แลวเราจะพิสูจนอยางไร
                            AX
                                EF
 จะพิสูจนตอไปวา    AX
                         =
                      DY EF
                           BC


 พิสูจน
 1. BAC = EDF มุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคลาย
        ˆ    ˆ

 2. AX แบงครึ่ง BAC ดังนั้น BAX = CAX
                  ˆ             ˆ     ˆ

    DY แบงครึ่ง EDF ดังนั้น EDY = FDY
                  ˆ           ˆ     ˆ

 3. BAX = EDY จากขอ 1 และ 2
        ˆ    ˆ

 4. ∆AXC และ ∆DYF มี
    ABX = DEY จาก ∆AXC ~ ∆DYF
       ˆ     ˆ

    BAX = EDY จากขอ 3
       ˆ    ˆ

    BAX = EYD รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเทากันสองมุม มุมที่เหลือยอมเทากัน
       ˆ    ˆ

 ดังนั้น ∆AXC ~ ∆DYF
 5. DY = DE จากขอ 4
     AX    AB


 6.   AB BC
         =
      DE EF
                  จาก ∆ABC ~ ∆DEF
 7.   AX
         =
      DY EF
           BC
                  จากขอ 5, 6 และสมบัติการถายทอด
 จากนั้นครูใหนักเรียนทํากิจกรรม
 กิจกรรมที่ 5 ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
 ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC
 ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ใหความยาวของดานทั้งสาม เปนพหุคูณของ
 ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC
 ดังนั้น ∆ABC ~ ∆DEF
 ขั้นที่ 3 ลากเสนจากจุดยอด A มาแบงครึ่งฐาน BC ที่ X และลากเส นจากจุด
 ยอด D มาแบงครึ่งฐาน EF ที่ Y
                        ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 3
                                                   D
                  A




          B           X          C     E                      F
                                                       Y
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                          201

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 ขั้นที่ 4 วัดความยาว AX , BC , DY , EF และหาวา DY = BC หรือไม
                                                 AX
                                                      EF
 จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน
 นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร
 ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นให รู จั ก สมบั ติ ข อ 4 ของรู ป สามเหลี่ ย ม และซั ก ถามกั บ
 นักเรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม
 สมบัติ 5 ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวน
 ของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยม
 รู ป ที่ ห นึ่ ง และรู ป ที่ ส องเท า กั บ อั ต ราส ว นของความยาวของฐานของรู ป
 สามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
 11. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 2 ขอ 3 เพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตรวจสอบความเขาใจ โดยครูกําหนดวันและเวลาสงงาน                                           ทักษะการคิดคํานวณ
  5.3 ขั้นสรุป
         ชั่วโมงที่ 1 (รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน)
         นักเรียนสามารถสรุปไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาด
เทากันและดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน
         ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน)
         นักเรียนสามารถสรุปไดวา มีรูปสามเหลี่ยมสองรูป ถาความยาวของดานสามดานของรูป
สามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับความยาวของดานสามดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอ
ดาน) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคลายกันหรือไม
         ชั่วโมงที่ 3 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
         นักเรียนสามารถสรุปไดวา ถาขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากับมุม
สองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (มุมตอมุม) แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกัน
         ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
         นักเรียนสามารถสรุปไดวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปน รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลว
อัตราสวนของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูป
สามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
         ชั่วโมงที่ 5 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ)
         นักเรียนสามารถสรุปไดวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลว
อัตราสวนของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่ง
และรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                               202

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
         - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
        - อินเทอรเน็ต

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของการแกโจทยปญหาโดยใชสมบัติ 1 – 5 พรอมทั้ง
แสดงวิธีการทําอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
        ขั้นวิเคราะห
        ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
        ขั้นสรุป
        ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
        ขั้นประยุกตใช
        ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      203

8. บันทึกหลังการสอน

                                     บันทึกหลังการสอน
                        (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

               ประเด็นการบันทึก                           จุดเดน        จุดที่ควรปรับปรุง
 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
 2. การใชสื่อการเรียนรู
 3. การประเมินผลการเรียนรู
 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน
 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..
 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………


                                                           ลงชื่อ………………………………………..
                                                           ตําแหนง…….……..………………………..
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Ex
ExEx
Ex
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Similar to Unit4 (11)

Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (15)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Unit4

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ความคลาย รายวิชาที่นํามาบูรณาการ การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ ภาษาไทย และวิทยาศาสตร 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 3.2 2. ตัวชี้วัดที่เกี่ยวของ ค 3.2 ม.3/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 รูปเรขาคณิตที่คลายกัน 3.2 รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน 3.3 การนําไปใช 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 – 3 และแบบฝกหัด 1 – 3 2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบติงานไดแก ั 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในกาปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 178 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝ ก คิ ด ต าม แ ล ะ ร ว ม ทํ า สอบความเขาใจ 1 – 3 กิจกรรมในชั้นเรียน และแบบฝกหัด 1 – 3 - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และ กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ - ทําแบบฝกหัด 2) การทําแบบทดสอบ - อธิ บ ายสรุ ป ความคิ ด รวบยอด - ทําแบบทดสอบหนวยยอย ในแตละเรื่อง เปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัตงานไดแก ิ 1) การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมใน - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง ชั้ น เรี ย น แ ล ะ ก ารใช ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ ความคิดประจําหนวย บ ริ ก ารของโรงเรี ย น หาประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทย อยางเหมาะสม - แนะนํ า ให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร ในห อ งสมุ ด โรงเรียนและ ห อ งสมุ ด ของโรงเรี ย นอย า ง ห อ งสมุ ด กลุ ม สาระการ เหมาะสม เรียนรูคณิตศาสตร - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครู 2) การมี ส ว นร ว มในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ ปฏิบัติกิจกรรมกลุม ทํากิจกรรมกลุม มอบหมายและชวยกั น ทํ า กิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทํ าแบบทดสอบหลั งเรี ย น ทางการเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวย จบ อีกครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 179 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1–3) เรื่อง รูปเรขาคณิตที่คลายกัน เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) รูปคลาย คือ รูปที่มีรูปรางแบบเดียวกัน แตมีขนาดตางกันหรือเทากันก็ได 2) รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทากัน) 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และแบบฝกหัด 1 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 180 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน) ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของการเทากันทุกประการ โดยการซักถาม จากนั้นครูยกตัวอยาง ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปบทนิยามของความคลาย ซึ่งจะไดวา รูปคลาย คือ รูปที่มีรูปราง แบบเดียวกัน แตมีขนาดตางกันหรือเทากันก็ได ครูใหนักเรียนพิจารณาภาพ แลวตอบวามีมุมใดบางที่เทากัน และมีดานใดที่เปนอัตราสวน กันบาง โดยครูเปนผูแนะนํากอนในกรณีที่นักเรียนตอบไมได จากการพิจารณา ใหนักเรียนคาดเดา วาภาพสองภาพนี้คลายกันหรือไม แลวรวมกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา บทนิยามของ รูปหลายเหลี่ยม สองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย นั่นคือ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทากัน) ชั่วโมงที่ 2 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ) ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนาแลวซักถาม ครูนํา เสนอตัวอยางใหนักเรียนศึกษาและพิจารณาการหาคําตอบชวยกันบนกระดาน ชั่วโมงที่ 3 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ) ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนาแลวซักถาม ครูนํา เสนอตัวอยางใหนักเรียนศึกษาและพิจารณาการหาคําตอบชวยกันบนกระดาน
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 181 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของการเทากันทุกประการ โดยการซักถาม เชน ทักษะการคิดสรุปความ (1) รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะเทากันเมื่อใด ทักษะการตีความหมาย (2) ใหนักเรียนบอกสมบัติของการเทากันทุกประการ ทักษะการสังเกต จากนั้ น ครูนํ ากระดาษรูปสี่ เหลี่ยมที่มีขนาด 4×6 ตารางเซนติเมตร และ ทักษะการคิดวิเคราะห รู ป สี่ เหลี่ ย มที่ มี ข นาด 6×4 ตารางเซนติ เมตร ที่ เกิ ด จากการพิ ม พ ซ้ํ า ให นักเรียนสังเกตวารูปทั้งสองนี้เทากันทุกประการหรือไม ใหนักเรียนลองเอา ภาพมาวางทับกันดู ภาพจะซอนทับกันสนิทหรือไม ตอจากนั้น ครูสรุปวารูปสี่เหลี่ยมสองรูปนั้นเทากันทุกประการ ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นต อ ไปว า ถ า เอาภาพนั้ น มาย อ ให มี ข นาด 2×3 ตาราง เซนติเมตร รูปทั้งสองยังจะเทากันทุกประการอยูหรือไม ใหนักเรียนลองคาด เดา แลวใหนักเรียนลองวาดภาพแลวตัดออกมาดู ซึ่งจากการพิจารณาจะไดวา รูปทั้งสองจะไมเทากันหรือเมื่อนํามาวางแลวทับ กันไมสนิท ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นต อ ไปว า แล ว รู ป ร างยั งเหมื อ นเดิ ม หรื อ ไม (รู ป ร างยั ง เหมือนเดิม)
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 182 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูยกตัวอยางที่เปนเชนเดียวกับรูปใหนักเรียนพิจารณาตอ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห - เมื่อใชกลองจุลทรรศนขยายภาพจุลินทรีย ทักษะการคิดสรุปความ - วางภาพบนสไลดถกฉายไปบนฉาก ู ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวา ลักษณะของเหตุการณดังที่กลาวมาแลว รูปรางที่ ปรากฏจะยังคงเหมือนเดิม ซึ่งทางคณิตศาสตรจะเรียกวารูปทั้งสองคลายกัน ครูสรุปใหนักเรียนฟงอีกครั้งวา รูปคลาย คือ รูปที่มีรูปรางแบบเดียวกัน แตมี ขนาดตางกันหรือเทากันก็ได 3. ใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งของที่เปนรูปคลายที่พบเห็นในชีวิตประจําวันมา ทักษะการคิดวิเคราะห คนละ 5 อยาง พรอมทั้งใหเหตุผล โดยแลวครูสุมถามทีละคน เชน ผิดพลาด! ไมใชการเชื่อมโยงที่ถูกตอง ผิดพลาด! ไมใชการเชื่อมโยงที่ถูกตอง ชุดของกลองของขวัญที่เหมือนกันแตมีขนาดตางกัน 4. จากนั้นครูใชเครื่องฉายภาพขามศีรษะฉายรูปหกเหลี่ยม ABCDEF ไปบน ทักษะการคิดวิเคราะห ฉาก โดยใหภาพบนฉากเปนรูปหกเหลี่ยม GHIJKL ซึ่งมีความยาวเปนสอง ทักษะการคิดสรุปความ เทาของความยาวแตละดานของรูปหกเหลี่ยม ABCDEF (ถาไมมีเครื่องฉาย ขามศีรษะ ครูอาจวาดรูป บนกระดานหรือวาดใสแผ น กระดาษแลวปะบน กระดาน) ครูใหนกเรียนพิจารณาจากภาพ แลวตอบวามีมุมใดบางที่เทากัน และมีดานใด ั ที่เปนอัตราสวนกันบาง โดยครูเปนผูแนะนํากอนในกรณีที่นักเรียนตอบไมได ซึ่งจะไดวา A = G, B = H , C = Iˆ, D = Jˆ , E = K , F = L ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ และ GH = BC = CD = DE = EF = LG AB HI IJ JK KL FA
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 183 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากการพิจารณา ใหนักเรียนคาดเดาวาภาพสองภาพนี้คลายกันหรือไม แลว รวมกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา รูป หกเหลี่ ย ม ABCDEF และรู ป สามเหลี่ ย ม GHIJKL เป น รู ป หกเหลี่ ย มที่ คลายกัน ครูแนะนําและอธิบายใหนักเรียนฟงวา มุมแตละคูตอไปนี้เปนมุมที่สมนัยกัน A และ G , B และ H , C และ I , D และ J , E และ K , F และ L ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ และเรียกดานแตละคูตอไปนี้วาดานที่สมนัยกัน AB และ GH , BC และ HI , CD และ IJ , DE และ JK , EF และ KL , FA และ LG จากนั้นใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปบทนิยามของความคลาย ซึ่งจะ ได บทนิยาม รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ตอเมื่อ มุมที่ สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทา กัน) ชั่วโมงที่ 2 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ) 5. ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนา ทักษะการคิดวิเคราะห แลวซักถาม ครูนํ าเสนอรูป บนกระดาน แลวให นั กเรียนรวมกัน พิจารณาวา รูปทั้งสอง คลายกันหรือไม เชน 1) 2) 3) 4)
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 184 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 5) 6. ให นั ก เรี ย นทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความเข าใจ 1 ในชั่ ว โมง โดยครู สุ ม ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียนออกมาวาดรูปที่มีลักษณะคลายกับรูปที่กําหนดใหบนกระดาน โดยมี ครูและเพื่อนนักเรียนคนอื่นรวมกันตรวจสอบความถูกตอง 7. ครูนําเสนอรูปบนกระดาน แลวใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวา รูปทั้งสอง ทักษะการคิดวิเคราะห คลายกันหรือไม เชน จะได ว า รู ป สี่ เหลี่ ย ม ABCD คล ายกั บ รู ป สี่ เหลี่ ย ม EFGH เขี ย นแทนด ว ย สัญลักษณ ABCD , EFGH จะไดวา A = E, B = F , C = G, D = H  ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ และ EF = FG = GH = EH AB BC CD AD ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD และรูปสี่เหลี่ยมมุม ฉาก EFGH บนกระดานวาคลายกันหรือไม หลังจากที่ครูตรวจสอบความถูก ตองแลวใหนักเรียนจดลงสมุด ABCD, EFGH มี ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ A = E , B = F , C = G, D = H ˆ แต EF = 6 , FG = 4 AB 4 BC 2 นั่นคือ AB BC ≠ EF FG ดังนั้น ABCD และ EFGH ไมเปนรูปสี่เหลี่ยมคลาย ชั่วโมงที่ 3 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ) 8. ครูทบทวนนิยามของความคลายกันของรูปหลายเหลี่ยม โดยการสนทนา ทักษะการคิดวิเคราะห แลวซักถาม ครูนําเสนอตัวอยางใหนักเรียนศึกษาและพิจารณาการหาคําตอบ ทักษะการคิดคํานวณ ชวยกันบนกระดาน โดยครูเปนผูถามนํา
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 185 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตัวอยางที่ 1 จากรูป ABCD ~ EFGH จงหา w, x, y, z วิธีทา เนื่องจาก ABCD ~ EFGH ํ มี A และ E , B และ F , C และ G , D และ H เปนมุมที่สมนัยกัน ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ดังนั้น F = B เนื่องจาก B = 86° เพื่อให F = x จะได x = 86° ˆ ˆ ˆ ˆ และ C = G เนื่องจาก G = 120° เมื่อให C = z จะได z = 120° ˆ ˆ ˆ ˆ และ EF = FG = GH หรือ EF = FG = GH AB BC CD AB BC CD เนื่องจาก AB BC = EF FG ให AB = w หนวย, EF = 31.5 หนวย, FG = 14 หนวย, BC = 12 หนวย จะได 31.5 = 12 w 14 w= 31.5 × 12 14 = 27 หนวย เนื่องจาก GH CD = AG BC ให GH = y หนวย, CD = 18 หนวย, FG = 14 หนวย, BC = 12 หนวย จะได 18 = 14 y 12 y = 181214 = 21 หนวย × ตอบ w = 27 หนวย x = 86° y = 21 หนวย z = 120° ตัวอยางที่ 2 จากรูปกําหนดให ABCDE คลายกับรูป VWXYZ จงหาขนาด ของ B, C , E, Vˆ , X , Yˆ ˆ ˆ ˆ ˆ D 50° Y E C Z 110° X 150° 150° A B V W
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 186 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ วิธทํา เนื่องจาก รูป ABCDE ~ รูป VWXYZ ี ดังนั้น A = Vˆ = 150o ˆ B = W = 150o ˆ ˆ D = Y = 50o ˆ ˆ E = Z = 110o ˆ ˆ เนื่องจากรูปหาเหลี่ยมถาแบงรูปตามเสนทแยงมุมแลวจะไดรูปสามเหลี่ยมทั้ง หมด 3 รูป จึงมีมุมภายในเทากับ 180×3 = 540° ดังนั้น C = X = 540o − 150o − 150o − 50o − 110o = 80o ˆ ˆ ตอบ B = 150o , C = 80o , E = 110o , Vˆ = 150o , X = 80o , Yˆ = 50o ˆ ˆ ˆ ˆ 9. ครูให นั ก เรียนทํ าแบบฝก หั ด 1 เพื่ อเป น การตรวจสอบความเข าใจของ ทักษะการคิดวิเคราะห นักเรียน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน) นักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปบทนิยามของความคลาย ซึ่งจะไดวา รูปคลาย คือ รูปที่มี รูปรางแบบเดียวกัน แตมีขนาดตางกัน หรือเทากันก็ได แลวรวมกัน สรุปบทนิยามของ รูปหลาย เหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย นั่นคือ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปเปนรูปหลายเหลี่ยมคลาย ก็ ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากัน และดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน (อัตราสวนที่เทากัน) ชั่วโมงที่ 2-3 (รูปเรขาคณิตที่คลายกัน ตอ) นักเรียนสามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมได 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 187 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของรูปเรขาคณิตที่คลายกัน พรอมทั้งแสดงวิธีการใช สมบัติของการคลายกันของรูปหลายเหลี่ยมมาแกปญหาโจทยอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย กันเขียนกลอนเกี่ยวกับการใหความหมายของรูปคลาย ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องความหมายของรูปคลาย” ผลการเรียนรู ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการใหความหมายของรูป คลาย ผลงานที่ตองการ กลอนเกี่ยวกับเรื่องความหมายของรูปคลาย ขั้นตอนการทํางาน 1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนตาง ๆ 2. ศึกษาเรื่องความหมายของรูปคลาย 3. ใหนกเรียนแลกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามขอคิดเห็น ั 4. คัดเลือกกลอนที่นักเรียนแตงไดครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติด ปายนิเทศและอานใหเพื่อนหองอื่นๆ ฟง เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองในเรื่องความหมายของรูปคลาย 2. ความไพเราะและเหมาะสม 3. การใชคํา
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 188 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 189 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................. ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 190 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 4–8) เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน เวลา 5 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปสามเหลี่ยมได 2) สามารถบอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันได 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปสามเหลี่ยมได 2) สามารถบอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาดเทากันและดานที่สมนัย กันเปนสัดสวนกัน 2) รูปสามเหลี่ยมคลายกันแบบ ดาน-ดาน-ดาน เมื่อความยาวของดานทั้งสามของรูปหนึ่ง เปนสัดสวนกับความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง ดานตอดาน และรูปสามเหลี่ยมนั้น คลายกัน 3) ขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูป หนึ่งเทากับขนาดของมุมสองมุมของรูป สามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง แลวรูปสามเหลี่ยมทั้งสองคลายกันแบบ มุม-มุม-มุม 4) ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวนของรูปสามเหลี่ยม รูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่ สอง 5) ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวนของความยาวของ เสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตรา สวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคิดคํานวณ
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 191 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 – 3 และแบบฝกหัด 2 2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ 1) นักเรียนสามารถบอกสมบัติของการคลายกันของรูปสามเหลี่ยมได 2) นักเรียนสามารถบอกเงื่อนไขที่ทําใหรูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 192 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน) ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของรูปหลายเหลี่ยมที่คลายกันที่เรียนมาแลว โดยการสนทนาและ ซั ก ถาม จากนั้ น ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นว า รูป สามเหลี่ ย มสองรูป จะคล ายกั น เมื่ อ ใด ครูให นั ก เรี ย น อภิปรายและชวยกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมี ขนาดเทากันและดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน ครูใหนักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปนี้บน กระดาน โดยครูเปนผูอธิบาย ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน) ครู ส นทนาและซั ก ถามนั ก เรีย นเกี่ ย วกั บ รู ป สามเหลี่ ย มสองรู ป ที่ ค ล ายกั น เพื่ อ เป น การ ทบทวน จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา รูปสามเหลี่ยมสองรูป ถาความยาวของดานสามดานของรูป สามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับความยาวของดานสามดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอ ดาน) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้น จะคลายกันหรือไม ครูใหนักเรียนคาดเดาคําตอบ จากนั้น ครูให นักเรียนทํากิจกรรมเพื่อเปนการตรวจสอบคําตอบที่นักเรียนคาดเดาวาถูกตองหรือไม ชั่วโมงที่ 3 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและซักถาม ครูกลาว วาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถาขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากับมุม สองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (มุมตอมุม) แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกันหรือไม ครู ใหนกเรียนรวมกันอภิปราย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันพิสูจนโดยการทํากิจกรรม ั ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและซักถาม ครูกลาว วาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตรา ส ว นของรู ป สามเหลี่ ย มรู ป ที่ ห นึ่ ง และรู ป ที่ ส องเท า กั บ อั ต ราส ว นของความยาวของฐานของ รูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปราย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกัน พิสจนโดยการทํากิจกรรม ู ชั่วโมงที่ 5 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและซักถาม ครูกลาว วาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตรา สวนของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและ รูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง ครูให นักเรียนรวมกันอภิปราย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันพิสูจนโดยการทํากิจกรรม
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 193 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของรูปหลายเหลี่ยมที่คลายกันที่เรียนมาแลว โดย ทักษะการคิดวิเคราะห การสนทนาและซักถาม ทักษะการคิดคํานวณ จากนั้นครูใหนักเรียนพิจารณาตัวอยาง และเสนอแนะวิธการหาคําตอบ ี ทักษะการคิดสรุปความ ตัวอยาง จงตรวจสอบวา ∆ABC และ ∆DEF เปนรูปสามเหลี่ยมคลายหรือไม วิธีทา ํ AB 30 2 = = DE 45 3 แต BC 5 = EF 8 2 5 ≠ 3 8 และ ดังนั้น AB BC ≠ DE EF เพราะฉะนั้น ∆ABC และ ∆DEF ไมเปนรูปสามเหลี่ยมคลาย จากนั้นครูใหนักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปตอไปนี้บนกระดาน โดย ครูเปนผูอธิบาย ตัวอยาง จงตรวจสอบวา ∆ABC และ ∆DEF เปนรูปสามเหลี่ยมคลายหรือไม วิธทํา จากรูป โจทยกําหนดให A = D, B = E ี ˆ ˆ ˆ ˆ และเนื่องจาก มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมถาเทากัน 2 คูแลว คูที่เหลือจะเทากัน ดวย นั่นคือ C = F ˆ ˆ และ DE = 435 = 3 AB . 2 BC 8 8×3 3 = = = EF 16 16 2 3 AC 6 3 = = DF 4 2 ดังนั้น AB BC AC = DE EF DF = นั่นคือ ∆ABC ~ ∆DEF
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 194 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูใหนักเรียนพิจารณารูปสามเหลี่ยมสองรูปตอไปนี้บนกระดาน โดยครูเปนผู อธิบาย ตัวอยาง จงตรวจสอบวา ∆ABC และ ∆DEF เปนรูปสามเหลี่ยมคลายหรือไม A 45° D 45° C วิธีทํา จากรูป โจทยกําหนดให A = D, B = E, C = C ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ นั่นคือ ∆ABC ~ ∆DEF จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกันเมื่อใด ครูใหนักเรียนอภิปรายและชวยกันสรุปผล ซึ่งจะไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูป คล า ยกั น ก็ ต อ เมื่ อ มุ ม ที่ ส มนั ย กั น มี ข นาดเท ากั น และด านที่ ส มนั ย กั น เป น สัดสวนกัน 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ ทักษะการคิดวิเคราะห โดยครูกําหนดวันและเวลาสงงาน ทักษะการคิดคํานวณ ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน) 3. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คลายกันเพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห เปนการทบทวน ทักษะการคิดสรุปความ จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา รูปสามเหลี่ยมสองรูป ถาความยาวของดานสาม ทักษะการคิดคํานวณ ดานของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับความยาวของดานสามดานของ รูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอดาน) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคลายกัน หรือไม ครูใหนักเรียนคาดเดาคําตอบ จากนั้นครูใหนักเรียนทํากิจกรรมเพื่อเปน การตรวจสอบคําตอบที่นักเรียนคาดเดาวาถูกตองหรือไม กิจกรรมที่ 1 ขั้นที่ 1 ใหนักเรียนชวยกันสรางรูปสามเหลี่ยมหนึ่งรูป (กลุมละ 1 รูป) ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยมรูปที่สอง ซึ่งความยาวทั้งสามดานเปนพหุคูณ (สอง เทา สามเทา สี่เทา หรืออื่นๆ) ของรูปที่ 1
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 195 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ขั้นที่ 3 ใชไม โพรแทรกเตอรเปรียบเที ยบมุ มที่สมนัยกัน ของรูปสามเหลี่ยม สองรูป จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นให รู จั ก สมบั ติ ข อ 1 ของรู ป สามเหลี่ ย ม และซั ก ถามกั บ นักเรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม สมบัติ 1 ถาความยาวของดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับ ความยาวของดานสามดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอดาน) แลวรูป สามเหลี่ยมสองรูปนั้นคลายกัน เรียกขอคาดเดารูปสามเหลี่ยมคลายแบบ ดาน- ดาน-ดาน 4. ใหนักเรียนสรางรูปสามเหลี่ยมคลายที่เปนเชนเดียวกับสมบัติ 1 มา 5 ขอ สง ทักษะการคิดวิเคราะห ในชั่วโมง ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสมบัติ 1 อีกครั้ง เชน 1) 2)
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 196 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3) ชั่วโมงที่ 3 (สมบัตของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) ิ 5. ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและ ซักถาม จากนั้นครูกลาววาในกิจกรรมตอไป เราจะศึกษาวา ถาขนาดของมุม สองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากับมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูป หนึ่ง (มุมตอมุม) แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกันหรือไม ครูใหนักเรียน ร ว มกั น อภิ ป ราย จากนั้ น ครู บ อกนั ก เรี ย นว า เราจะมาพิ สู จ น กั น โดยการทํ า กิจกรรมตอไปนี้ ตอจากนั้นใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน ใหนักเรียนชวยกันทํากิจกรรม ที่ 2 ดังนี้ กิจกรรมที่ 2 ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ให D = A และ E = B ˆ ˆ ˆ ˆ ครูซักถามนักเรียนวา จากการที่มุม D = A และ E = B แลวทําให F = C หรือไม ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ ˆ (เทากัน) เพราะผลบวกของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใดๆ เทากับ 180° ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 2 ขั้นที่ 3 วัดความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC และรูปสามเหลี่ยม DEF และหาอัตราสวนของดานที่สมนัยกัน นั่นคือ หา DE , DF , BC แลวใหนักเรียน AB AC EF ชวยกันสรุปวา อัตราสวนทั้งสามเทากันหรือไม
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 197 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ แลวใหเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อนๆ ซึ่งถานักเรียนไดผลวา อัตราสวนของดานเทากัน จะสอดคลองกับบทนิยามของรูปสามเหลี่ยมคลาย ซึ่งจะไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ครูใหนักเรียนตั้งขอคาดเดาจากการทํากิจกรรม ซึ่งครูแนะนํานักเรียนในการ คาดเดาเพื่อใหสอดคลองกับสมบัติตอไปนี้ สมบัติ 2 ถาขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากันขนาดของมุม สองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่งแลว รูปสามเหลี่ยมทั้งสองคลายกัน (เรียง ขอคาดเดารูปสามเหลี่ยมคลายแบบ มุม-มุม-มุม) 6. ใหนั กเรียนทําแบบฝกหั ด 2 ขอ 1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห โดยครูเดินตรวจสอบความถูกตอง และใหคําแนะนํากับนักเรียนที่ทําไมไดเปน ทักษะการคิดคํานวณ รายบุคคล ถานักเรียนทําไมเสร็จในชั่วโมง ใหนักเรียนนํากลับไปทําเปนการ บาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) 7. ครูใหนักเรียนทบทวนสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลายโดยการสนทนาและ ทักษะการคิดวิเคราะห ซักถาม ครูกลาววาในกิจกรรมตอไปนี้ จะศึกษาความสัมพันธระหวางสวนที่สม ทักษะการคิดสรุปความ นัยกันที่นอกเหนือจากดานในรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน โดยเราจะศึกษาความ ทักษะการคิดคํานวณ สัมพันธระหวางความสูงของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ซึ่งลากจากจุดยอดที่สม นัยกันไปตั้งฉากกับฐาน ความสัมพันธระหวางความยาวของเสนที่ลากแบงครึ่ง จุดยอดที่สมนัยกันไปยังฐาน และความสัมพันธระหวางเสนที่ลากจากจุดยอด ไปแบงครึ่งฐาน D E Y F จากนั้นครูใหนกเรียนทํากิจกรรม ั กิจกรรมที่ 3 ใหนกเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ั ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ใหความยาวของดานทั้งสาม เปนพหุคูณของ ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC ดังนั้น ∆ABC ~ ∆DEF
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 198 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 2 A B X C ขั้นที่ 3 สรางคูของความสูงที่สมนัยกัน เชน ลาก AX ⊥ BC และ DY ⊥ EF ขั้นที่ 4 วัดความยาว AX , BC , DY , EF และหาวา DY = BC หรือไม AX EF จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นให รู จั ก สมบั ติ ข อ 3 ของรู ป สามเหลี่ ย ม และซั ก ถามกั บ นักเรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม สมบัติ 3 ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวน ของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของ ฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง 8. ใหนกเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้ ั ทักษะการคิดวิเคราะห D A B X C E Y F กําหนดให ∆ABC ~ ∆DEF และ AX ⊥ BC และ DY ⊥ EF ที่ Y ตอไปครูซักถามนักเรียนวา DY = BC หรือไม แลวเราจะพิสูจนอยางไร AX EF จะพิสูจนตอไปวา AX = DY EF BC พิสูจน 1. ∆ABC ~ ∆DEF มี AXC = DYF ˆ ˆ จากการสราง ˆ ACX = DFY ˆ มุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคลาย AXC = YDF ˆ ˆ รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเทากันสองมุม มุมที่เหลือยอม เทากัน ดังนั้น ∆AXC ~ ∆DYF 2. DY = DF จากขอ 1 และดานที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน AX AC 3. ∆ABC ~ ∆DEF โจทยกําหนด 4. DF = BC จากขอ 3 และดานที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน AC EF 5. AX = DY EF BC จากขอ 2, 3 และสมบัติการถายทอด
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 199 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 5 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) 9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม ทักษะการคิดวิเคราะห กิจกรรมที่ 4 ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ใหความยาวของดานทั้งสาม เปนพหุคูณของ ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC ดังนั้น ∆ABC ~ ∆DEF ขั้น ที่ 3 สรางคูของเส นแบ งครึ่งมุ มของ A และ D โดยที่ AX แบ งครึ่ง BAC ˆ ˆ ˆ และ DY แบงครึ่ง EDF ˆ ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 3 D A B C E F X Y ขั้นที่ 4 วัดความยาว AX , BC , DY , EF และหาวา AX = DY EF BC หรือไม จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร ครูแนะนํานักเรียนใหรูจักสมบัติขอ 4 ของรูปสามเหลี่ยม และซักถามกับนัก เรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม สมบัติ 4 ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวน ของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยม รู ป ที่ ห นึ่ ง และรู ป ที่ ส องเท า กั บ อั ต ราส ว นของความยาวของฐานของรู ป สามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง 10. ใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้ D ทักษะการคิดวิเคราะห A B C E F X Y
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 200 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ กําหนดให ∆ABC ~ ∆DEF ลาก AX แบงครึ่ง BAC ตัด BC ที่ X และ DY แบง ˆ ครึ่ง EDF ตัด EF ที่ Y ˆ ตอไปครูซักถามนักเรียนวา DY = BC หรือไม แลวเราจะพิสูจนอยางไร AX EF จะพิสูจนตอไปวา AX = DY EF BC พิสูจน 1. BAC = EDF มุมที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมคลาย ˆ ˆ 2. AX แบงครึ่ง BAC ดังนั้น BAX = CAX ˆ ˆ ˆ DY แบงครึ่ง EDF ดังนั้น EDY = FDY ˆ ˆ ˆ 3. BAX = EDY จากขอ 1 และ 2 ˆ ˆ 4. ∆AXC และ ∆DYF มี ABX = DEY จาก ∆AXC ~ ∆DYF ˆ ˆ BAX = EDY จากขอ 3 ˆ ˆ BAX = EYD รูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมเทากันสองมุม มุมที่เหลือยอมเทากัน ˆ ˆ ดังนั้น ∆AXC ~ ∆DYF 5. DY = DE จากขอ 4 AX AB 6. AB BC = DE EF จาก ∆ABC ~ ∆DEF 7. AX = DY EF BC จากขอ 5, 6 และสมบัติการถายทอด จากนั้นครูใหนักเรียนทํากิจกรรม กิจกรรมที่ 5 ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ ขั้นที่ 1 สรางรูปสามเหลี่ยม ABC ขั้นที่ 2 สรางรูปสามเหลี่ยม DEF ใหความยาวของดานทั้งสาม เปนพหุคูณของ ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม ABC ดังนั้น ∆ABC ~ ∆DEF ขั้นที่ 3 ลากเสนจากจุดยอด A มาแบงครึ่งฐาน BC ที่ X และลากเส นจากจุด ยอด D มาแบงครึ่งฐาน EF ที่ Y ตัวอยางรูปที่สรางตามขั้นที่ 1 – 3 D A B X C E F Y
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 201 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ขั้นที่ 4 วัดความยาว AX , BC , DY , EF และหาวา DY = BC หรือไม AX EF จากนั้นใหนักเรียนเปรียบเทียบผลของนักเรียนกับผลของเพื่อน แลวใหนักเรียน นําผลมาทําเปนขอคาดเดาวาเปนอยางไร ครู แ นะนํ านั ก เรี ย นให รู จั ก สมบั ติ ข อ 4 ของรู ป สามเหลี่ ย ม และซั ก ถามกั บ นักเรียนวาตรงกับขอคาดเดาของนักเรียนหรือไม สมบัติ 5 ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลวอัตราสวน ของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยม รู ป ที่ ห นึ่ ง และรู ป ที่ ส องเท า กั บ อั ต ราส ว นของความยาวของฐานของรู ป สามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง 11. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 2 ขอ 3 เพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห ตรวจสอบความเขาใจ โดยครูกําหนดวันและเวลาสงงาน ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน) นักเรียนสามารถสรุปไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปคลายกัน ก็ตอเมื่อ มุมที่สมนัยกันมีขนาด เทากันและดานที่สมนัยกันเปนสัดสวนกัน ชั่วโมงที่ 2 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน) นักเรียนสามารถสรุปไดวา มีรูปสามเหลี่ยมสองรูป ถาความยาวของดานสามดานของรูป สามเหลี่ยมรูปหนึ่งเปนสัดสวนกับความยาวของดานสามดานของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (ดานตอ ดาน) รูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคลายกันหรือไม ชั่วโมงที่ 3 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) นักเรียนสามารถสรุปไดวา ถาขนาดของมุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งเทากับมุม สองมุมของรูปสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง (มุมตอมุม) แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคลายกัน ชั่วโมงที่ 4 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) นักเรียนสามารถสรุปไดวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปน รูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลว อัตราสวนของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูป สามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง ชั่วโมงที่ 5 (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน ตอ) นักเรียนสามารถสรุปไดวา ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปเปนรูปสามเหลี่ยมที่คลายกัน แลว อัตราสวนของความยาวของเสนแบงครึ่งมุมที่ลากจากจุดยอดมายังฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่ง และรูปที่สองเทากับอัตราสวนของความยาวของฐานของรูปสามเหลี่ยมรูปที่หนึ่งและรูปที่สอง
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 202 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - อินเทอรเน็ต 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของการแกโจทยปญหาโดยใชสมบัติ 1 – 5 พรอมทั้ง แสดงวิธีการทําอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 203 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..