SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                     42

                                             หนวยการเรียนรูที่ 2
                                      ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง
รายวิชาที่นามาบูรณาการ
            ํ
    ภาษาไทย ศิลปะ การงานพื้นฐานอาชีพ
1. มาตรฐานการเรียนรู
   มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2 มฐ. ค 1.3 มฐ. ค 1.4
2. ตัวชี้วัดชั้นปท่เี กี่ยวของ
   2.1 ค 1.1 ม.2/2-3
   2.2 ค 1.2 ม.2/1-2
   2.3 ค 1.3 ม.2/1-2
   2.4 ค 1.4 ม.2/1
3. สาระการเรียนรู
   3.1 จํานวนเต็ม (integers)
   3.2 จํานวนตรรกยะ (rational numbers)
   3.3 เศษสวนและทศนิยมซ้ํา
   3.4 การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
   3.5 จํานวนจริง
   3.6 สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
   3.7 การเทากัน
   3.8 การลบและการหารจํานวนจริง
   3.9 คาสัมบูรณ
   3.10 เลขยกกําลัง
   3.11 กฎของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
   3.12 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนศูนยหรือจํานวนเต็มลบ
   3.13 สมบัติของเลขยกกําลัง
   3.14 การหารากที่สอง
   3.15 วิธีการหารากที่สอง
   3.16 การหารากที่สาม
   3.17 วิธีการหารากที่สาม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                          43

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 15 ในหนังสือเรียนแม็ค
        2) การทําแบบฝกหัด 1 -2 ในหนังสือเรียนแม็ค
        3) การทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม
                                                           แนวทางการจัดการเรียนรู
      รองรอยการเรียนรู
                                               บทบาทครู                                บทบาทนักเรียน
 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ        - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                - ฝ ก คิ ด ตามและร ว มทํ ากิ จ กรรมใน
 ความเขาใจ 1- 15 ในหนังสือ                                                 ชั้นเรียน
 เรียนแม็ค
 2) การทําแบบฝกหัด 1 -2 ใน     - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และกิ จ กรรม      -ทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ
 หนังสือเรียนแม็ค               ตรวจสอบความเขาใจ                           และแบบฝกหัด
 3) การทําแบบทดสอบ              - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดในแตละ            - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปน ราย
                                เรื่อง                                      กลุม
 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
     1) การปฏิ บั ติ กิ จ กรรม - แนะนํ าวิ ธี การเขี ย นแผนผั งสรุ ป ความ
                                                                  - ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง ความคิ ด
 ในชั้นเรียนและการใชบริการ คิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหาประจําหนวย  ประจําหนวย
 ของโรงเรียนอยางเหมาะสม - แนะนํ าให นั ก เรียนใช บ ริก ารห อ งสมุ ด
                                                                  - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง
                               ของโรงเรียนอยางเหมาะสม            สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ
                                                                  การเรียนรูคณิตศาสตร
     2) การมีสวนรวมในการ - แนะนําวิธการจัดกลุมและการทํา
                                       ี                          - ให นั ก เรี ย นจั ด กลุ ม ตามที่ ค รู ม อบ
 ปฏิบัติกิจกรรมกลุม       กิจกรรมกลุม                           หมายและช ว ยกั น ทํ ากิ จ กรรมในชั้ น
                                                                  เรียน
 5.3 การทดสอบวัดผล         - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผังความคิด - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
 สัมฤทธิ์ทางการเรียน       รวบยอดประจําหนวยอีกครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                       44

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                          เรื่อง จํานวนตรรกยะ
                                               เวลา 3 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
        1) บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณและการแกปญหา
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซ้ําไดอยางถูกตองและรวดเร็ว
        2) สามารถเขียนทศนิยมซ้ําใหอยูในรูปของเศษสวนไดอยางถูกตองและรวดเร็ว
        3) สามารถระบุหรือยกตัวอยางจํานวนจริงและจํานวนตรรกยะได
        4) สามารถบอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) จํานวนเต็ม (integers)
       2) จํานวนตรรกยะ (rational numbers)
       3) เศษสวนและทศนิยมซ้ํา
       4) การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
   2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
       การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดเปรียบเทียบ ทักษะการคิดมีเหตุมีผล ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห
ทักษะการคิดสรุปความ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) พฤติกรรมการเรียน
       2) พฤติกรรมการทํางานกลุม
       3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-3
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                          45

       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
       7) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
      1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
       2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นักเรียนเขาใจความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะ

4. แนวทางการวัดและประเมินผล
       เกณฑขั้นต่ํา
       4.1 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป
       4.2 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป
       4.3 ทําได 80 % ขึ้นไป
       การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอน
    5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1 จํานวนตรรกยะ
          นักเรียนและครูรวมกันสนทนาเกี่ยวกับระบบจํานวนจริงที่นักเรียนรูจัก วามีจํานวนใดบาง ใหนักเรียนผลัด
   กันตอบ
         ชั่วโมงที่ 2 เศษสวนและทศนิยมซ้ํา
         นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องจํานวนตรรกยะที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยครูยกตัวอยางแลวถามตอบ
หนาชั้นเรียน
        ชั่วโมงที่ 3 การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
        ครูทบทวนการเปลี่ยนเศษสวนใหเปนทศนิยมโดยการตั้งโจทยแลวใหนักเรียนแขงกันหาคําตอบ
   5.2 ขั้นสอน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                         46

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                            ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 จํานวนตรรกยะ
 1. ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณาขอความที่วา 3 + 3 = 6 และ 4 + 3 = 3 + 4 วา            ทักษะการคิดวิเคราะห
     เปนจริงหรือไม เพราะเหตุใด ใหนักเรียนใหเหตุผลหรือยกตัวอยาง
 2. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลที่ไดจากการพิจารณาดังนี้                                 ทักษะการคิดวิเคราะห
     ขอความ 3 + 3 = 6 เปนจริง เชน จํานวนสม 3 ผล รวมกับสมอีก 3 ผล ก็จะไดสม
     เทากับ 6 ผล สวนขอความที่วา 4 + 3 = 3 + 4 จะเปนการบงชี้วาลําดับการบวก
     สามารถสลับที่กันได
 3. ครูใหนักเรียนชวยกันพิสูจนวาสมบัติขางตนเปนจริงสําหรับทุกจํานวนเต็มใด           ทักษะการคิดวิเคราะห
     หรือไม (เปนจริงสําหรับคูใดๆ ของจํานวนเต็ม)
 4. ครูเขียนจํานวน 1, 2, 3,4, 5, ... บนกระดานแลวสนทนากับนักเรียนวารูจัก               ทักษะการคิดสรุปความ
     จํานวนเหลานี้หรือไม เรียกจํานวนเหลานี้วาจํานวนอะไร ใชสําหรับทําอะไร จน
     ไดขอสรุปวา จํานวนดังกลาวเรียกวา จํานวนธรรมชาติ จํานวนนับ หรือเรียกอีก
     อยางวา จํานวนเต็มบวก
     ใชสําหรับนับสิ่งตางๆ หรือใชแทนผลกําไรของบริษัทฯ หางรานตางๆ
 5 . ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับผลของการประกอบการถาสมมติวาไมมกาไร         ีํ         ทักษะการคิดวิเคราะห
      หรือวาขาดทุน เราจะใชจํานวนที่กลาวขางตนแทนไดหรือไม (ไมได)
 6. ครูใหนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับวาจะใชจํานวนใดในการแทนการไมไดกําไรหรือ             ทักษะการคิดสรุปความ
     วาขาดทุน จนไดขอสรุปวา กําหนดจํานวน 0 อานวา ศูนย แทนการประกอบ
     การที่ เสมอตั ว และสํ าหรั บ การขาดทุ น ที่ เป น จํ านวนเต็ ม หน ว ย เรากํ าหนด
     จํานวนเต็มหนวย ซึ่งกําหนดเปนจํานวนเต็ม −1, −2, −3, ... อานวา ลบหนึ่ง,
     ลบสอง, ลบสาม, ...
 7. ครูสรุปกับนักเรียนโดยการเขียนบนกระดานดังนี้                                          ทักษะการคิดสรุปความ
     จํานวน −1, −2, −3, −4, −5, ... เรียกวา จํานวนเต็มลบ
     จํานวน 0, 1, −1, -2, −3, ... หรืออาจเขียนวา −3, −2, −1, 0, 1, 2, ... เรียก
     วา จํานวนเต็ม
  8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม จะแบงยังไงดีชวยบอกที
     กิจกรรมจะแบงยังไงดีชวยบอกที มีวิธีการเลนดังนี้
     - ใหนักเรียนจับคู
     - ใหนักเรียนใชดินน้ํามันปนเปนรูปแตงโมคนละลูก
 - ใหนักเรียนพิจารณาวาถามีคนอยู 4 คนจะมีวิธการแบงแตงโมใหไดเทาๆ กัน ได
                                                ี
 อยางไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   47

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 9. นักเรียนและครูชวยกันสรุปผลที่ไดจากการทํากิจกรรม จะแบงยังไงดี โดยครูอาจใช
   การถามตอบ เชน
   - จะแบงเปนจํานวนเต็มไดหรือไม
   - มีวิธีการแบงไดอยางไร
   - ถาแบงเปนจํานวนเต็มไมไดแบงเปนเศษสวนไดอยางไร
10. ครูแนะนําใหนักเรียนรูจักจํานวนตรรกยะ จากนั้นใหนักเรียนสรุปผลของการแบง    ทักษะการคิดวิเคราะห
    แตงโมวาจะแบงได
11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปความหมายของคําวาจํานวนตรรกยะ ดังนี้

     จํานวนตรรกยะ คือ จํานวนที่เขียนแทนไดในรูปของเศษสวนของจํานวน
                                  a
     เต็มสองจํานวน เขียนไดในรูป b เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b
     ไมเทากับศูนย                                                               ทักษะการคิดวิเคราะห

12. ครูนําตัวเลขไปวางไวหนาหองเรียน เชน 0, 2, −5, 7 , 3 , 2 , 8 แลวสุมให
                                                        4 5 4 9                    ทั ก ษ ะ ก าร คิ ด ส รุ ป
     นักเรียนออกไปหยิบจํานวนที่เปนจํานวนตรรกยะไปติดไวบนกระดาน โดยครูถามถึง
                                                                                   ความ
     เหตุผลในการเลือกตัวเลขแตละตัว เชน
                                                               a
         0, 2, 5 เปนจํานวนตรรกยะ เนื่องจากเขียนใหอยูในรูป b ไดเมื่อ a และ b
   เปนจํานวนเต็มใดๆ ดังนั้นจํานวนเต็มใดๆ จึงเปนจํานวนตรรกยะ
13. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับจํานวนตรรกยะ นอกจากเศษสวน จํานวนเต็ม แลวยังมี
    จํานวนอื่นๆ อีกหรือไม ไดแกจํานวนอะไร (มีจํานวนอื่นอีก เชน ทศนิยม)          ทักษะการคิดสรุป
14. ใหนกเรียนเขียน 3.1 ใหอยูในรูปเศษสวน โดยครูคอยตรวจสอบความถูกตอง ซึ่งจะ
         ั                                                                         ความ
    ไดวา 31
            10
15. นักเรียนสรุปความหมายของจํานวนตรรกยะลงในสมุดแลวยกตัวอยาง 5 - 10 จํานวน        ทักษะการคิดวิเคราะห
   โดยการตอบปากเปลาแลวครูเขียนบนกระดาน

 ชั่วโมงที่ 2 จํานวนตรรกยะ (ตอ)                                                   ทักษะการคิดสรุป
 1. นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องจํานวนตรรกยะที่เรียนในชั่วโมงที่แลว โดยครู ความ
     ยกตัวอยางแลวถามตอบหนาชั้นเรียน
 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาการหาคํ าตอบของ 2 ÷ 3, 1 ÷ 11 และ 5 ÷ 6 บนกระดาน ทักษะการคิดวิเคราะห
     พรอมกันดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                     48

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ

     0.6666                    0.09090                 0.83333
   3) 2.00000               11) 1.00000              5) 2.00000
     18                        0                       48
      20                       100                      20
        18                        99                     18
         20                        10                     20
          18                        0                      18
           20                       100                     20
            18                        99                     18
             20                        10                     20
                                        0                      18
                                        100                     20

 3. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียนเกี่ยวกับการหาผลลัพธขางตน จนนักเรียนสามารถตอบ           ทักษะการคิดเปรียบ
   ไดวา ในการหารแตละกรณีขางตนเมื่อหารตอไปจะไดจํานวนซ้ําๆ กับจํานวนที่ไดมา       เทียบ
   แลว
 4. ครูแนะนําวิธีการอานและการเขียนทศนิยมซ้ํา ดังนี้                                    ทักษะการคิดวิเคราะห
                                      •
     - 0.6666... จะเขียนแทนดวย 0.6 อานวา ศูนยจุดหกหกซ้ํา
                                      • •
     - 0.090909… จะเขียนแทนดวย 0.09 อานวา ศูนยจุดศูนยเกาศูนยเกาซ้ํา
                                          •
     - 0.83333…. จะเขียนแทนดวย 0.83 อานวา ศูนยจุดแปดสามสามซ้ํา
 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ 2 ÷ 3, 1 ÷ 11 และ 5 ÷ 6 สามารถเขียนในรูปอื่น
   ไดหรือไม (ได) และเขียนไดในรูปใด (เศษสวน 2 , 11 และ 5 ) ใหนักเรียน
                                                  3
                                                       1
                                                               6
   ทดลองเขียน ครูตรวจสอบความถูกตอง
 6. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับการทําเศษสวนใหเปนทศนิยมวามีวิธีการอยางไร     ทักษะการคิดวิเคราะห
   โดยครูใชคําถามจนนักเรียนสามารถตอบไดวา การทําเศษสวนใหเปนทศนิยม ทําได
   โดยการนําตัวสวนไปหารตัวเศษ
 7. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดยการตอบคําถามปากเปลา หรือมา
          ั
   เขียนคําตอบบนกระดาน โดยครูและเพื่อนคนอื่นๆ ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง
8. ใหนกเรียนพิจารณาทศนิยมที่รูจบ เชน 0.6, 0.75, −0.4 สามารถเขียนใหอยูในรูปของ
        ั                                                                               ทักษะการคิด
   ทศนิยมซ้ําไดหรือไม อยางไร ใหนักเรียนออกมาสาธิตการเขียนบนกระดานดํา แลว           สังเคราะห
   ครูตรวจสอบวาถูกตองหรือไม แลวสรุปอีกครั้งวาสามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ําไดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                         49

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
     0.60000..., 0.75000..., −0.40000… เปนตน
  9. ครูตั้งโจทยเกี่ยวกับการทําเศษสวนใหเปนทศนิยมซ้ํา ใหนักเรียนหาคําตอบลงในสมุด
 10. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและ
     เวลาสง
 ชั่วโมงที่ 3 การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
 1. ครูทบทวนการเปลี่ยนเศษสวนใหเปนทศนิยม โดยการตั้งโจทยแลวใหนักเรียนแขงกัน
     หาคําตอบ ใครหาไดเร็วที่สด คนนั้นชนะ ครูใหคําชมเชยกับนักเรียนที่ชนะ
                               ุ
 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักการทําเศษสวนใหเปนทศนิยมอีกครั้ง                      ทั ก ษ ะ ก าร คิ ด ส รุ ป
 3. ครูใหนักเรียนชวยกันหาวิธีเกี่ยวกับการเปลี่ยนทศนิยมใหเปนเศษสวนทําไดอยางไร      ความ
     และถาเปลี่ยนทศนิยมซ้ําใหเปนเศษสวนทําไดเหมือนกันหรือไม ครูใหนักเรียนออกมา     ทักษะการคิดวิเคราะห
     สาธิตวิธีการทํา
 4. ครูแสดงวิธการเปลี่ยนทศนิยมซ้ําใหเปนเศษสวน ใหนักเรียนชวยกันสังเกตวามีวิธีการ
                 ี
     อยางไร                                                                             ทักษะการคิดวิเคราะห
                        •

     เชน จงเปลี่ยน 0.7 ใหอยูในรูปของเศษสวน
     วิธีทํา ให            N = 0.7
                                    •




             หรือ           N = 0.77777…                 ….……..(1)
             นํา 10 คูณทั้งสองขางของสมการ (1) จะได
                        10N = 7.77777…                   ...............(2)
             สมการ (2) ลบดวยสมการ (1)
                           9N = 7
             นํา 9 ไปหารทั้งสองขางของสมการ จะได
                            N =7   9
                           0.7 = 7
                            •
             ดังนั้น               9
  5. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียน จากการสังเกต นักเรียนจะเห็นวามีวิธีการทําอยางไร         ทักษะการคิด
    บาง ใหนักเรียนชวยกันอธิบาย                                                        สังเคราะห
  6. ครูยกตัวอยาง 2 - 3 ตัวอยาง ใหนักเรียนลองหาคําตอบ
  7. ครูแนะนําการทําทศนิยมซ้ําใหอยูในรูปของเศษสวนจะใชสมบัติการคูณเพื่อเปลี่ยน
    สมการใหเปนสองสมการที่มีจํานวนหลังจุดทศนิยมเทากัน แลวนํามาลบกัน แลว
    ดําเนินการตอไป จนขางซายอยูในรูปของทศนิยมซ้ําและขางขวาเปนเศษสวน
 8. ใหนักเรียนแบงกลุม 3 - 5 คน แลวชวยกันศึกษาตัวอยางที่ 1 - 3 ในหนังสือเรียนแลว
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                50

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
     ชวยกันสรุปแลวสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน
  9. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน
 10. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับทศนิยมที่ซ้ําวาเปนจํานวนตรรกยะหรือไม เพราะเหตุ
     ใด จนไดคําตอบดังนี้ ทศนิยมซ้ําเปนจํานวนตรรกยะเพราะทศนิยมซ้ําสามารถเขียน ทักษะการคิดวิเคราะห
     ใหอยูในรูปของเศษสวนไดที่ตัวเศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มและตัวสวนไมเทากับ
     ศูนย
11. ใหนักเรียนพิจารณาการหารและการคูณตอไปนี้ แลวชวยกันสรุปรูปทั่วไปวาจะมี
                                                                                ทักษะการคิดวิเคราะห
    ลักษณะเปนอยางไร
                      36 ÷ 9 = 4 และ 4 × 9 = 36
    รูปทั่วไป
    สําหรับจํานวนเต็ม p, q และ n ใดๆ และ q ≠ 0
                      ถา p ÷ q = n แลว n × q = p
                       และถา n × q = p แลว p ÷ q = n
12. นักเรียนและครูรวมกันสรุปจํานวนที่เปนตรรกยะอีกครั้งเพื่อนตรวจสอบความเขาใจ ทั ก ษ ะ ก าร คิ ด ส รุ ป
    ของนักเรียน                                                                 ความ
13. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
  5.3 ขั้นสรุป
      ครูใหนักเรียนชวยกันสรุป ความหมายของจํานวนตรรกยะ วิธีการทําเศษสวนใหเปนทศนิยม วิธีการทํา
ทศนิยมซ้ําใหเปนเศษสวน ดังนี้
      จํานวนตรรกยะ คือ จํานวนที่เขียนแทนไดในรูปของเศษสวนของจํานวนเต็มสองจํานวน เขียนไดในรูป b
                                                                                               a


เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b ไมเทากับศูนย
6. สื่อการเรียนรู/ แหลงการเรียนรู
     6.1 สื่อการเรียนรู
          - หนังสือเรียนแม็ค
          - ดินน้ํามัน
         - ไมบรรทัด
     6.2 แหลงการเรียนรู
         - หองสมุดโรงเรียน
         - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
7. กิจกรรมเสนอแนะ-
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                                51

8. บันทึกหลังสอน
                                                                     บันทึกหลังสอน
                                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
      ประเด็นการบันทึก                                          จุดเดน                          จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชสื่อการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของ
ผูเรียน

                      บันทึกเพิ่มเติม
.........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

                                                                                                          ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน

บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
.........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
                                                                                                          ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                           ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                            52

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบฝกหัดในหนังสือเรียน
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                           แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
       ชื่อนักเรียน ................................ ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน .............................. ป ....................
        ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                            ระดับการประเมิน
          หัวขอการประเมิน
                                                                 ดีมาก                  ดี              พอใช                   ควรปรับปรุง
 ความสนใจ
 การตอบคําถาม
 การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
 การใชความรูทักษะ/กระบวนการทาง
 คณิตศาสตรในการแกปญหาใน
 สถานการณตางๆ
 ความสามารถในการใชภาษาและสื่อ
 ลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร
 สื่อความหมาย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                            53

  แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน


                                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
      ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
       ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ......................................................................

                                                                                     ระดับการประเมิน
     หัวขอการประเมิน
                                              ดีมาก                    ดี              ปานกลาง                   นอย                   นอยมาก
 การวงแผน
 การกําหนดการปฏิบัติงาน
 มีขั้นตอนชัดเจน
 การปฏิบัติตามขั้นตอนที่
 กําหนด
 ความคิดสรางสรรค
 ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                       54

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                                         เรื่อง จํานวนอตรรกยะ
                                              เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณและการแกปญหา
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถระบุหรือยกตัวอยางจํานวนอตรรกยะได
        2) สามารถบอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        1) จํานวนเต็ม (integers)
        2) จํานวนตรรกยะ (rational numbers)
        3) เศษสวนและทศนิยมซ้ํา
        4) การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน
    2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
         การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการคิดเปรียบเทียบ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการสังเกต
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) พฤติกรรมการเรียน
        2) พฤติกรรมการทํางานกลุม
        3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
         4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                     55

        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
              นักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนอตรรกยะ
4. แนวทางการวัดและประเมินผล
        เกณฑขั้นต่ํา
        1) ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป
        2) ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป
        3) ทําได 80 % ขึ้นไป
        การสรุปผลการประเมิน
        ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 จํานวนอตรรกยะ
        ครูทบทวนเรื่องของจํานวนตรรกยะโดยการถามตอบ เชน
        - จํานวนตรรกยะไดแกจํานวนใดบาง
        - ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนตรรกยะ
        ชั่วโมงที่ 2 จํานวนอตรรกยะ (ตอ)
        ใหนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของจํานวนอตรรกยะ โดยการถามตอบหรือยกตัวอยาง
    5.2 ขั้นสอน

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 จํานวนอตรรกยะ
 1. ครูทบทวนเรื่องของจํานวนตรรกยะโดยการถามตอบ เชน                                 ทั ก ษะการคิ ด จั ด ลํ า ดั บ
     - จํานวนตรรกยะไดแกจํานวนใดบาง                                              ความ
     - ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนตรรกยะ
 2. ครูใหนักเรียนแตละคนวาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีแตละดานยาว 1 หนวย ลงในสมุด
     จากนั้นเขียนเสนทแยงมุมในรูป โดยครูแสดงใหดูบนกระดาน ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                             56

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                              ฝกการคิดแบบ
                                  D              C

                                                 1
                                  A      1       B


3. ใหนักเรียนสังเกตและชวยกันพิจารณาวาเสนทแยงมุมนั้นมีความยาวเทาไร และเปน ทักษะการสังเกต
   จํานวนตรรกยะหรือไม
4. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปผลที่ได
5. ครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับการคนพบของนักคณิตศาสตรวา ไดคนพบความยาวของ ทักษะการคิดวิเคราะห
   เสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีดานแตละดานยาว 1 หนวยไมเปนจํานวนตรรกยะ
   หรือ พบวา ไม ส ามารถหาจํานวนตรรกยะใดๆ ที่ ยกกําลังสองเท ากับ 2 ครูแสดงให
   นักเรียนดูบนกระดาน

                            x2 = 2 , x ไมเปนจํานวนตรรกยะ

6. ครูสนทนากับนักเรียนเนื่องจากจํานวนตรรกยะยังไมเพียงพอที่จะใชในการแกปญหา
                                                                                                ทั กษ ะการคิ ดเป รี ย บ
   ทางคณิตศาสตร จึงมีจํานวนที่ไมใชจํานวนตรรกยะ คือจํานวนที่สามารถเปรียบเทียบ
                                                                                   a
                                                                                                เทียบ
   มากกวาหรือนอยกวากับจํานวนตรรกยะได แตไมสามารถเขียนไดในรูป b เมื่อ a
   และ b เป น จํ า นวนเต็ ม และ b ไม เ ท า กั บ ศู น ย ไ ด เรี ย กจํ า นวนดั ง กล า วว า
   จํานวนอตรรกยะ                                                                                ทักษะการคิดวิเคราะห

 7. ใหนักเรียนแบงกลุม 4 - 5 คน ชวยกันศึกษาเรื่องของจํานวนอตรรกยะ แลวใหแตละ
    กลุมนําเสนอหนาชั้นเรียน
 8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของจํานวนที่เปนอตรรกยะ
 9. ครูเขียนทศนิยมตอไปนี้บนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวาเปนจํานวน
    ตรรกยะหรื อ จํ า นวนอตรรกยะ 0.01001000100001… เป น จํ า นวนตรรกยะหรื อ
    จํานวนอตรรกยะ
10. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปไดวา 0.01001000100001… เปนทศนิยมที่ไมซ้ําซึ่งไม
                        a
     สามารถเขียนในรูป b เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b ไมเทากับศูนยได ดังนั้น
    จึงเปนจํานวนอตรรกยะ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                      57

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
 11. ครูใหนกเรียนเลนเกมชวยแยกฉันที
            ั
      เกมชวยแยกฉันที                                                               ทั ก ษะการคิ ด จั ด ลํ า ดั บ
     1) ใหนักเรียนแบงออกเปนสองทีมคือทีมตรรกยะและทีมอตรรกยะ                       ความ
      2) ครูนํากระดาษที่เขียนตัวเลขไปติดไวบนกระดาน
     3) ใหนักเรียนแตละฝายไปหยิบตัวเลขใหไดตรงกับชื่อทีมของตัวเอง
     4) ถาหยิบถูกรับไปแผนละ 1 คะแนนถาหยิบผิดลบแผนละ 5 คะแนน ทีมที่ได
        คะแนนมากเปนฝายชนะ



   5.3 ขั้นสรุป
        ใหนักเรียนชวยกันสรุป ความหมายของจํานวนอตรรกยะ และจํานวนที่เปนจํานวนอตรรกยะ
6. สื่อการเรียนรู/ แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค
        - กระดาษแข็งสําหรับติดตัวเลข
        - กรรไกร
        - ไมบรรทัด
        - ดินสอ
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        1) ครูใหนักเรียนไปอานขาวเกี่ยวกับกําเนิดของจํานวนอตรรกยะ
        2) ใหนักเรียนจับคูกันตามความสมัครใจ
        3) ใหนักเรียนแตละคูชวยกันตั้งคําถามจากความรูที่ไปอานโดยเนนคําถามเพื่อหาขอมูล ทําอะไร กับใคร
ที่ไหน เมื่อไร อยางไร เชน ใครเปนคนตั้งจํานวนอตรรกยะ จํานวนอตรรกยะเกิดในป พ.ศ. เทาไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                58

       ขั้นวิเคราะห
       ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหขอมูลที่สรุปไดในประเด็นตอไปนี้
       1) ทําไมถึงตองมีจํานวนอตรรกยะ
       2) จํานวนอตรรกยะนําไปทําอะไรไดบาง
       3) จํานวนอตรรกยะนําไปใชทําประโยชนอยางไร
        ขั้นสรุป
        ใหนักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญของจํานวนอตรรกยะที่ไปอานใหครบถวนสมบรูณอยางยอ โดยเขียน
เปนบันทึกไวในสมุดงานดวยภาษาของนักเรียนเอง
        ขั้นประยุกตใช
        ใหนกเรียนไปหาเรื่องราวเกี่ยวกับการนําจํานวนอตรรกยะไปใชแลวนํากลับมาเสนอใหเพื่อนฟงแลวสรุปเขียน
             ั
สงครู

    7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
        ครูสามารถบูรณาการการเรียนรูกบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและศิลปะ โดยการกําหนดภาระงานให
                                        ั
นักเรียนเลาเรื่องเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะ พรอมการแสดงละครประกอบตามขั้นตอนตอไปนี้

                               ภาระงาน “การเลาเรื่องเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะ”
ผลการเรียนรู   ใชกระบวนการเลาเรื่องและการแสดงละครสื่อความหมายเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะได
ผลงานที่ตองการ การเลาเรื่องและการแสดงละครเกี่ยวกับกําเนิดของจํานวนอตรรกยะ
         
ขั้นตอนการงาน 1. ใหนักเรียนจับกลุม กลุมละ 10 คน
                2. ศึกษาเรื่องกําเนิดของจํานวนอตรรกยะ
                3. นํามาเลาเปนละครและออกแบบการแสดง
                4. แสดงใหเพื่อนๆ ดูแลวแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นแลวนํามาแกไขปรับปรุงใหดีขึ้น
                5. นําเสนอผลงานของตัวเองตามวันและเวลาที่ครูกําหนด
เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองของเนื้อหา
                2. ความตอเนื่องของละคร
                3. ความสวยงามของการแสดง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                                                59

8. บันทึกหลังสอน
                                                                     บันทึกหลังสอน
                                                     (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
      ประเด็นการบันทึก                                          จุดเดน                          จุดที่ควรปรับปรุง
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชสื่อการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของ
ผูเรียน

                      บันทึกเพิ่มเติม
.........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................

                                                                                                          ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน

บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
.........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
                                                                                                          ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                           ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                            60

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบฝกหัดในหนังสือเรียน
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                           แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
       ชื่อนักเรียน ................................ ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน .............................. ป ....................
        ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                            ระดับการประเมิน
          หัวขอการประเมิน
                                                                 ดีมาก                  ดี              พอใช                   ควรปรับปรุง
 ความสนใจ
 การตอบคําถาม
 การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
 การใชความรูทักษะ/กระบวนการทาง
 คณิตศาสตรในการแกปญหาใน
 สถานการณตางๆ
 ความสามารถในการใชภาษาและสื่อ
 ลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร
 สื่อความหมาย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                                                                            61

  แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน


                                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
      ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
       ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ......................................................................

                                                                                     ระดับการประเมิน
     หัวขอการประเมิน
                                              ดีมาก                    ดี              ปานกลาง                   นอย                   นอยมาก
 การวงแผน
 การกําหนดการปฏิบัติงาน
 มีขั้นตอนชัดเจน
 การปฏิบัติตามขั้นตอนที่
 กําหนด
 ความคิดสรางสรรค
 ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                        62

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
                                           เรื่อง รากที่สอง
                                            เวลา 4 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) อธิบายและระบุรากที่สองตามจํานวนจริงที่กําหนดใหได
        2) หารากที่สองของจํานวนเต็มที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบและนําไปใชได
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) อธิบายและระบุรากที่สองตามจํานวนจริงที่กําหนดใหได
        2) หารากที่สองของจํานวนเต็มที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบและนําไปใชได
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        1) การหารากที่สอง
        2) วิธีการหารากที่สอง
   2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
         การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการคิดมีเหตุมีผล ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะ
การสังเกต

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) พฤติกรรมการเรียน
       2) พฤติกรรมการทํางานกลุม
       3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-6 และแบบฝกหัดที่ 1
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                    63

      4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
      7) สงงาน
  3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
      1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
      2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
  3.4 ความรูความเขาใจ
     นักเรียนเขาใจความหมายของรากที่ 2

4. แนวทางการวัดและประเมินผล
       เกณฑขั้นต่ํา
       4.1 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป
       4.2 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป
       4.3 ทําได 80 % ขึ้นไป
       การสรุปผลการประเมิน
       ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอน
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 บทนิยามของรากที่สอง
        ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องของรากที่สองวานักเรียนเคยรูจักมากอนหรือไม มีวิธีการเขียนอยางไร ใหนักเรียน
ออกมาสาธิต
        ชั่วโมงที่ 2 รากหรือกรณฑ
        ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทนิยามของรากที่สองที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการยกตัวอยางหรือถาม
ตอบ
        ชั่วโมงที่ 3 การหาคารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ
        ครูทบทวนเรื่องของการหาคารากที่สองที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการถามตอบหรือใหนักเรียนแสดงความคิด
เห็น
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                    64

        ชั่วโมงที่ 4 สมบัติของรากที่สอง
        นักเรียนหารากที่สองโดยวิธีการแยกตัวประกอบโดยครูเปนผูตั้งคําถามแลวใหนกเรียนชวยกันตอบหรือสุม
                                                                                ั
เรียกรายบุคคล
    5.2 ขั้นสอน

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 สมบัติของจํานวนจริง
 1. นักเรียนและครูทบทวนความหมายของจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ
 2. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายวาจํานวตรรกยะและจํานวนอตรรกยะมีลักษณะเหมือน ทั ก ษะการคิ ด เปรี ย บ
     หรือแตกตางกันอยางไร                                                          เทียบ
 3. ครูใหนักเรียนเขียนจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะแลวนํามารวมกัน ครูซักถาม
     วาจะเรียกกลุมของจํานวนที่รวมกันวาอะไร ใหนักเรียนอภิปรายจนสรุปเปนคําตอบวา
     เปนกลุมของจํานวนจริง
 4. นักเรียนและครูชวยกันเขียนแผนภาพของจํานวนจริงบนกระดาน ดังนี้
                             โครงสรางของระบบจํานวนจริง

                                           จํานวนจริง


                จํานวนตรรกยะ                                   จํานวนอตรรกยะ



            จํานวนเต็ม              จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนจริง



    จํานวนเต็มลบ         จํานวนเต็มศูนย       จํานวนเต็มบวก

 5. ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวา 4 และ −3 เปนจํานวนจริงหรือไม เพราะเหตุใด
                                                                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
 6. ครูใหนักเรียนนํา 4 และ −3 มาบวกกัน แลวใหพิจารณาผลลัพธที่ไดเปนจํานวนจริง
                                                                                  ทักษะการคิดคํานวณ
    หรือไม เพราะเหตุใด
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                      65

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 2 บทนิยามของรากที่สอง
 1. ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องของรากที่สองวานักเรียนเคยรูจักมากอนหรือไม มีวธิ    ทักษะการคิดจัดลําดับความ
      การเขียนอยางไรใหนักเรียนออกมาสาธิต
 2. ครูนําเสนอตัวอยางของรากที่สองเพื่อนําไปสูความเขาใจบทนิยามของรากที่สอง ทักษะการคิดมีเหตุมีผล
     เชน 9 เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย เรากลาววา 3 เปนรากที่สองของ 9 เนื่อง
     จาก 32= 9 และ −3 เปนรากที่สองของ 9 เนื่องจาก (−3) 2= 9
     0 เปนจํานวนจริง เรากลาววา 0 เปนรากที่สองของ 0 เนื่องจาก 02 = 0
 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับตัวอยางขางตนและซักถามนักเรียนวาถาเปลี่ยน
     ตัวเลขดังกลาวเปนตัวแปร เชน a, b, c เปนตน จะไดคําตอบวาอยางไร ครูเขียน
     บนกระดาน ใหนักเรียนพิจารณาและตอบคําถามดังนี้
     a เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย จะไดวา ± a เปนรากที่สองของ a
     b เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย จะไดวา ± b เปนรากที่สองของ b
     c เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย จะไดวา ± c เปนรากที่สองของ c
 4. นักเรียนและครูชวยกันสรุปเปนบทนิยามของรากที่สองดังนี้                        ทักษะการคิดสรุปความ
       บทนิยาม รากที่สองของ a
                   ให a เปนจํานวนจริงใดๆ ที่มากกวาหรือเทากับศูนย b เปนจํานวน
                   จริง และเปนรากที่สองของ a ก็ตอเมื่อ b2 = a
      เชน          42 = 16 ดังนั้น 4 เปนรากที่สองของ 16
                 (−42 ) = 16 ดังนั้น −4 เปนรากที่สองของ 16
 5. ครูกลาวกับนักเรียนวา จากการยกตัวอยาง จะเห็นวา 16 มีรากที่สองอยู 2 คา
    คือ 4 และ −4
 6. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับคาของรากที่สองวามีกี่คา (2 คา) คืออะไร ทักษะการคิดสรุปความ
    บาง (คาที่เปนบวกและคาที่เปนลบ)
 7. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปขอสังเกตของรากที่สองจากการยกตัวอยางขางตน ทักษะการคิดสรุปความ
    ขอสังเกต ถา a > 0 และ b เปนรากที่สองของ a แลว −b จะเปนรากที่สอง
                ของ a ดวย
 8. ครูยกตัวอยางใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบโดยการใชบทนิยาม
          1) 25                                                                    ทักษะการสังเกต
          2) 81
          3) 100
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                           66

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
             4) 169
             5) 3600
    วิธีทํา 1) เนื่องจาก 52 = 25 และ (− 52) = 25
                 ดังนั้น รากที่สองของ 25 คือ 5 และ −5
 9. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 11 โดยการถามตอบ
           ั                                                                ทักษะการคิดคํานวณ
10. ครูใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบของโจทยตอไปนี้โดยครูอาจใชการถามตอบ
               ั
    เปนการนําทางใหนักเรียน
                    1
   ตัวอยาง 4 2 คือรากที่สองของจํานวนใด
              1
   วิธีทํา 4 2 = 2 เนื่องจาก 22 = 4
                     1
           ดังนั้น 4 2 คือรากที่สองของ 4 ที่เปนบวก
11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปบทนิยามจากการทําตัวอยางขางตน                ทักษะการคิดสรุปความ

                       1
       บทนิยามของ a 2
                                             1
          1. ถา a เปนจํานวนจริงบวกแลว a 2 แทนรากที่สองของ a ที่เปนบวก
                     1
             เรียก a 2 วา คาหลักของรากที่สองของ a
                    1
                −(a 2 ) แทนรากที่สองของ a ที่เปนลบ
               1
         2. 0 2 = 0 (กลาวคือรากที่สองของ 0 เทากับ 0)

                                                                        1
12. ครูแนะนํานักเรียนตอจากบทนิยามของรากที่สองของ a และบทนิยามของ a 2
    จะไดวา เมื่อ a เปนจํานวนจริงที่มากกวาหรือเทากับศูนยแลว
           
                  1
               (a 2 )2      = a
                     1 2
    และ [−(a 2 )] = a
                     1
      เชน       (9 2 )2      = 9
                     1 2
              [−(9 2 )] = 9
 13. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
 14. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
    1) มีจํานวนจริงใดที่ยกกําลังสองแลวไดเทากับ −25 หรือไม
    2) มีจํานวนจริงใดที่ยกกําลังสองแลวไดเทากับ −64 หรือไม
     3) มีจํานวนจริงใดที่ยกกําลังสองแลวไดเทากับ −100 หรือไม
15. ครูใหนักเรียนใชเวลาคิดแลวซักถามจนนักเรียนสามรถตอบไดวา ไมมจํานวน
                                                                   ี
    จริงใดที่ยกกําลังสองแลวได −25, −64 หรือ −100
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   67

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ

 16. นักเรียนและครูชวยกันสรุปจากการหาคําตอบขางตนดังนี้
                  1             1                                               ทักษะการคิดสรุปความ
       นั่นคือ
            (−25) 2      และ
                          (−64) 2        ไมเปนจํานวนจริง
 17. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 เปนการบาน โดยครูกําหนดวัน
       และเวลาสง
 ชั่วโมงที่ 2 รากหรือกรณฑ                                                     ทักษะการคิดจัดลําดับความ
  1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทนิยามของรากที่สองที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว
     โดยการยกตัวอยางหรือถามตอบ
  2. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้
          4 เปนรากที่สองของ............
         −4 เปนรากที่สองของ............
      จะไดวา 4 เปนรากที่สองของ 16 เนื่องจาก 42 = 16
             −4 เปนรากที่สองของ 16 เนื่องจาก (−4)2 = 16
                                                                               ทักษะการสังเกต
  3. ครูและนักเรียนรวมกันพิจารณาวา a แทนรากที่สองของ a ที่เปนบวก
                 1
      ดังนั้น 16 2 จะเปนรากที่สองของ 16 ที่เปนบวก
                        1
             นั่นคือ 16 2       =            4
                          1
             และ −(16) 2        =         −4
                                                                               ทักษะการคิดสรุปความ
  4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจากการพิจารณาขางตน ซึ่งจะไดวา
                                       1
       รากที่สองของ a ที่เปนบวกคือ a 2 เขียนแทนดวย        a

 5. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับคารากที่สองของ a ที่มากกวาศูนย จะมีรากที่สอง
   ของ a กี่ คา อะไรบ าง (2 คา เช น ค ารากที่ สองของ 16 มี 2 ค าคื อ 4 และ −4
   และสามารถเขียนแทนรากที่สองของ 16 ที่เปนบวกดวย 16
           ดังนั้น 16 = 4 เพราะวา 42 = 16
           และเขียนแทนคารากที่สองของ 16 ที่เปนลบดวย − 16
           ดังนั้น − 16 = −4 เพราะวา (−4) 2 = 16
 6. ครูสุมใหนกเรียนคนอื่นชวยกันยกตัวอยางคารากที่สองของจํานวนจริงอื่น
                 ั
 7. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเปนบทนิยามของรากที่สองของ a เมื่อ a ≥ 0               ทักษะการคิดสรุปความ
           บทนิยาม ของรากที่สองของ a เมื่อ a ≥ 0 จะไดวา
                  ( a )2 = a
                        (- a )2 = a
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2                                                   68

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ

  8. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจากบทนิยาม เชน รากที่สองของ 2 มีสองคา
      คือรากที่สองของ 2 ที่เปนบวก และรากที่สองของสองที่เปนลบ เขียนแทนราก
      ที่สองของ 2 ที่เปนบวกดวย 2 และเขียนแทนรากที่สองของ 2 ที่เปนลบดวย
      − 2
                ดังนั้น ( 2 )2 = 2 และ (− 2 )2 = 2
  9. ครูใหนกเรียนเขียนคารากที่สองของจํานวนตางๆ เชน
                ั
                     1) รากที่สองของ 9
                     2) รากที่สองของ 50
                     3) รากที่สองของ 100
 10. ครูนาเสนอตัวอยางการหาคารากที่สองของจํานวนตางๆ เชน
              ํ
      ตัวอยาง จงหารากที่สองของจํานวนตอไปนี้                                  ทักษะการคิดคํานวณ
                       1) 14           2) − 0.0016
     วิธีทํา 1) 14 เปนรากที่สองของ 14
                     2) − 0.0016 เปนรากที่สองของ 0.0016
 11. ครูนําเสนอตัวอยางตอไปนี้ใหนักเรียนชวยกันนําเสนอวิธการหาคําตอบ
                                                            ี                  ทักษะการสังเกต
      ตัวอยาง จงหาคารากที่สองของจํานวนตอไปนี้
                      1) 25      2) 26     3) 16
                                               49
      วิธีทํา รากที่สองของ 25 ไดแก 5 และ −5
                  เนื่องจาก 52 = 25 และ (−5) 2 = 25
 12. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการหาคําตอบขางตนมีนักเรียนคนใดสงสัยหรือ     ทักษะการสังเกต
      ไม ถามีครูอธิบายหรืออธิบายใหนักเรียนทําความเขาใจจนสามารถหาคําตอบ
      ดวยตนเองได
 13. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 เปนการบาน
            ั
 ชั่วโมงที่ 3 การหาคารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ
 1. ครูทบทวนเรื่องของการหาคารากที่สองที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการถามตอบ
     หรือใหนกเรียนแสดงความคิดเห็น
                   ั
 2. นักเรียนและครูรวมกันสนทนาถึงการหาคารากที่สองที่มีคามากๆ จะมีวิธีการหา   ทักษะการคิดจัดลําดับความ
     คําตอบไดอยางไร โดยครูคอยแนะนํานักเรียนจนนักเรียนสามารถตอบไดวาใช
     วิธีการแยกตัวประกอบ หรือหาจํานวนมาหารเพื่อใหสามารถจัดใหอยูในรูปของ
     จํานวนจํานวนหนึ่งที่ยกกําลังสอง
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Viewers also liked

Viewers also liked (13)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Similar to Unit2 (9)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Unit2

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 42 หนวยการเรียนรูที่ 2 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง รายวิชาที่นามาบูรณาการ ํ ภาษาไทย ศิลปะ การงานพื้นฐานอาชีพ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.1 มฐ. ค 1.2 มฐ. ค 1.3 มฐ. ค 1.4 2. ตัวชี้วัดชั้นปท่เี กี่ยวของ 2.1 ค 1.1 ม.2/2-3 2.2 ค 1.2 ม.2/1-2 2.3 ค 1.3 ม.2/1-2 2.4 ค 1.4 ม.2/1 3. สาระการเรียนรู 3.1 จํานวนเต็ม (integers) 3.2 จํานวนตรรกยะ (rational numbers) 3.3 เศษสวนและทศนิยมซ้ํา 3.4 การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน 3.5 จํานวนจริง 3.6 สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ 3.7 การเทากัน 3.8 การลบและการหารจํานวนจริง 3.9 คาสัมบูรณ 3.10 เลขยกกําลัง 3.11 กฎของเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก 3.12 เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนศูนยหรือจํานวนเต็มลบ 3.13 สมบัติของเลขยกกําลัง 3.14 การหารากที่สอง 3.15 วิธีการหารากที่สอง 3.16 การหารากที่สาม 3.17 วิธีการหารากที่สาม
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 43 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 15 ในหนังสือเรียนแม็ค 2) การทําแบบฝกหัด 1 -2 ในหนังสือเรียนแม็ค 3) การทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝ ก คิ ด ตามและร ว มทํ ากิ จ กรรมใน ความเขาใจ 1- 15 ในหนังสือ ชั้นเรียน เรียนแม็ค 2) การทําแบบฝกหัด 1 -2 ใน - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และกิ จ กรรม -ทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ หนังสือเรียนแม็ค ตรวจสอบความเขาใจ และแบบฝกหัด 3) การทําแบบทดสอบ - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดในแตละ - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปน ราย เรื่อง กลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิ บั ติ กิ จ กรรม - แนะนํ าวิ ธี การเขี ย นแผนผั งสรุ ป ความ - ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง ความคิ ด ในชั้นเรียนและการใชบริการ คิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อหาประจําหนวย ประจําหนวย ของโรงเรียนอยางเหมาะสม - แนะนํ าให นั ก เรียนใช บ ริก ารห อ งสมุ ด - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยในหอง ของโรงเรียนอยางเหมาะสม สมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร 2) การมีสวนรวมในการ - แนะนําวิธการจัดกลุมและการทํา ี - ให นั ก เรี ย นจั ด กลุ ม ตามที่ ค รู ม อบ ปฏิบัติกิจกรรมกลุม กิจกรรมกลุม หมายและช ว ยกั น ทํ ากิ จ กรรมในชั้ น เรียน 5.3 การทดสอบวัดผล - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผังความคิด - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ สัมฤทธิ์ทางการเรียน รวบยอดประจําหนวยอีกครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 44 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง จํานวนตรรกยะ เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณและการแกปญหา 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซ้ําไดอยางถูกตองและรวดเร็ว 2) สามารถเขียนทศนิยมซ้ําใหอยูในรูปของเศษสวนไดอยางถูกตองและรวดเร็ว 3) สามารถระบุหรือยกตัวอยางจํานวนจริงและจํานวนตรรกยะได 4) สามารถบอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) จํานวนเต็ม (integers) 2) จํานวนตรรกยะ (rational numbers) 3) เศษสวนและทศนิยมซ้ํา 4) การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดเปรียบเทียบ ทักษะการคิดมีเหตุมีผล ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดสรุปความ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) พฤติกรรมการเรียน 2) พฤติกรรมการทํางานกลุม 3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-3 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 45 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะ 4. แนวทางการวัดและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป 4.3 ทําได 80 % ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 จํานวนตรรกยะ นักเรียนและครูรวมกันสนทนาเกี่ยวกับระบบจํานวนจริงที่นักเรียนรูจัก วามีจํานวนใดบาง ใหนักเรียนผลัด กันตอบ ชั่วโมงที่ 2 เศษสวนและทศนิยมซ้ํา นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องจํานวนตรรกยะที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยครูยกตัวอยางแลวถามตอบ หนาชั้นเรียน ชั่วโมงที่ 3 การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน ครูทบทวนการเปลี่ยนเศษสวนใหเปนทศนิยมโดยการตั้งโจทยแลวใหนักเรียนแขงกันหาคําตอบ 5.2 ขั้นสอน
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 46 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 จํานวนตรรกยะ 1. ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณาขอความที่วา 3 + 3 = 6 และ 4 + 3 = 3 + 4 วา ทักษะการคิดวิเคราะห เปนจริงหรือไม เพราะเหตุใด ใหนักเรียนใหเหตุผลหรือยกตัวอยาง 2. นักเรียนและครูรวมกันสรุปผลที่ไดจากการพิจารณาดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห ขอความ 3 + 3 = 6 เปนจริง เชน จํานวนสม 3 ผล รวมกับสมอีก 3 ผล ก็จะไดสม เทากับ 6 ผล สวนขอความที่วา 4 + 3 = 3 + 4 จะเปนการบงชี้วาลําดับการบวก สามารถสลับที่กันได 3. ครูใหนักเรียนชวยกันพิสูจนวาสมบัติขางตนเปนจริงสําหรับทุกจํานวนเต็มใด ทักษะการคิดวิเคราะห หรือไม (เปนจริงสําหรับคูใดๆ ของจํานวนเต็ม) 4. ครูเขียนจํานวน 1, 2, 3,4, 5, ... บนกระดานแลวสนทนากับนักเรียนวารูจัก ทักษะการคิดสรุปความ จํานวนเหลานี้หรือไม เรียกจํานวนเหลานี้วาจํานวนอะไร ใชสําหรับทําอะไร จน ไดขอสรุปวา จํานวนดังกลาวเรียกวา จํานวนธรรมชาติ จํานวนนับ หรือเรียกอีก อยางวา จํานวนเต็มบวก ใชสําหรับนับสิ่งตางๆ หรือใชแทนผลกําไรของบริษัทฯ หางรานตางๆ 5 . ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับผลของการประกอบการถาสมมติวาไมมกาไร ีํ ทักษะการคิดวิเคราะห หรือวาขาดทุน เราจะใชจํานวนที่กลาวขางตนแทนไดหรือไม (ไมได) 6. ครูใหนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับวาจะใชจํานวนใดในการแทนการไมไดกําไรหรือ ทักษะการคิดสรุปความ วาขาดทุน จนไดขอสรุปวา กําหนดจํานวน 0 อานวา ศูนย แทนการประกอบ การที่ เสมอตั ว และสํ าหรั บ การขาดทุ น ที่ เป น จํ านวนเต็ ม หน ว ย เรากํ าหนด จํานวนเต็มหนวย ซึ่งกําหนดเปนจํานวนเต็ม −1, −2, −3, ... อานวา ลบหนึ่ง, ลบสอง, ลบสาม, ... 7. ครูสรุปกับนักเรียนโดยการเขียนบนกระดานดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ จํานวน −1, −2, −3, −4, −5, ... เรียกวา จํานวนเต็มลบ จํานวน 0, 1, −1, -2, −3, ... หรืออาจเขียนวา −3, −2, −1, 0, 1, 2, ... เรียก วา จํานวนเต็ม 8. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม จะแบงยังไงดีชวยบอกที กิจกรรมจะแบงยังไงดีชวยบอกที มีวิธีการเลนดังนี้ - ใหนักเรียนจับคู - ใหนักเรียนใชดินน้ํามันปนเปนรูปแตงโมคนละลูก - ใหนักเรียนพิจารณาวาถามีคนอยู 4 คนจะมีวิธการแบงแตงโมใหไดเทาๆ กัน ได ี อยางไร
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 47 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 9. นักเรียนและครูชวยกันสรุปผลที่ไดจากการทํากิจกรรม จะแบงยังไงดี โดยครูอาจใช การถามตอบ เชน - จะแบงเปนจํานวนเต็มไดหรือไม - มีวิธีการแบงไดอยางไร - ถาแบงเปนจํานวนเต็มไมไดแบงเปนเศษสวนไดอยางไร 10. ครูแนะนําใหนักเรียนรูจักจํานวนตรรกยะ จากนั้นใหนักเรียนสรุปผลของการแบง ทักษะการคิดวิเคราะห แตงโมวาจะแบงได 11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปความหมายของคําวาจํานวนตรรกยะ ดังนี้ จํานวนตรรกยะ คือ จํานวนที่เขียนแทนไดในรูปของเศษสวนของจํานวน a เต็มสองจํานวน เขียนไดในรูป b เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b ไมเทากับศูนย ทักษะการคิดวิเคราะห 12. ครูนําตัวเลขไปวางไวหนาหองเรียน เชน 0, 2, −5, 7 , 3 , 2 , 8 แลวสุมให 4 5 4 9 ทั ก ษ ะ ก าร คิ ด ส รุ ป นักเรียนออกไปหยิบจํานวนที่เปนจํานวนตรรกยะไปติดไวบนกระดาน โดยครูถามถึง ความ เหตุผลในการเลือกตัวเลขแตละตัว เชน a 0, 2, 5 เปนจํานวนตรรกยะ เนื่องจากเขียนใหอยูในรูป b ไดเมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็มใดๆ ดังนั้นจํานวนเต็มใดๆ จึงเปนจํานวนตรรกยะ 13. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับจํานวนตรรกยะ นอกจากเศษสวน จํานวนเต็ม แลวยังมี จํานวนอื่นๆ อีกหรือไม ไดแกจํานวนอะไร (มีจํานวนอื่นอีก เชน ทศนิยม) ทักษะการคิดสรุป 14. ใหนกเรียนเขียน 3.1 ใหอยูในรูปเศษสวน โดยครูคอยตรวจสอบความถูกตอง ซึ่งจะ ั ความ ไดวา 31 10 15. นักเรียนสรุปความหมายของจํานวนตรรกยะลงในสมุดแลวยกตัวอยาง 5 - 10 จํานวน ทักษะการคิดวิเคราะห โดยการตอบปากเปลาแลวครูเขียนบนกระดาน ชั่วโมงที่ 2 จํานวนตรรกยะ (ตอ) ทักษะการคิดสรุป 1. นักเรียนและครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องจํานวนตรรกยะที่เรียนในชั่วโมงที่แลว โดยครู ความ ยกตัวอยางแลวถามตอบหนาชั้นเรียน 2. ครู ใ ห นั ก เรี ย นพิ จ ารณาการหาคํ าตอบของ 2 ÷ 3, 1 ÷ 11 และ 5 ÷ 6 บนกระดาน ทักษะการคิดวิเคราะห พรอมกันดังนี้
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 48 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 0.6666 0.09090 0.83333 3) 2.00000 11) 1.00000 5) 2.00000 18 0 48 20 100 20 18 99 18 20 10 20 18 0 18 20 100 20 18 99 18 20 10 20 0 18 100 20 3. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียนเกี่ยวกับการหาผลลัพธขางตน จนนักเรียนสามารถตอบ ทักษะการคิดเปรียบ ไดวา ในการหารแตละกรณีขางตนเมื่อหารตอไปจะไดจํานวนซ้ําๆ กับจํานวนที่ไดมา เทียบ แลว 4. ครูแนะนําวิธีการอานและการเขียนทศนิยมซ้ํา ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห • - 0.6666... จะเขียนแทนดวย 0.6 อานวา ศูนยจุดหกหกซ้ํา • • - 0.090909… จะเขียนแทนดวย 0.09 อานวา ศูนยจุดศูนยเกาศูนยเกาซ้ํา • - 0.83333…. จะเขียนแทนดวย 0.83 อานวา ศูนยจุดแปดสามสามซ้ํา 5. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ 2 ÷ 3, 1 ÷ 11 และ 5 ÷ 6 สามารถเขียนในรูปอื่น ไดหรือไม (ได) และเขียนไดในรูปใด (เศษสวน 2 , 11 และ 5 ) ใหนักเรียน 3 1 6 ทดลองเขียน ครูตรวจสอบความถูกตอง 6. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับการทําเศษสวนใหเปนทศนิยมวามีวิธีการอยางไร ทักษะการคิดวิเคราะห โดยครูใชคําถามจนนักเรียนสามารถตอบไดวา การทําเศษสวนใหเปนทศนิยม ทําได โดยการนําตัวสวนไปหารตัวเศษ 7. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดยการตอบคําถามปากเปลา หรือมา ั เขียนคําตอบบนกระดาน โดยครูและเพื่อนคนอื่นๆ ชวยกันตรวจสอบความถูกตอง 8. ใหนกเรียนพิจารณาทศนิยมที่รูจบ เชน 0.6, 0.75, −0.4 สามารถเขียนใหอยูในรูปของ ั ทักษะการคิด ทศนิยมซ้ําไดหรือไม อยางไร ใหนักเรียนออกมาสาธิตการเขียนบนกระดานดํา แลว สังเคราะห ครูตรวจสอบวาถูกตองหรือไม แลวสรุปอีกครั้งวาสามารถเขียนในรูปทศนิยมซ้ําไดดังนี้
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 49 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 0.60000..., 0.75000..., −0.40000… เปนตน 9. ครูตั้งโจทยเกี่ยวกับการทําเศษสวนใหเปนทศนิยมซ้ํา ใหนักเรียนหาคําตอบลงในสมุด 10. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและ เวลาสง ชั่วโมงที่ 3 การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน 1. ครูทบทวนการเปลี่ยนเศษสวนใหเปนทศนิยม โดยการตั้งโจทยแลวใหนักเรียนแขงกัน หาคําตอบ ใครหาไดเร็วที่สด คนนั้นชนะ ครูใหคําชมเชยกับนักเรียนที่ชนะ ุ 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักการทําเศษสวนใหเปนทศนิยมอีกครั้ง ทั ก ษ ะ ก าร คิ ด ส รุ ป 3. ครูใหนักเรียนชวยกันหาวิธีเกี่ยวกับการเปลี่ยนทศนิยมใหเปนเศษสวนทําไดอยางไร ความ และถาเปลี่ยนทศนิยมซ้ําใหเปนเศษสวนทําไดเหมือนกันหรือไม ครูใหนักเรียนออกมา ทักษะการคิดวิเคราะห สาธิตวิธีการทํา 4. ครูแสดงวิธการเปลี่ยนทศนิยมซ้ําใหเปนเศษสวน ใหนักเรียนชวยกันสังเกตวามีวิธีการ ี อยางไร ทักษะการคิดวิเคราะห • เชน จงเปลี่ยน 0.7 ใหอยูในรูปของเศษสวน วิธีทํา ให N = 0.7 • หรือ N = 0.77777… ….……..(1) นํา 10 คูณทั้งสองขางของสมการ (1) จะได 10N = 7.77777… ...............(2) สมการ (2) ลบดวยสมการ (1) 9N = 7 นํา 9 ไปหารทั้งสองขางของสมการ จะได N =7 9 0.7 = 7 • ดังนั้น 9 5. ครูสนทนาซักถามกับนักเรียน จากการสังเกต นักเรียนจะเห็นวามีวิธีการทําอยางไร ทักษะการคิด บาง ใหนักเรียนชวยกันอธิบาย สังเคราะห 6. ครูยกตัวอยาง 2 - 3 ตัวอยาง ใหนักเรียนลองหาคําตอบ 7. ครูแนะนําการทําทศนิยมซ้ําใหอยูในรูปของเศษสวนจะใชสมบัติการคูณเพื่อเปลี่ยน สมการใหเปนสองสมการที่มีจํานวนหลังจุดทศนิยมเทากัน แลวนํามาลบกัน แลว ดําเนินการตอไป จนขางซายอยูในรูปของทศนิยมซ้ําและขางขวาเปนเศษสวน 8. ใหนักเรียนแบงกลุม 3 - 5 คน แลวชวยกันศึกษาตัวอยางที่ 1 - 3 ในหนังสือเรียนแลว
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 50 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชวยกันสรุปแลวสงตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน 9. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน 10. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับทศนิยมที่ซ้ําวาเปนจํานวนตรรกยะหรือไม เพราะเหตุ ใด จนไดคําตอบดังนี้ ทศนิยมซ้ําเปนจํานวนตรรกยะเพราะทศนิยมซ้ําสามารถเขียน ทักษะการคิดวิเคราะห ใหอยูในรูปของเศษสวนไดที่ตัวเศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มและตัวสวนไมเทากับ ศูนย 11. ใหนักเรียนพิจารณาการหารและการคูณตอไปนี้ แลวชวยกันสรุปรูปทั่วไปวาจะมี ทักษะการคิดวิเคราะห ลักษณะเปนอยางไร 36 ÷ 9 = 4 และ 4 × 9 = 36 รูปทั่วไป สําหรับจํานวนเต็ม p, q และ n ใดๆ และ q ≠ 0 ถา p ÷ q = n แลว n × q = p และถา n × q = p แลว p ÷ q = n 12. นักเรียนและครูรวมกันสรุปจํานวนที่เปนตรรกยะอีกครั้งเพื่อนตรวจสอบความเขาใจ ทั ก ษ ะ ก าร คิ ด ส รุ ป ของนักเรียน ความ 13. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยครูกําหนดวันและเวลาสง 5.3 ขั้นสรุป ครูใหนักเรียนชวยกันสรุป ความหมายของจํานวนตรรกยะ วิธีการทําเศษสวนใหเปนทศนิยม วิธีการทํา ทศนิยมซ้ําใหเปนเศษสวน ดังนี้ จํานวนตรรกยะ คือ จํานวนที่เขียนแทนไดในรูปของเศษสวนของจํานวนเต็มสองจํานวน เขียนไดในรูป b a เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b ไมเทากับศูนย 6. สื่อการเรียนรู/ แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค - ดินน้ํามัน - ไมบรรทัด 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ-
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 51 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของ ผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 52 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ................................ ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน .............................. ป .................... ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตรในการแกปญหาใน สถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อ ลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 53 แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวงแผน การกําหนดการปฏิบัติงาน มีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่ กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 54 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง จํานวนอตรรกยะ เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ไดจากการคํานวณและการแกปญหา 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถระบุหรือยกตัวอยางจํานวนอตรรกยะได 2) สามารถบอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) จํานวนเต็ม (integers) 2) จํานวนตรรกยะ (rational numbers) 3) เศษสวนและทศนิยมซ้ํา 4) การเปลี่ยนทศนิยมซ้ําเปนเศษสวน 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการคิดเปรียบเทียบ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการสังเกต 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) พฤติกรรมการเรียน 2) พฤติกรรมการทํางานกลุม 3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 55 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนอตรรกยะ 4. แนวทางการวัดและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป 3) ทําได 80 % ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 จํานวนอตรรกยะ ครูทบทวนเรื่องของจํานวนตรรกยะโดยการถามตอบ เชน - จํานวนตรรกยะไดแกจํานวนใดบาง - ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนตรรกยะ ชั่วโมงที่ 2 จํานวนอตรรกยะ (ตอ) ใหนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของจํานวนอตรรกยะ โดยการถามตอบหรือยกตัวอยาง 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 จํานวนอตรรกยะ 1. ครูทบทวนเรื่องของจํานวนตรรกยะโดยการถามตอบ เชน ทั ก ษะการคิ ด จั ด ลํ า ดั บ - จํานวนตรรกยะไดแกจํานวนใดบาง ความ - ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจํานวนตรรกยะ 2. ครูใหนักเรียนแตละคนวาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีแตละดานยาว 1 หนวย ลงในสมุด จากนั้นเขียนเสนทแยงมุมในรูป โดยครูแสดงใหดูบนกระดาน ดังนี้
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 56 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ D C 1 A 1 B 3. ใหนักเรียนสังเกตและชวยกันพิจารณาวาเสนทแยงมุมนั้นมีความยาวเทาไร และเปน ทักษะการสังเกต จํานวนตรรกยะหรือไม 4. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปผลที่ได 5. ครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับการคนพบของนักคณิตศาสตรวา ไดคนพบความยาวของ ทักษะการคิดวิเคราะห เสนทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีดานแตละดานยาว 1 หนวยไมเปนจํานวนตรรกยะ หรือ พบวา ไม ส ามารถหาจํานวนตรรกยะใดๆ ที่ ยกกําลังสองเท ากับ 2 ครูแสดงให นักเรียนดูบนกระดาน x2 = 2 , x ไมเปนจํานวนตรรกยะ 6. ครูสนทนากับนักเรียนเนื่องจากจํานวนตรรกยะยังไมเพียงพอที่จะใชในการแกปญหา ทั กษ ะการคิ ดเป รี ย บ ทางคณิตศาสตร จึงมีจํานวนที่ไมใชจํานวนตรรกยะ คือจํานวนที่สามารถเปรียบเทียบ a เทียบ มากกวาหรือนอยกวากับจํานวนตรรกยะได แตไมสามารถเขียนไดในรูป b เมื่อ a และ b เป น จํ า นวนเต็ ม และ b ไม เ ท า กั บ ศู น ย ไ ด เรี ย กจํ า นวนดั ง กล า วว า จํานวนอตรรกยะ ทักษะการคิดวิเคราะห 7. ใหนักเรียนแบงกลุม 4 - 5 คน ชวยกันศึกษาเรื่องของจํานวนอตรรกยะ แลวใหแตละ กลุมนําเสนอหนาชั้นเรียน 8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปลักษณะของจํานวนที่เปนอตรรกยะ 9. ครูเขียนทศนิยมตอไปนี้บนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวาเปนจํานวน ตรรกยะหรื อ จํ า นวนอตรรกยะ 0.01001000100001… เป น จํ า นวนตรรกยะหรื อ จํานวนอตรรกยะ 10. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปไดวา 0.01001000100001… เปนทศนิยมที่ไมซ้ําซึ่งไม a สามารถเขียนในรูป b เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b ไมเทากับศูนยได ดังนั้น จึงเปนจํานวนอตรรกยะ
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 57 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 11. ครูใหนกเรียนเลนเกมชวยแยกฉันที ั เกมชวยแยกฉันที ทั ก ษะการคิ ด จั ด ลํ า ดั บ 1) ใหนักเรียนแบงออกเปนสองทีมคือทีมตรรกยะและทีมอตรรกยะ ความ 2) ครูนํากระดาษที่เขียนตัวเลขไปติดไวบนกระดาน 3) ใหนักเรียนแตละฝายไปหยิบตัวเลขใหไดตรงกับชื่อทีมของตัวเอง 4) ถาหยิบถูกรับไปแผนละ 1 คะแนนถาหยิบผิดลบแผนละ 5 คะแนน ทีมที่ได คะแนนมากเปนฝายชนะ 5.3 ขั้นสรุป ใหนักเรียนชวยกันสรุป ความหมายของจํานวนอตรรกยะ และจํานวนที่เปนจํานวนอตรรกยะ 6. สื่อการเรียนรู/ แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค - กระดาษแข็งสําหรับติดตัวเลข - กรรไกร - ไมบรรทัด - ดินสอ 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ประกอบดวยขั้นตอน 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นรวบรวมขอมูล 1) ครูใหนักเรียนไปอานขาวเกี่ยวกับกําเนิดของจํานวนอตรรกยะ 2) ใหนักเรียนจับคูกันตามความสมัครใจ 3) ใหนักเรียนแตละคูชวยกันตั้งคําถามจากความรูที่ไปอานโดยเนนคําถามเพื่อหาขอมูล ทําอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร เชน ใครเปนคนตั้งจํานวนอตรรกยะ จํานวนอตรรกยะเกิดในป พ.ศ. เทาไร
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 58 ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหขอมูลที่สรุปไดในประเด็นตอไปนี้ 1) ทําไมถึงตองมีจํานวนอตรรกยะ 2) จํานวนอตรรกยะนําไปทําอะไรไดบาง 3) จํานวนอตรรกยะนําไปใชทําประโยชนอยางไร ขั้นสรุป ใหนักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญของจํานวนอตรรกยะที่ไปอานใหครบถวนสมบรูณอยางยอ โดยเขียน เปนบันทึกไวในสมุดงานดวยภาษาของนักเรียนเอง ขั้นประยุกตใช ใหนกเรียนไปหาเรื่องราวเกี่ยวกับการนําจํานวนอตรรกยะไปใชแลวนํากลับมาเสนอใหเพื่อนฟงแลวสรุปเขียน ั สงครู 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนรูกบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยและศิลปะ โดยการกําหนดภาระงานให ั นักเรียนเลาเรื่องเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะ พรอมการแสดงละครประกอบตามขั้นตอนตอไปนี้ ภาระงาน “การเลาเรื่องเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะ” ผลการเรียนรู ใชกระบวนการเลาเรื่องและการแสดงละครสื่อความหมายเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะได ผลงานที่ตองการ การเลาเรื่องและการแสดงละครเกี่ยวกับกําเนิดของจํานวนอตรรกยะ  ขั้นตอนการงาน 1. ใหนักเรียนจับกลุม กลุมละ 10 คน 2. ศึกษาเรื่องกําเนิดของจํานวนอตรรกยะ 3. นํามาเลาเปนละครและออกแบบการแสดง 4. แสดงใหเพื่อนๆ ดูแลวแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นแลวนํามาแกไขปรับปรุงใหดีขึ้น 5. นําเสนอผลงานของตัวเองตามวันและเวลาที่ครูกําหนด เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองของเนื้อหา 2. ความตอเนื่องของละคร 3. ความสวยงามของการแสดง
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 59 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของ ผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 60 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ................................ ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน .............................. ป .................... ครั้งที่ .............................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตรในการแกปญหาใน สถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อ ลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 61 แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวงแผน การกําหนดการปฏิบัติงาน มีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่ กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 62 แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง รากที่สอง เวลา 4 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) อธิบายและระบุรากที่สองตามจํานวนจริงที่กําหนดใหได 2) หารากที่สองของจํานวนเต็มที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบและนําไปใชได 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบายและระบุรากที่สองตามจํานวนจริงที่กําหนดใหได 2) หารากที่สองของจํานวนเต็มที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบและนําไปใชได 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การหารากที่สอง 2) วิธีการหารากที่สอง 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดจัดลําดับความ ทักษะการคิดมีเหตุมีผล ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะ การสังเกต 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) พฤติกรรมการเรียน 2) พฤติกรรมการทํางานกลุม 3) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-6 และแบบฝกหัดที่ 1 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 63 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายของรากที่ 2 4. แนวทางการวัดและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “ พอใช ” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ ดี ” ขึ้นไป 4.3 ทําได 80 % ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอน 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 บทนิยามของรากที่สอง ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องของรากที่สองวานักเรียนเคยรูจักมากอนหรือไม มีวิธีการเขียนอยางไร ใหนักเรียน ออกมาสาธิต ชั่วโมงที่ 2 รากหรือกรณฑ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทนิยามของรากที่สองที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการยกตัวอยางหรือถาม ตอบ ชั่วโมงที่ 3 การหาคารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ ครูทบทวนเรื่องของการหาคารากที่สองที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการถามตอบหรือใหนักเรียนแสดงความคิด เห็น
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 64 ชั่วโมงที่ 4 สมบัติของรากที่สอง นักเรียนหารากที่สองโดยวิธีการแยกตัวประกอบโดยครูเปนผูตั้งคําถามแลวใหนกเรียนชวยกันตอบหรือสุม ั เรียกรายบุคคล 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 สมบัติของจํานวนจริง 1. นักเรียนและครูทบทวนความหมายของจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ 2. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายวาจํานวตรรกยะและจํานวนอตรรกยะมีลักษณะเหมือน ทั ก ษะการคิ ด เปรี ย บ หรือแตกตางกันอยางไร เทียบ 3. ครูใหนักเรียนเขียนจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะแลวนํามารวมกัน ครูซักถาม วาจะเรียกกลุมของจํานวนที่รวมกันวาอะไร ใหนักเรียนอภิปรายจนสรุปเปนคําตอบวา เปนกลุมของจํานวนจริง 4. นักเรียนและครูชวยกันเขียนแผนภาพของจํานวนจริงบนกระดาน ดังนี้ โครงสรางของระบบจํานวนจริง จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ จํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนจริง จํานวนเต็มลบ จํานวนเต็มศูนย จํานวนเต็มบวก 5. ใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวา 4 และ −3 เปนจํานวนจริงหรือไม เพราะเหตุใด ทักษะการคิดวิเคราะห 6. ครูใหนักเรียนนํา 4 และ −3 มาบวกกัน แลวใหพิจารณาผลลัพธที่ไดเปนจํานวนจริง ทักษะการคิดคํานวณ หรือไม เพราะเหตุใด
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 65 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 2 บทนิยามของรากที่สอง 1. ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องของรากที่สองวานักเรียนเคยรูจักมากอนหรือไม มีวธิ ทักษะการคิดจัดลําดับความ การเขียนอยางไรใหนักเรียนออกมาสาธิต 2. ครูนําเสนอตัวอยางของรากที่สองเพื่อนําไปสูความเขาใจบทนิยามของรากที่สอง ทักษะการคิดมีเหตุมีผล เชน 9 เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย เรากลาววา 3 เปนรากที่สองของ 9 เนื่อง จาก 32= 9 และ −3 เปนรากที่สองของ 9 เนื่องจาก (−3) 2= 9 0 เปนจํานวนจริง เรากลาววา 0 เปนรากที่สองของ 0 เนื่องจาก 02 = 0 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับตัวอยางขางตนและซักถามนักเรียนวาถาเปลี่ยน ตัวเลขดังกลาวเปนตัวแปร เชน a, b, c เปนตน จะไดคําตอบวาอยางไร ครูเขียน บนกระดาน ใหนักเรียนพิจารณาและตอบคําถามดังนี้ a เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย จะไดวา ± a เปนรากที่สองของ a b เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย จะไดวา ± b เปนรากที่สองของ b c เปนจํานวนจริงที่มากกวาศูนย จะไดวา ± c เปนรากที่สองของ c 4. นักเรียนและครูชวยกันสรุปเปนบทนิยามของรากที่สองดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ บทนิยาม รากที่สองของ a ให a เปนจํานวนจริงใดๆ ที่มากกวาหรือเทากับศูนย b เปนจํานวน จริง และเปนรากที่สองของ a ก็ตอเมื่อ b2 = a เชน 42 = 16 ดังนั้น 4 เปนรากที่สองของ 16 (−42 ) = 16 ดังนั้น −4 เปนรากที่สองของ 16 5. ครูกลาวกับนักเรียนวา จากการยกตัวอยาง จะเห็นวา 16 มีรากที่สองอยู 2 คา คือ 4 และ −4 6. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปเกี่ยวกับคาของรากที่สองวามีกี่คา (2 คา) คืออะไร ทักษะการคิดสรุปความ บาง (คาที่เปนบวกและคาที่เปนลบ) 7. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปขอสังเกตของรากที่สองจากการยกตัวอยางขางตน ทักษะการคิดสรุปความ ขอสังเกต ถา a > 0 และ b เปนรากที่สองของ a แลว −b จะเปนรากที่สอง ของ a ดวย 8. ครูยกตัวอยางใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบโดยการใชบทนิยาม 1) 25 ทักษะการสังเกต 2) 81 3) 100
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 66 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 4) 169 5) 3600 วิธีทํา 1) เนื่องจาก 52 = 25 และ (− 52) = 25 ดังนั้น รากที่สองของ 25 คือ 5 และ −5 9. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 11 โดยการถามตอบ ั ทักษะการคิดคํานวณ 10. ครูใหนกเรียนชวยกันหาคําตอบของโจทยตอไปนี้โดยครูอาจใชการถามตอบ ั เปนการนําทางใหนักเรียน 1 ตัวอยาง 4 2 คือรากที่สองของจํานวนใด 1 วิธีทํา 4 2 = 2 เนื่องจาก 22 = 4 1 ดังนั้น 4 2 คือรากที่สองของ 4 ที่เปนบวก 11. นักเรียนและครูรวมกันสรุปบทนิยามจากการทําตัวอยางขางตน ทักษะการคิดสรุปความ 1 บทนิยามของ a 2 1 1. ถา a เปนจํานวนจริงบวกแลว a 2 แทนรากที่สองของ a ที่เปนบวก 1 เรียก a 2 วา คาหลักของรากที่สองของ a 1 −(a 2 ) แทนรากที่สองของ a ที่เปนลบ 1 2. 0 2 = 0 (กลาวคือรากที่สองของ 0 เทากับ 0) 1 12. ครูแนะนํานักเรียนตอจากบทนิยามของรากที่สองของ a และบทนิยามของ a 2 จะไดวา เมื่อ a เปนจํานวนจริงที่มากกวาหรือเทากับศูนยแลว  1 (a 2 )2 = a 1 2 และ [−(a 2 )] = a 1 เชน (9 2 )2 = 9 1 2 [−(9 2 )] = 9 13. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ 14. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ 1) มีจํานวนจริงใดที่ยกกําลังสองแลวไดเทากับ −25 หรือไม 2) มีจํานวนจริงใดที่ยกกําลังสองแลวไดเทากับ −64 หรือไม 3) มีจํานวนจริงใดที่ยกกําลังสองแลวไดเทากับ −100 หรือไม 15. ครูใหนักเรียนใชเวลาคิดแลวซักถามจนนักเรียนสามรถตอบไดวา ไมมจํานวน ี จริงใดที่ยกกําลังสองแลวได −25, −64 หรือ −100
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 67 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 16. นักเรียนและครูชวยกันสรุปจากการหาคําตอบขางตนดังนี้ 1 1 ทักษะการคิดสรุปความ นั่นคือ (−25) 2 และ (−64) 2 ไมเปนจํานวนจริง 17. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 เปนการบาน โดยครูกําหนดวัน และเวลาสง ชั่วโมงที่ 2 รากหรือกรณฑ ทักษะการคิดจัดลําดับความ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับบทนิยามของรากที่สองที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลว โดยการยกตัวอยางหรือถามตอบ 2. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามตอไปนี้ 4 เปนรากที่สองของ............ −4 เปนรากที่สองของ............ จะไดวา 4 เปนรากที่สองของ 16 เนื่องจาก 42 = 16 −4 เปนรากที่สองของ 16 เนื่องจาก (−4)2 = 16 ทักษะการสังเกต 3. ครูและนักเรียนรวมกันพิจารณาวา a แทนรากที่สองของ a ที่เปนบวก 1 ดังนั้น 16 2 จะเปนรากที่สองของ 16 ที่เปนบวก 1 นั่นคือ 16 2 = 4 1 และ −(16) 2 = −4 ทักษะการคิดสรุปความ 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปจากการพิจารณาขางตน ซึ่งจะไดวา 1 รากที่สองของ a ที่เปนบวกคือ a 2 เขียนแทนดวย a 5. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับคารากที่สองของ a ที่มากกวาศูนย จะมีรากที่สอง ของ a กี่ คา อะไรบ าง (2 คา เช น ค ารากที่ สองของ 16 มี 2 ค าคื อ 4 และ −4 และสามารถเขียนแทนรากที่สองของ 16 ที่เปนบวกดวย 16 ดังนั้น 16 = 4 เพราะวา 42 = 16 และเขียนแทนคารากที่สองของ 16 ที่เปนลบดวย − 16 ดังนั้น − 16 = −4 เพราะวา (−4) 2 = 16 6. ครูสุมใหนกเรียนคนอื่นชวยกันยกตัวอยางคารากที่สองของจํานวนจริงอื่น ั 7. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเปนบทนิยามของรากที่สองของ a เมื่อ a ≥ 0 ทักษะการคิดสรุปความ บทนิยาม ของรากที่สองของ a เมื่อ a ≥ 0 จะไดวา ( a )2 = a (- a )2 = a
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.2 ภาคเรียนที่ 2 68 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 8. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางจากบทนิยาม เชน รากที่สองของ 2 มีสองคา คือรากที่สองของ 2 ที่เปนบวก และรากที่สองของสองที่เปนลบ เขียนแทนราก ที่สองของ 2 ที่เปนบวกดวย 2 และเขียนแทนรากที่สองของ 2 ที่เปนลบดวย − 2 ดังนั้น ( 2 )2 = 2 และ (− 2 )2 = 2 9. ครูใหนกเรียนเขียนคารากที่สองของจํานวนตางๆ เชน ั 1) รากที่สองของ 9 2) รากที่สองของ 50 3) รากที่สองของ 100 10. ครูนาเสนอตัวอยางการหาคารากที่สองของจํานวนตางๆ เชน ํ ตัวอยาง จงหารากที่สองของจํานวนตอไปนี้ ทักษะการคิดคํานวณ 1) 14 2) − 0.0016 วิธีทํา 1) 14 เปนรากที่สองของ 14 2) − 0.0016 เปนรากที่สองของ 0.0016 11. ครูนําเสนอตัวอยางตอไปนี้ใหนักเรียนชวยกันนําเสนอวิธการหาคําตอบ ี ทักษะการสังเกต ตัวอยาง จงหาคารากที่สองของจํานวนตอไปนี้ 1) 25 2) 26 3) 16 49 วิธีทํา รากที่สองของ 25 ไดแก 5 และ −5 เนื่องจาก 52 = 25 และ (−5) 2 = 25 12. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการหาคําตอบขางตนมีนักเรียนคนใดสงสัยหรือ ทักษะการสังเกต ไม ถามีครูอธิบายหรืออธิบายใหนักเรียนทําความเขาใจจนสามารถหาคําตอบ ดวยตนเองได 13. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 เปนการบาน ั ชั่วโมงที่ 3 การหาคารากที่สองโดยการแยกตัวประกอบ 1. ครูทบทวนเรื่องของการหาคารากที่สองที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการถามตอบ หรือใหนกเรียนแสดงความคิดเห็น ั 2. นักเรียนและครูรวมกันสนทนาถึงการหาคารากที่สองที่มีคามากๆ จะมีวิธีการหา ทักษะการคิดจัดลําดับความ คําตอบไดอยางไร โดยครูคอยแนะนํานักเรียนจนนักเรียนสามารถตอบไดวาใช วิธีการแยกตัวประกอบ หรือหาจํานวนมาหารเพื่อใหสามารถจัดใหอยูในรูปของ จํานวนจํานวนหนึ่งที่ยกกําลังสอง