SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
หนวยการเรียนรูท่ี 4 เรื่อง การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต

รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
   ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การงานพื้นฐานอาชีพ และศิลปะ
1. มาตรฐานการเรียนรู
   มฐ. ค 6.1

2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   ค 6.1 ม.2/1, 2

3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 การประยุกตของการเลื่อนขนาน
   3.2 การประยุกตของการสะทอน
   3.3 การประยุกตของการหมุน
   3.4 เทสเซลเลชัน
   3.5 การออกแบบโดยใชความรูเกี่ยวกับรูปสมมาตร

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-5
        2) การทําแบบฝกหัด 1 – 3(2) และกิจกรรมภาคปฏิบัติ
        3) การทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในการปฏิบติกิจกรรมกลุม
                                   ั
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                          220

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม

                                                     แนวทางการจัดการเรียนรู
      รองรอยการเรียนรู
                                               บทบาทครู                บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
    1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง        - ฝก คิ ดตาม ตอบคํ าถาม และ
        สอบความเขาใจ 1-5                                          รวมทํากิจกรรมในชั้นเรียน
    2) การทําแบบฝกหัด          - แนะนําการทําแบบฝกหัดและ       - ทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความ
                                  กิจกรรมตรวจสอบความเขา           เขาใจและแบบฝกหัด
                                  ใจ
     3) การทําแบบทดสอบ          - อธิบายสรุปความคิดรวบยอด        - ทํ า แบบทดสอบหน ว ยย อ ย
                                  ในแตละเรื่อง                    เปนรายกลุม รายบุคคล
5.2 ผลการปฏิบัตงาน ไดแก
                     ิ
    1) การปฏิบัติกิจกรรมใน - แนะนํ าวิ ธี ก ารเขี ย นแผนผั ง     - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความ
         ชั้ น เรี ย นและการใช สรุ ป ความคิ ด รวบยอดเพื่ อ         คิดประจําหนวย
         บริการของโรงเรียน สรุปเนื้อหาประจําหนวย                - ให นั ก เรี ย นไปค น คว า โจทย
         อยางเหมาะสม           - แนะนําใหนักเรียนใชบริการ       ในห อ งสมุ ด โรงเรี ย นและ
                                  ห อ งสมุ ด ของโรงเรียนอยาง      หองสมุดกลุมสาระการเรียน
                                  เหมาะสม                           รูคณิตศาสตร
     2) การมีสวนรวมในการ - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนและ           - ให นั ก เรีย นจัด กลุ ม ตามที่ ค รู
         ปฏิบัติกิจกรรมกลุม      แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ       มอบหมายและช ว ยกั น ทํ า
                                  ทํากิจกรรมกลุม                   กิจกรรมในชั้นเรียน

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผน - ทําแบบทดสอบ
    ทางการเรียน             ผั งความคิ ด รวบยอดประจํ า
                            หนวยอีกครั้ง และใหนักเรียน
                            ทําแบบทดสอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                             221

                              แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1-3)
                         เรื่อง การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต
                                         เวลา 3 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) ใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        ใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
         การเลื่อนขนาน คือการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ ซึ่งจะเคลื่อนที่ไดในสองทิศทาง คือ
การเคลื่อนที่ขนานกับแกน X และการเคลื่อนที่ขนานกับแกน Y
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
         การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
         ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และแบบฝกหัด 1
        2) แบบทดสอบตามที่ครูกําหนด
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน
        2) รวมกันทํากิจกรรมตามที่ครูกําหนด
        3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        4) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                             222

      3.4 ความรูความเขาใจ
          นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคช้นงานศิลปะหรือออกแบบ
                                                                    ิ
ได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต)
        ครูแนะนํานักเรียนถึงการแปลงทางเรขาคณิต และการเลื่อนขนานบนระนาบ พรอมทั้งยกตัว
อยางประกอบ
         ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ)
        ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการเลื่อนขนาน พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบเพิ่ม
เติม
         ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ)
        ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการเลื่อนขนานที่เรียนมา พรอมทั้งยกตัวอยาง
ประกอบเพิ่มเติม
    5.2 ขั้นสอน
                            กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต)
 1. ครูแนะนํานักเรียนถึงการแปลงทางเรขาคณิตวา เปนการเปลี่ยนตําแหนงของ ทักษะการคิดวิเคราะห
 รูปเรขาคณิต โดยลักษณะและขนาดของรูปยังคงเดิม                               ทักษะการสังเกต
 ตอไปใหนักเรียนสังเกตภาพที่อยูบนเครื่องฉายขามศีรษะ จากนั้นครูเลื่อนภาพ ทักษะการคิดสรุปความ
 ออกมาในแนวขนาน แลวใหนักเรียนพิจารณาวาภาพที่เกิดจากการเลื่อนมี          ทักษะการคิดสรุปผล
 ลักษณะอยางไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                               223

                          กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 จากนั้นครูกลาววาในการอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบเราจะอธิบาย
 การเคลื่อนที่ในสองทิศทาง คือทิศทางหนึ่งเปนการเคลื่อนที่ขนานกับแกน X
 และอีกทิศทางหนึ่งเปนการเคลื่อนที่ขนานกับแกน Y ครูยกตัวอยางใหนักเรียน
 สังเกต เชน
 พิจารณาการเลื่อนรูปสี่เหลี่ยม ABCD
                                  C                             C′
                  D
                                                  D′

                              B
                                                                B′
                  A                                A′
                      รูปตนแบบ                 รูปที่ไดจากการเลื่อนขนาน

 จากรูป มีการเลื่อนจุด A A′
            มีการเลื่อนจุด B B ′
            มีการเลื่อนจุด C C ′
            มีการเลื่อนจุด D D ′
 ในทิศทางเดียวกันและเปนระยะทางเทากัน
 จะไดวา AA′, BB ′, CC ′, DD ′ ขนานกันและยาวเทากัน
 ครูอธิบายตอไปวา เราจะเรียก A, A′ B, B ′ C, C ′ และ D, D ′ วา จุดที่สมนัยกัน
 จากนั้นครูซักถามนักเรียนตอไปวา จากตัวอยางขางตนนักเรียนสังเกตอะไรได
 บาง ใหนักเรียนอภิปรายกันจนไดขอสรุป ดังนี้
      1) รูปที่ไดจาการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ
      2) AA′ = BB ′ = CC ′ = DD ′
      3) AA′ // BB ′ // CC ′ // DD ′
 ครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 1 บนกระดาน
 ตัวอยางที่ 1 กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปตนแบบ ดังรูป จงสรางรูปที่ได
 จากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ดวยรังสี PQ
              A                       B                 P




                         C                                           Q
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                      224

                          กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 ใหนักเรียนชวยกันวาดรูปและอธิบายการเลื่อนขนาน ไดดังนี้
 วิธทํา
    ี                   A            B




                                  C         A′
                                                            B′




                                                   C′
            1) ลากเส น ประ AA′ , BB ′ และ CC ′ ให ข นานกั บ รั งสี PQ และให
  AA′ = BB ′ = CC ′ = PQ

            2) ลาก A′B ′, B ′C ′ และ C ′A′ จะไดรูป สามเหลี่ ยม A′B ′C ′ เป น รูป ที่
 ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ไปในทิศทางเดียวกับรังสี PQ และมี
 ระยะหางเทากับความยาวของสวนของเสนตรง PQ
 จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา จากตัวอยางดังกลาวเราสามารถสรุปสมบัติของ
 การเลื่อนขนานไดอยางไรบาง อภิปรายกันจนไดขอสรุป ดังนี้
         1) รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานเทากันทุกประการ
         2) สวนของเสนตรงที่เชื่อมระหวางจุดที่สมนัยกันแตละคูจะขนานกัน
 และยาวเทากันทุกเสน
         3) สวนของเสนตรงบนรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน
 ของสวนของเสนตรงนั้น จะขนานกันและยาวเทากัน
 ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ)
 2. ครูทบทวนสมบัติของการเลื่อนขนานที่เรียนมาเมื่อชั่วโมงที่แลว จากนั้นนํา ทักษะการคิดวิเคราะห
 เสนอตัวอยางที่ 2                                                                     ทักษะการสังเกต
 ตัวอยางที่ 2 กําหนดรูปสามเหลี่ยม PQR เปนรูปตนแบบ ดังรูป                            ทักษะการคิดสรุปความ
                                            Y                                          ทักษะการคิดสรุปผล
                                            Q

                         P

                                       R
                                                        X
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                       225

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
        1) ให นั ก เรี ย นสร า งรู ป ที่ ไ ด จ ากการเลื่ อ นขนานรู ป สามเหลี่ ย ม PQR
 ขนานกับแกน X ไปทางขวา 6 หนวย
        2) สรางรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม PQR ขนานกับแกน Y
 ลงมาดานลาง 5 หนวย
 โดยครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 4 กลุม ใหอภิปรายกันถึงวิธีสรางรูปที่ไดจาก
 การเลื่อนขนาน แลวสุมนักเรียนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อน
 ชวยกันพิจารณาความถูกตอง
 จากนั้นครูซักถามนักเรียนตอไปวา จากตัวอยางขางตนนักเรียนสังเกตอะไรได
 บาง ใหนกเรียนอภิปรายกันจนไดขอสรุป ดังนี้
            ั
        1) เมื่อเลื่อนรูปตนแบบขนานกับแกน X เฉพาะสมาชิกตัวแรกของพิกัด
 ของจุดของรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานเทานั้นที่เปลี่ยนแปลง สวนสมาชิกตัว
 หลังของพิกดของจุดคงเดิม
                 ั
        2) เมื่อเลื่อนรูปตนแบบขนานกับแกน Y เฉพาะสมาชิกตัวหลังของพิกัด
 ของจุดของรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานเทานั้นที่เปลี่ยนแปลง สวนสมาชิกตัว
 แรกของพิกดของจุดคงเดิม
               ั
 3. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 เปนการบานโดยครูกําหนด ทักษะการคิดคํานวณ
         ั
 วันสง
 ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ)
 4. ครู ส นทนากั บ นั ก เรีย นว า เราสามารถนํ าความรูเรื่ อ งการเลื่ อ นขนานมา ทักษะการคิดวิเคราะห
 ประยุกตใชแกปญหาทางคณิตศาสตรได ดังตัวอยางที่ 4                                    ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 4                                      D       F



                                        X              Y
                      A                                           B


                                 C              E

 จากรูป กําหนดให CD // EF มี AB ลากตัด CD และ EF ที่จุด X และ Y ตาม
 ลําดับ จงใชการเลื่อนขนานแสดงวา m( AXD) = m( AYˆF )
                                          ˆ

 วิธีทํา เนื่องจาก CD // EF เมื่อเลื่อนขนาน AXD ดวย XY
                                             ˆ

 จะได AYˆF เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน AXD  ˆ

 ดังนั้น AXD ทับ AYˆF ไดสนิทพอดี นั่นคือ m( AXD) = m( AYˆF )
              ˆ                                ˆ

 จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 5
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                      226

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 ตัวอยางที่ 5 จงหาพื้นที่โดยประมาณของสวนที่แรเงาของรูปตอไปนี้
                     A                   E                         B




                                                                   14   ซม.


                    D
                                         28   ซม.                  C


 ใหนักเรียนชวยกันแสดงวิธีทํา ไดดังนี้
 วิธีทํา จากการคาดคะเน ถาใชการเลื่อนขนานสวนโคง EC ดวย CD ใหไปตอ
 กับสวนโคง ED จะไดรูปครึ่งวงกลมที่มีรัศมียาว 14 เซนติเมตร ดังรูป
                                A                      E                      B




                                                                              14   ซม.


                               D                     28   ซม.                 C


 นั่นคือ หาพื้นที่ของสวนที่แรเงาไดโดยนําพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD ลบดวย
 พื้นที่รูปครึ่งวงกลมที่มีรัศมี 14 เซนติเมตรนั่นเอง
 จากรูปสี่เหลี่ยม ABCD กวาง 14 เซนติเมตร ยาว 28 เซนติเมตร
 พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD = กวาง × ยาว
                                     = 14 × 28
                                     = 392 ตารางเซนติเมตร
 พื้นที่ของรูปครึ่งวงกลมประมาณ = 1 π r 2   2
                                              =     1 22
                                                     × × 14 × 14
                                                    2 7
                                       = 308 ตารางเซนติเมตร
 ดังนั้น พื้นที่โดยประมาณของสวนที่แรเงา = 392 – 308 = 84 ตารางเซนติเมตร
 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 7 และ 8 เปนการบานโดยครูกําหนดวันและ ทักษะการคิดคํานวณ
 เวลาสงงาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                            227

   5.3 ขั้นสรุป
        นักเรียนสามารถสรุปไดวา การเลื่อนขนาน คือการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ ซึ่งจะ
เคลื่อนที่ไดในสองทิศทาง คือการเคลื่อนที่ขนานกับแกน X และการเคลื่อนที่ขนานกับแกน Y และ
สามารถใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได และนักเรียน
สามารถใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนกเรียนไปศึกษาเรื่องของการเลื่อนขนาน พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบ
                          ั
อยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
        ขั้นวิเคราะห
        ใหนกเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
              ั
        ขั้นสรุป
        ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
        ขั้นประยุกตใช
        ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
     7.2 กิจกรรมบูรณาการ
        ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย
กันใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ โดยจัดใหมีการประกวด และมอบ
รางวัลแกผูชนะเลิศ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                228

8. บันทึกหลังการสอน

                                      บันทึกหลังการสอน
                         (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน       จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………

                                                            ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………

                                                            ลงชื่อ………………………………………..
                                                            ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                            229

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                    แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ............ เดือน ........................ ป .................
  ครั้งที่ ...................................................... ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                             หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก ดี                         พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........ วันที่ ........... เดือน ............................ ป ....................
   ครั้งที่ ......................................................... ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                              ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                          230

                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 4-6)
                               เรื่อง การประยุกตของการสะทอน
                                         เวลา 3 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1)ใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       ภาพสะทอนเสมือนเปนภาพในกระจกของรูปตนแบบที่อยูตรงขามกันของเสนสมมาตร
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ
ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 และแบบฝกหัด 1
       2) การทําแบบทดสอบ
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
       7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                231

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
          ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการสะทอน)
         ครูแนะนํานักเรียนถึงการสะทอน และสมบัติตางๆ ของการสะทอน พรอมทั้งยกตัวอยาง
ประกอบ
          ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการสะทอน ตอ)
         ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการสะทอน (ตอ) พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ
เพิ่มเติม
          ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการสะทอน ตอ)
         ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นถึ งสมบั ติ ต างๆ ของการสะท อ นที่ เรี ย นมา พร อ มทั้ ง ยกตั ว อย าง
ประกอบเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                232

5.2 ขั้นสอน
                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการสะทอน)
 1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงตอนที่นักเรียนสองกระจกและซักถามนักเรียนวา ทักษะการตีความ
 นักเรียนเห็นภาพในกระจกเปนอยางไรบาง และเหมือนกับอะไร จากนั้นครูนํา ทักษะการคิดวิเคราะห
 สิ่งที่นักเรียนตอบคําถามขางตนมารวมกันอภิปราย และใหนักเรียนชวยกันสรุป ทักษะการคิดสรุปความ
 จนไดวาภาพที่เกิดขึ้นเปนภาพสะทอนจากรูปตนแบบ
 จากนั้นครูกลาววา ภาพสะทอนเสมือนเปนภาพในกระจกของรูปตนแบบที่อยู
 ตรงข ามกั น ของเส น สมมาตร และเราสามารถวาดรู ป ต า งๆ ได โ ดยใช ก าร
 สะทอน ครูแนะนํานักเรียนวา เสนตรงที่ทําหนาที่เสมือนเสนกระจกเรียกวา
 เสนสะทอนและภาพสะทอนของรูปตนแบบ เรียกวา ภาพ
 ครูนาเสนอตัวอยางเพื่อใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น
       ํ
 ตั ว อย าง รู ป สามเหลี่ ย ม ABC มี จุ ด ยอดมุ ม A(1, 2), B(2, 5) และ C(5, 1) เมื่ อ
 สะทอนโดยแกน Y จะไดภาพจากการสะทอนมีจุดยอดมุมเปน A′, B ′, C ′ โดย
 A สะทอนไปที่ A′ , B สะทอนไป B ′ และ C สะทอนไปที่ C ′
 จงหาพิกัดของ A′, B ′ และ C ′ แลวเขียนรูปตนแบบและภาพจากการสะทอน
 จากนั้นครูแสดงใหนักเรียนดูเปนตัวอยางและอธิบายไปพรอมกับเขียนกระดาน
 ไดดังนี้
 วิธีทํา เนื่องจากจุดในรูปตนแบบและจุดในภาพการสะทอนที่สมนัยกันจะ
 หางจากแกน Y เปนระยะเทากัน
 ดังนั้น A(1, 2) สะทอนไปยังจุด A′ (-1, 2), B(2, 5) สะทอนไปยังจุด B ′ (-2, 5)
 และ C(5, 1) สะทอนไปยังจุด C ′ (-5, 1) ดังรูป
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                 233

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                                 ฝกการคิดแบบ
 จากนั้ น ซั ก ถามนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ รู ป ที่ ไ ด และให นั ก เรี ย นช ว ยกั น สร างภาพ
 สะทอนคนละ 1 ภาพ โดยครูตรวจสอบความถูกตองและแนะนําเพิ่ มเติมใน
 กรณีที่นักเรียนไมเขาใจ
 จากกิจกรรมขางตน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงสมบัติของการสะทอน
 จนไดขอสรุปดังนี้
       1) รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการสะทอนเทากันทุกประการ                                      ทักษะการคิดวิเคราะห
       2) ส วนของเสน ตรงบนรูปต น แบบ และภาพที่ ไดจากการสะท อนของ ทักษะการคิดคํานวณ
          สวนของเสนตรงนั้นไมจําเปนตองขนานกันทุกคู
       3) สวนของเสนตรงที่เชื่อมจุดแตละจุดบนรูปตนแบบกับจุดที่สมนัยกัน ทักษะการคิดคํานวณ
          บนภาพที่ไดจากการสะทอนจะขนานกัน และไมจําเปนตองยาวเทากัน
  ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการสะทอน ตอ)
 2. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1 ซึ่งเปนตัวอยางการสรางภาพที่ไดจากการสะทอน
 ตัวอยางที่ 1 กําหนดใหรูปสามเหลี่ยม PQR เปนรูปตนแบบ และมี MN เปน
 เสนสะทอน จงสรางภาพที่ไดจากการสะทอน สามเหลี่ยม PQR
                                                 M

                                         P




                       Q


                                     R

                                                 N

 จากนั้นซักถามนักเรียนเกี่ยวกับรูปที่ได และใหนักเรียนชวยกันสรางภาพ
 สะทอน นั่นคือ
 วิธีทา 1) จากจุด P, Q, R ลากเสนตั้งฉากกับ MN ที่จุด S, T, W ตามลําดับ
      ํ
                                             M


                                 P           S       P′




               Q                                                 Q′
                                             T

                             R               W        R′



                                             N
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                     234

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
       2) จาก จุ ด S, T, W บ น MN ล าก เส น ตั้ งฉ าก ไป ยั ง P ′, Q ′, R ′ โด ยที่
 SP = SP ′, TQ = TQ ′ TQ = TQ’ และ WR = WR ′

       3) ลาก P ′Q ′, Q ′R ′, R ′P ′ จะได สามเหลี่ ย ม P ′Q ′R ′ เป น ภาพสะท อ นของ
 สามเหลี่ยม PQR ตามตองการ
 จากนั้นครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 2 บนกระดานดํา และใหนักเรียนชวยกันสรางภาพ
 สะทอน โดยการสุมนักเรียนออกมาแสดงวิธีทํา นั่นคือ
 ตัวอยางที่ 2 กําหนดรูปสี่เหลี่ยม ABCD และใหเสนตรง l เปนเสนสะทอนที่ขนาน
 กับแกน X อยูเหนือแกน X 1 หนวย จงหา รูปสี่เหลี่ยม A′B ′C ′D ′ ซึ่งเปนภาพที่ได
 จากการสะทอน รูปสี่เหลี่ยม ABCD และพิกัดของจุด A′, B ′, C ′ และ D ′
                                                    Y


                                                            y=1
                                                            X
                            D             C


                                 A              B




                                                    Y


                                 D′             C′

                            A′             B′

                                                            y=1
                                                            X
                            D              C

                                 A              B




 ดังนั้น พิกัดของจุด A′, B ′, C ′ และ D ′ คือ (-4,5), (-1,5), (-2,3) และ (-5,3) ตามลําดับ
 ตอไปครูกลาววาถาเสนสะทอนไมขนานกับแกน X และแกน Y ใหลากเสนตรงผาน
 จุดที่กําหนดใหและตั้งฉากกับเสนสะทอน ภาพของจุดที่กําหนดใหจะอยูบนเสนตั้ง
 ฉากที่สรางขึ้น และอยูหางจากเสนสะทอนเปนระยะเทากันกับจุดที่กําหนดใหอยู
 หางจากเสนสะทอน เมื่อไดภาพของจุดนั้นแลวจึงหาพิกัดดังตัวอยางที่ 3
 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ                       ทักษะการคิดคํานวณ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                         235

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
  ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการสะทอน ตอ)
 4. ครูกลาววา เราสามารถนําความรูเรื่องการสะทอนมาประยุกตใชแกปญหาทาง ทักษะการคิดวิเคราะห
 คณิตศาสตร ดังตัวอยางตอไปนี้                                             ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 4 กําหนด PQR สราง QO แบงครึ่ง PQR และตอ QO ไปทาง Q ถึงจุด S
                          ˆ                     ˆ

 ดังรูป จงพิสูจนวา m( PQS ) = m( RQS )
                         ˆ          ˆ

                                         O

                            P                        R




                                             Q




                                         S

 พิสูจน เนื่องจาก QO แบงครึ่ง PQR เมื่อตอ QO ไปทาง Q ถึงจุด S จะได SO แบง
                                 ˆ

 ครึ่ง PQR ดวย
        ˆ

 นั่นคือ SO เปนแกนสมมาตรของ PQR หรือเปนเสนสะทอนระหวาง PQO และ
                                     ˆ                                  ˆ

  ˆ
 RQO

 QR   เปนภาพที่ไดจากการสะทอน QP
 RQS เปนภาพที่ไดจากการสะทอน PQS
    ˆ                               ˆ

 ดังนั้น m( PQS ) = m( RQS )
             ˆ          ˆ

 ตอไปครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 5 บนกระดาน แลวแบงกลุมนักเรียนออกเปน 4 กลุม
 ใหชวยกันอภิปรายถึงการแสดงวิธีทํา จากนั้นครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอหนา
 กระดาน โดยครูและเพื่อนนักเรียนพิจารณาความถูกตอง
                                                                 Q
                      P                                     ตําบลวังเพชร
               ตําบลวังพลอย




 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 9 – 12 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลา ทักษะการคิดคํานวณ
 สงงาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                            236

    5.3 ขั้นสรุป
        นักเรียนสามารถสรุปไดวา ภาพสะทอนเสมือนเปนภาพในกระจกของรูปตนแบบที่อยูตรง
ขามกันของเสนสมมาตร และสามารถใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ หรือ
ออกแบบได

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
          - อินเทอรเน็ต

7. กิจกรรมเสนอแนะ
     7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของการสะทอน พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบ
อยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
        ขั้นวิเคราะห
        ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
        ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย
กันใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ โดยจัดใหมีการประกวด และมอบรางวัล
แกผูชนะเลิศ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                237

8. บันทึกหลังการสอน

                                      บันทึกหลังการสอน
                         (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน       จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………

                                                            ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………

                                                            ลงชื่อ………………………………………..
                                                            ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                            238

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                    แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ............ เดือน ........................ ป .................
  ครั้งที่ ...................................................... ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                             หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก ดี                         พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........ วันที่ ........... เดือน ............................ ป ....................
   ครั้งที่ ......................................................... ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                              ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                            239

                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 (ชั่วโมงที่ 7-9)
                                เรื่อง การประยุกตของการหมุน
                                         เวลา 3 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถนําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        นักเรียนสามารถนําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคช้นงานศิลปะหรือออกแบบได
                                                            ิ

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
         การหมุน คือการเคลื่อนที่รูปตนแบบรอบจุดๆ หนึ่ง โดยในการหมุนวัตถุ จุดแตละจุดของ
รูปกอนการหมุนและภายหลังการหมุนจะมีระยะหางจากจุดหมุนเปนระยะเทากัน
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 2
        2) การทําแบบทดสอบ
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                             240

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนสามารถหานําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
          ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการหมุน)
          ครู แ นะนํ า นั ก เรี ย นถึ ง การหมุ น และสมบั ติ ต างๆ ของการหมุ น พร อ มทั้ ง ยกตั ว อย า ง
ประกอบ
          ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการหมุน ตอ)
          ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการหมุน (ตอ) พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบเพิ่ม
เติม
          ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการหมุน ตอ)
          ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการหมุนที่เรียนมา พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ
เพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                               241

  5.2 ขั้นสอน
                           กิจกรรมการเรียนการสอน                            ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการหมุน)
 1. ครูกลาววา การเคลื่อนที่รูปตนแบบรอบจุดๆ หนึ่ง เรียก การหมุน และใน ทักษะการตีความหมาย
 การหมุนวัตถุ จุดแตละจุดของรูปกอนการหมุนและภายหลังการหมุนจะมีระยะ ทักษะการคิดวิเคราะห
 หางจากจุดหมุนเปนระยะเทากัน                                          ทักษะการคิดสรุปความ
 จากนั้นใหนักเรียนสังเกตตัวอยางการหมุนตอไปนี้ โดยครูสรางภาพมาสองภาพ
 ใหมีขนาดเหมือนกัน นํามาฉายที่เครื่องฉายขามศีรษะ แลวครูทําการหมุนภาพ
 ใหนักเรียนสังเกต




 ครูลองหมุนรูปขนาดมุมตางๆ ใหนักเรียนดู ทั้งแบบตามเข็มนาฬิกาและทวน
 เข็มนาฬิกา
 จากนั้นใหนักเรียนสรางรูปตนแบบแลวแสดงการหมุนในแบบตางๆ แลวนํามา
 เสนอหนาชั้นเรียนโดยครูและเพื่อนพิจารณาความถูกตอง
 จากตัวอยางขางตน ใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงสมบัติของการหมุน จนไดขอ
 สรุป ดังนี้
      1) รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการหมุนเทากันทุกประการ
      2) จุดบนรูปตนแบบและจุดบนภาพที่ไดจากการหมุนแตละคู จะอยูบนวง
           กลมที่มีจุดหมุนเปนจุดศูน ยกลางเดียวกัน แตละวงกลมเหลานี้ไมจํา
           เปนตองมีรัศมียาวเทากัน
      3) สวนของเสนตรงบนรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการหมุนไมจําเปน
           ตองขนานกัน
 ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการหมุน ตอ)
 2. ครูนําเสนอตัวอยางของการสรางรูปจากการหมุน เชน                          ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตัวอยางที่ 2 จงสรางสวนของเสนตรง A′B ′ ที่เกิดจากการหมุนสวนของเสน ทักษะการคิดคํานวณ
 ตรง AB รอบจุด O ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ดวยมุมขนาด 45°
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                 242

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                              ฝกการคิดแบบ
 วิธทํา
    ี                                        B

                               B′

                          A
                                             45°
                                            45°

                               A′

      1) ลาก OA โดยให O เปนจุดหมุน หมุน OA ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเปน
 มุม 45° ถึงจุด A′ ทําให OA = OA′
      2) ลาก OB โดยให O เปนจุดหมุน หมุน OB ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเปน
 มุม 45° ถึงจุด B’ ทําให OB = OB ′
      3) ลาก A′B ′ จะได A′B ′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน AB ทิศทางทวนเข็ม
 นาฬิกาดวยมุม 45° ตามตองการ
 3. ครูแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 เพื่อ ทักษะการคิดคํานวณ
 ตรวจสอบความเข าใจ จากนั้ น ครู สุ ม ตั ว แทนของแต ล ะกลุ ม ออกมาทํ าหน า
 กระดานโดยการจับฉลาก ครูและเพื่อนนักเรียนพิจารณาความถูกตองอีกครั้ง
 ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการหมุน ตอ)
 4. ครูก ล าวว า เราสามารถนํ าความรูเรื่ อ งการหมุ น มาประยุก ต ใช ในการแก ทักษะการคิดวิเคราะห
 ปญหาทางคณิตศาสตรได ดังตัวอยางตอไปนี้                                       ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 3 กําหนดให m( ABD) = m( EBC ) จงใชการหมุนพิสูจนวา
                             ˆ           ˆ

                                        D
 m( ABE ) = m( DBC )
     ˆ          ˆ
                                    E                  C




                           A                      B
  พิสูจน กําหนดให B เปนจุดหมุน
 หมุน ABE ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยมุมขนาดเทากับ m( EBC )
          ˆ                                                 ˆ

 จะไดวา ABE ทับ DBC ไดสนิทพอดี
             ˆ         ˆ

 นั่นคือ m( ABE ) = m( DBC )
               ˆ         ˆ

 ตอไปครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 6 แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงพื้นที่ที่โจทย
 ตองการหา จากนั้นครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอหนากระดาน โดยครูและ
 เพื่อนนักเรียนพิจารณาความถูกตอง
 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบานโดยครูกําหนดวันและเวลาสงงาน ทักษะการคิดคํานวณ
 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                            243

  5.3 ขั้นสรุป
        นักเรียนสามารถสรุปไดวา การหมุน คือการเคลื่อนที่รูปตนแบบรอบจุดๆ หนึ่ง โดยในการ
หมุนวัตถุ จุดแตละจุดของรูปกอนการหมุนและภายหลังการหมุนจะมีระยะหางจากจุดหมุนเปน
ระยะเทากัน และสามารถนําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
     7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
          ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของการหมุน พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยาง
ละเอียดมาคนละ 5 ขอ
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย
กันใชความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ โดยจัดใหมีการประกวด และมอบรางวัลแก
ผูชนะเลิศ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                244

8. บันทึกหลังการสอน

                                      บันทึกหลังการสอน
                         (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน       จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………

                                                            ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………

                                                            ลงชื่อ………………………………………..
                                                            ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                            245

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                    แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ............ เดือน ........................ ป .................
  ครั้งที่ ...................................................... ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                             หัวขอการประเมิน
                                                                                             ดีมาก ดี                         พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........ วันที่ ........... เดือน ............................ ป ....................
   ครั้งที่ ......................................................... ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                              ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                             246

                           แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 (ชั่วโมงที่ 10-11)
                                    เรื่อง เทสเซลเลชัน
                                         เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
      1) ใชความรูเกี่ยวกับเทสเซลเลชันสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได
      2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        นักเรียนใชความรูเกี่ยวกับเทสเซลเลชันสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        เทสเซลเลชัน คือการวางรูปเรขาคณิตใหชิดติดกันโดยไมมีชองวางเหลืออยู จะอยูในรูป
อยางใดอยางหนึ่งตอเนื่องออกไปเรื่อยๆ
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4-5 และแบบฝกหัด 3(1)-3(2)
        2) การทําแบบทดสอบ
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                 247

        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        ใชความรูเกี่ยวกับเทสเซลเลชันสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 (เทสเซลเลชัน)
        ใหนักเรียนสังเกตกระดานหมากรุกและตอบคําถาม จากนั้นครูกลาววา ในทางคณิตศาสตร
การวางรูปเรขาคณิตใหชิดติดกันโดยไมมีชองวางเหลืออยูใหมีรูปลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตอเนื่อง
ออกไปเรื่อยๆ จะเรียกวา เทสเซลเลชัน และเทสเซลเลชันสามารถสรางจากรูปชนิดใดชนิดหนึ่ง
เพียงชนิดเดียวหรือสรางจากรูปหลายๆ ชนิดก็ได
         ชั่วโมงที่ 2 (เทสเซลเลชัน ตอ)
         ครูนําเสนอเทสเซลเลชันกับการออกแบบงานศิลปะ
   5.2 ขั้นสอน
                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (เทสเซลเลชัน)
 1. ใหนักเรียนสังเกตกระดานหมากรุกและตอบคําถามตอไปนี้ เชน                   ทักษะการคิดวิเคราะห
      - กระดานหมากรุกมีรูปรางอยางไร                                         ทักษะการตีความหมาย
      - รูปสี่เหลี่ยมในกระดานหมากรุกวางอยูอยางไร                            ทักษะคิดสรุปความ
      - บนกระดานหมากรุกมีพื้นที่วางหรือไม
      - รูปสี่เหลี่ยมบนกระดานหมากรุกเกยกันอยูหรือไม
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4
Unit4

More Related Content

What's hot

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayสมใจ จันสุกสี
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...เล็ก น่ารัก
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการJirathorn Buenglee
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3Dmath Danai
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1KruGift Girlz
 

What's hot (20)

โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every dayใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
ใบงานและใบความรู้ วิชาภาษาอังกฤษ DLTV เรื่อง Things to do every day
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามขั้นตอนของโพลยา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริ...
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
เกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการเกมประกอบการสอนสมการ
เกมประกอบการสอนสมการ
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
การชั่ง ชั้น ป.3
การชั่ง  ชั้น  ป.3การชั่ง  ชั้น  ป.3
การชั่ง ชั้น ป.3
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ม.1
 

Viewers also liked

41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนKrooIndy Csaru
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนkany20101
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 

Viewers also liked (20)

41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
คู่มือระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียนสมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Multimedia eva-form
Multimedia eva-formMultimedia eva-form
Multimedia eva-form
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
รายการประเมิน
รายการประเมินรายการประเมิน
รายการประเมิน
 
ผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงานผลการประเมินชิ้นงาน
ผลการประเมินชิ้นงาน
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 

Similar to Unit4

แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 

Similar to Unit4 (20)

Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Unit4

  • 1. หนวยการเรียนรูท่ี 4 เรื่อง การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ การงานพื้นฐานอาชีพ และศิลปะ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 6.1 ม.2/1, 2 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 การประยุกตของการเลื่อนขนาน 3.2 การประยุกตของการสะทอน 3.3 การประยุกตของการหมุน 3.4 เทสเซลเลชัน 3.5 การออกแบบโดยใชความรูเกี่ยวกับรูปสมมาตร 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-5 2) การทําแบบฝกหัด 1 – 3(2) และกิจกรรมภาคปฏิบัติ 3) การทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบติกิจกรรมกลุม ั 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 220 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝก คิ ดตาม ตอบคํ าถาม และ สอบความเขาใจ 1-5 รวมทํากิจกรรมในชั้นเรียน 2) การทําแบบฝกหัด - แนะนําการทําแบบฝกหัดและ - ทํ ากิ จ กรรมตรวจสอบความ กิจกรรมตรวจสอบความเขา เขาใจและแบบฝกหัด ใจ 3) การทําแบบทดสอบ - อธิบายสรุปความคิดรวบยอด - ทํ า แบบทดสอบหน ว ยย อ ย ในแตละเรื่อง เปนรายกลุม รายบุคคล 5.2 ผลการปฏิบัตงาน ไดแก ิ 1) การปฏิบัติกิจกรรมใน - แนะนํ าวิ ธี ก ารเขี ย นแผนผั ง - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความ ชั้ น เรี ย นและการใช สรุ ป ความคิ ด รวบยอดเพื่ อ คิดประจําหนวย บริการของโรงเรียน สรุปเนื้อหาประจําหนวย - ให นั ก เรี ย นไปค น คว า โจทย อยางเหมาะสม - แนะนําใหนักเรียนใชบริการ ในห อ งสมุ ด โรงเรี ย นและ ห อ งสมุ ด ของโรงเรียนอยาง หองสมุดกลุมสาระการเรียน เหมาะสม รูคณิตศาสตร 2) การมีสวนรวมในการ - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนและ - ให นั ก เรีย นจัด กลุ ม ตามที่ ค รู ปฏิบัติกิจกรรมกลุม แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ มอบหมายและช ว ยกั น ทํ า ทํากิจกรรมกลุม กิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผน - ทําแบบทดสอบ ทางการเรียน ผั งความคิ ด รวบยอดประจํ า หนวยอีกครั้ง และใหนักเรียน ทําแบบทดสอบ
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 221 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1-3) เรื่อง การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู ใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การเลื่อนขนาน คือการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ ซึ่งจะเคลื่อนที่ไดในสองทิศทาง คือ การเคลื่อนที่ขนานกับแกน X และการเคลื่อนที่ขนานกับแกน Y 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และแบบฝกหัด 1 2) แบบทดสอบตามที่ครูกําหนด 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน 2) รวมกันทํากิจกรรมตามที่ครูกําหนด 3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 4) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 222 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคช้นงานศิลปะหรือออกแบบ ิ ได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต) ครูแนะนํานักเรียนถึงการแปลงทางเรขาคณิต และการเลื่อนขนานบนระนาบ พรอมทั้งยกตัว อยางประกอบ ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ) ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการเลื่อนขนาน พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบเพิ่ม เติม ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ) ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการเลื่อนขนานที่เรียนมา พรอมทั้งยกตัวอยาง ประกอบเพิ่มเติม 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต) 1. ครูแนะนํานักเรียนถึงการแปลงทางเรขาคณิตวา เปนการเปลี่ยนตําแหนงของ ทักษะการคิดวิเคราะห รูปเรขาคณิต โดยลักษณะและขนาดของรูปยังคงเดิม ทักษะการสังเกต ตอไปใหนักเรียนสังเกตภาพที่อยูบนเครื่องฉายขามศีรษะ จากนั้นครูเลื่อนภาพ ทักษะการคิดสรุปความ ออกมาในแนวขนาน แลวใหนักเรียนพิจารณาวาภาพที่เกิดจากการเลื่อนมี ทักษะการคิดสรุปผล ลักษณะอยางไร
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 223 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากนั้นครูกลาววาในการอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบเราจะอธิบาย การเคลื่อนที่ในสองทิศทาง คือทิศทางหนึ่งเปนการเคลื่อนที่ขนานกับแกน X และอีกทิศทางหนึ่งเปนการเคลื่อนที่ขนานกับแกน Y ครูยกตัวอยางใหนักเรียน สังเกต เชน พิจารณาการเลื่อนรูปสี่เหลี่ยม ABCD C C′ D D′ B B′ A A′ รูปตนแบบ รูปที่ไดจากการเลื่อนขนาน จากรูป มีการเลื่อนจุด A A′ มีการเลื่อนจุด B B ′ มีการเลื่อนจุด C C ′ มีการเลื่อนจุด D D ′ ในทิศทางเดียวกันและเปนระยะทางเทากัน จะไดวา AA′, BB ′, CC ′, DD ′ ขนานกันและยาวเทากัน ครูอธิบายตอไปวา เราจะเรียก A, A′ B, B ′ C, C ′ และ D, D ′ วา จุดที่สมนัยกัน จากนั้นครูซักถามนักเรียนตอไปวา จากตัวอยางขางตนนักเรียนสังเกตอะไรได บาง ใหนักเรียนอภิปรายกันจนไดขอสรุป ดังนี้ 1) รูปที่ไดจาการเลื่อนขนานกับรูปตนแบบเทากันทุกประการ 2) AA′ = BB ′ = CC ′ = DD ′ 3) AA′ // BB ′ // CC ′ // DD ′ ครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 1 บนกระดาน ตัวอยางที่ 1 กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปตนแบบ ดังรูป จงสรางรูปที่ได จากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ดวยรังสี PQ A B P C Q
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 224 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ใหนักเรียนชวยกันวาดรูปและอธิบายการเลื่อนขนาน ไดดังนี้ วิธทํา ี A B C A′ B′ C′ 1) ลากเส น ประ AA′ , BB ′ และ CC ′ ให ข นานกั บ รั งสี PQ และให AA′ = BB ′ = CC ′ = PQ 2) ลาก A′B ′, B ′C ′ และ C ′A′ จะไดรูป สามเหลี่ ยม A′B ′C ′ เป น รูป ที่ ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม ABC ไปในทิศทางเดียวกับรังสี PQ และมี ระยะหางเทากับความยาวของสวนของเสนตรง PQ จากนั้นครูซักถามนักเรียนวา จากตัวอยางดังกลาวเราสามารถสรุปสมบัติของ การเลื่อนขนานไดอยางไรบาง อภิปรายกันจนไดขอสรุป ดังนี้ 1) รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการเลื่อนขนานเทากันทุกประการ 2) สวนของเสนตรงที่เชื่อมระหวางจุดที่สมนัยกันแตละคูจะขนานกัน และยาวเทากันทุกเสน 3) สวนของเสนตรงบนรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน ของสวนของเสนตรงนั้น จะขนานกันและยาวเทากัน ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ) 2. ครูทบทวนสมบัติของการเลื่อนขนานที่เรียนมาเมื่อชั่วโมงที่แลว จากนั้นนํา ทักษะการคิดวิเคราะห เสนอตัวอยางที่ 2 ทักษะการสังเกต ตัวอยางที่ 2 กําหนดรูปสามเหลี่ยม PQR เปนรูปตนแบบ ดังรูป ทักษะการคิดสรุปความ Y ทักษะการคิดสรุปผล Q P R X
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 225 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1) ให นั ก เรี ย นสร า งรู ป ที่ ไ ด จ ากการเลื่ อ นขนานรู ป สามเหลี่ ย ม PQR ขนานกับแกน X ไปทางขวา 6 หนวย 2) สรางรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานรูปสามเหลี่ยม PQR ขนานกับแกน Y ลงมาดานลาง 5 หนวย โดยครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 4 กลุม ใหอภิปรายกันถึงวิธีสรางรูปที่ไดจาก การเลื่อนขนาน แลวสุมนักเรียนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน โดยครูและเพื่อน ชวยกันพิจารณาความถูกตอง จากนั้นครูซักถามนักเรียนตอไปวา จากตัวอยางขางตนนักเรียนสังเกตอะไรได บาง ใหนกเรียนอภิปรายกันจนไดขอสรุป ดังนี้ ั 1) เมื่อเลื่อนรูปตนแบบขนานกับแกน X เฉพาะสมาชิกตัวแรกของพิกัด ของจุดของรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานเทานั้นที่เปลี่ยนแปลง สวนสมาชิกตัว หลังของพิกดของจุดคงเดิม ั 2) เมื่อเลื่อนรูปตนแบบขนานกับแกน Y เฉพาะสมาชิกตัวหลังของพิกัด ของจุดของรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานเทานั้นที่เปลี่ยนแปลง สวนสมาชิกตัว แรกของพิกดของจุดคงเดิม ั 3. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 เปนการบานโดยครูกําหนด ทักษะการคิดคํานวณ ั วันสง ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณิต ตอ) 4. ครู ส นทนากั บ นั ก เรีย นว า เราสามารถนํ าความรูเรื่ อ งการเลื่ อ นขนานมา ทักษะการคิดวิเคราะห ประยุกตใชแกปญหาทางคณิตศาสตรได ดังตัวอยางที่ 4 ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 4 D F X Y A B C E จากรูป กําหนดให CD // EF มี AB ลากตัด CD และ EF ที่จุด X และ Y ตาม ลําดับ จงใชการเลื่อนขนานแสดงวา m( AXD) = m( AYˆF ) ˆ วิธีทํา เนื่องจาก CD // EF เมื่อเลื่อนขนาน AXD ดวย XY ˆ จะได AYˆF เปนภาพที่ไดจากการเลื่อนขนาน AXD ˆ ดังนั้น AXD ทับ AYˆF ไดสนิทพอดี นั่นคือ m( AXD) = m( AYˆF ) ˆ ˆ จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 5
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 226 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตัวอยางที่ 5 จงหาพื้นที่โดยประมาณของสวนที่แรเงาของรูปตอไปนี้ A E B 14 ซม. D 28 ซม. C ใหนักเรียนชวยกันแสดงวิธีทํา ไดดังนี้ วิธีทํา จากการคาดคะเน ถาใชการเลื่อนขนานสวนโคง EC ดวย CD ใหไปตอ กับสวนโคง ED จะไดรูปครึ่งวงกลมที่มีรัศมียาว 14 เซนติเมตร ดังรูป A E B 14 ซม. D 28 ซม. C นั่นคือ หาพื้นที่ของสวนที่แรเงาไดโดยนําพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD ลบดวย พื้นที่รูปครึ่งวงกลมที่มีรัศมี 14 เซนติเมตรนั่นเอง จากรูปสี่เหลี่ยม ABCD กวาง 14 เซนติเมตร ยาว 28 เซนติเมตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD = กวาง × ยาว = 14 × 28 = 392 ตารางเซนติเมตร พื้นที่ของรูปครึ่งวงกลมประมาณ = 1 π r 2 2 = 1 22 × × 14 × 14 2 7 = 308 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พื้นที่โดยประมาณของสวนที่แรเงา = 392 – 308 = 84 ตารางเซนติเมตร 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 7 และ 8 เปนการบานโดยครูกําหนดวันและ ทักษะการคิดคํานวณ เวลาสงงาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 227 5.3 ขั้นสรุป นักเรียนสามารถสรุปไดวา การเลื่อนขนาน คือการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวราบ ซึ่งจะ เคลื่อนที่ไดในสองทิศทาง คือการเคลื่อนที่ขนานกับแกน X และการเคลื่อนที่ขนานกับแกน Y และ สามารถใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได และนักเรียน สามารถใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนกเรียนไปศึกษาเรื่องของการเลื่อนขนาน พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบ ั อยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนกเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ั ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย กันใชความรูเกี่ยวกับการเลื่อนขนานสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ โดยจัดใหมีการประกวด และมอบ รางวัลแกผูชนะเลิศ
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 228 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 229 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ............ เดือน ........................ ป ................. ครั้งที่ ...................................................... ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........ วันที่ ........... เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ......................................................... ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 230 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 4-6) เรื่อง การประยุกตของการสะทอน เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1)ใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู ภาพสะทอนเสมือนเปนภาพในกระจกของรูปตนแบบที่อยูตรงขามกันของเสนสมมาตร 2.2 ทักษะ/กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 และแบบฝกหัด 1 2) การทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 231 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการสะทอน) ครูแนะนํานักเรียนถึงการสะทอน และสมบัติตางๆ ของการสะทอน พรอมทั้งยกตัวอยาง ประกอบ ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการสะทอน ตอ) ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการสะทอน (ตอ) พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ เพิ่มเติม ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการสะทอน ตอ) ครู ส นทนากั บ นั ก เรี ย นถึ งสมบั ติ ต างๆ ของการสะท อ นที่ เรี ย นมา พร อ มทั้ ง ยกตั ว อย าง ประกอบเพิ่มเติม
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 232 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการสะทอน) 1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงตอนที่นักเรียนสองกระจกและซักถามนักเรียนวา ทักษะการตีความ นักเรียนเห็นภาพในกระจกเปนอยางไรบาง และเหมือนกับอะไร จากนั้นครูนํา ทักษะการคิดวิเคราะห สิ่งที่นักเรียนตอบคําถามขางตนมารวมกันอภิปราย และใหนักเรียนชวยกันสรุป ทักษะการคิดสรุปความ จนไดวาภาพที่เกิดขึ้นเปนภาพสะทอนจากรูปตนแบบ จากนั้นครูกลาววา ภาพสะทอนเสมือนเปนภาพในกระจกของรูปตนแบบที่อยู ตรงข ามกั น ของเส น สมมาตร และเราสามารถวาดรู ป ต า งๆ ได โ ดยใช ก าร สะทอน ครูแนะนํานักเรียนวา เสนตรงที่ทําหนาที่เสมือนเสนกระจกเรียกวา เสนสะทอนและภาพสะทอนของรูปตนแบบ เรียกวา ภาพ ครูนาเสนอตัวอยางเพื่อใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น ํ ตั ว อย าง รู ป สามเหลี่ ย ม ABC มี จุ ด ยอดมุ ม A(1, 2), B(2, 5) และ C(5, 1) เมื่ อ สะทอนโดยแกน Y จะไดภาพจากการสะทอนมีจุดยอดมุมเปน A′, B ′, C ′ โดย A สะทอนไปที่ A′ , B สะทอนไป B ′ และ C สะทอนไปที่ C ′ จงหาพิกัดของ A′, B ′ และ C ′ แลวเขียนรูปตนแบบและภาพจากการสะทอน จากนั้นครูแสดงใหนักเรียนดูเปนตัวอยางและอธิบายไปพรอมกับเขียนกระดาน ไดดังนี้ วิธีทํา เนื่องจากจุดในรูปตนแบบและจุดในภาพการสะทอนที่สมนัยกันจะ หางจากแกน Y เปนระยะเทากัน ดังนั้น A(1, 2) สะทอนไปยังจุด A′ (-1, 2), B(2, 5) สะทอนไปยังจุด B ′ (-2, 5) และ C(5, 1) สะทอนไปยังจุด C ′ (-5, 1) ดังรูป
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 233 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จากนั้ น ซั ก ถามนั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ รู ป ที่ ไ ด และให นั ก เรี ย นช ว ยกั น สร างภาพ สะทอนคนละ 1 ภาพ โดยครูตรวจสอบความถูกตองและแนะนําเพิ่ มเติมใน กรณีที่นักเรียนไมเขาใจ จากกิจกรรมขางตน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงสมบัติของการสะทอน จนไดขอสรุปดังนี้ 1) รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการสะทอนเทากันทุกประการ ทักษะการคิดวิเคราะห 2) ส วนของเสน ตรงบนรูปต น แบบ และภาพที่ ไดจากการสะท อนของ ทักษะการคิดคํานวณ สวนของเสนตรงนั้นไมจําเปนตองขนานกันทุกคู 3) สวนของเสนตรงที่เชื่อมจุดแตละจุดบนรูปตนแบบกับจุดที่สมนัยกัน ทักษะการคิดคํานวณ บนภาพที่ไดจากการสะทอนจะขนานกัน และไมจําเปนตองยาวเทากัน ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการสะทอน ตอ) 2. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1 ซึ่งเปนตัวอยางการสรางภาพที่ไดจากการสะทอน ตัวอยางที่ 1 กําหนดใหรูปสามเหลี่ยม PQR เปนรูปตนแบบ และมี MN เปน เสนสะทอน จงสรางภาพที่ไดจากการสะทอน สามเหลี่ยม PQR M P Q R N จากนั้นซักถามนักเรียนเกี่ยวกับรูปที่ได และใหนักเรียนชวยกันสรางภาพ สะทอน นั่นคือ วิธีทา 1) จากจุด P, Q, R ลากเสนตั้งฉากกับ MN ที่จุด S, T, W ตามลําดับ ํ M P S P′ Q Q′ T R W R′ N
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 234 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2) จาก จุ ด S, T, W บ น MN ล าก เส น ตั้ งฉ าก ไป ยั ง P ′, Q ′, R ′ โด ยที่ SP = SP ′, TQ = TQ ′ TQ = TQ’ และ WR = WR ′ 3) ลาก P ′Q ′, Q ′R ′, R ′P ′ จะได สามเหลี่ ย ม P ′Q ′R ′ เป น ภาพสะท อ นของ สามเหลี่ยม PQR ตามตองการ จากนั้นครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 2 บนกระดานดํา และใหนักเรียนชวยกันสรางภาพ สะทอน โดยการสุมนักเรียนออกมาแสดงวิธีทํา นั่นคือ ตัวอยางที่ 2 กําหนดรูปสี่เหลี่ยม ABCD และใหเสนตรง l เปนเสนสะทอนที่ขนาน กับแกน X อยูเหนือแกน X 1 หนวย จงหา รูปสี่เหลี่ยม A′B ′C ′D ′ ซึ่งเปนภาพที่ได จากการสะทอน รูปสี่เหลี่ยม ABCD และพิกัดของจุด A′, B ′, C ′ และ D ′ Y y=1 X D C A B Y D′ C′ A′ B′ y=1 X D C A B ดังนั้น พิกัดของจุด A′, B ′, C ′ และ D ′ คือ (-4,5), (-1,5), (-2,3) และ (-5,3) ตามลําดับ ตอไปครูกลาววาถาเสนสะทอนไมขนานกับแกน X และแกน Y ใหลากเสนตรงผาน จุดที่กําหนดใหและตั้งฉากกับเสนสะทอน ภาพของจุดที่กําหนดใหจะอยูบนเสนตั้ง ฉากที่สรางขึ้น และอยูหางจากเสนสะทอนเปนระยะเทากันกับจุดที่กําหนดใหอยู หางจากเสนสะทอน เมื่อไดภาพของจุดนั้นแลวจึงหาพิกัดดังตัวอยางที่ 3 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ ทักษะการคิดคํานวณ
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 235 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการสะทอน ตอ) 4. ครูกลาววา เราสามารถนําความรูเรื่องการสะทอนมาประยุกตใชแกปญหาทาง ทักษะการคิดวิเคราะห คณิตศาสตร ดังตัวอยางตอไปนี้ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 4 กําหนด PQR สราง QO แบงครึ่ง PQR และตอ QO ไปทาง Q ถึงจุด S ˆ ˆ ดังรูป จงพิสูจนวา m( PQS ) = m( RQS ) ˆ ˆ O P R Q S พิสูจน เนื่องจาก QO แบงครึ่ง PQR เมื่อตอ QO ไปทาง Q ถึงจุด S จะได SO แบง ˆ ครึ่ง PQR ดวย ˆ นั่นคือ SO เปนแกนสมมาตรของ PQR หรือเปนเสนสะทอนระหวาง PQO และ ˆ ˆ ˆ RQO QR เปนภาพที่ไดจากการสะทอน QP RQS เปนภาพที่ไดจากการสะทอน PQS ˆ ˆ ดังนั้น m( PQS ) = m( RQS ) ˆ ˆ ตอไปครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 5 บนกระดาน แลวแบงกลุมนักเรียนออกเปน 4 กลุม ใหชวยกันอภิปรายถึงการแสดงวิธีทํา จากนั้นครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอหนา กระดาน โดยครูและเพื่อนนักเรียนพิจารณาความถูกตอง Q P ตําบลวังเพชร ตําบลวังพลอย 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 9 – 12 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลา ทักษะการคิดคํานวณ สงงาน เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 236 5.3 ขั้นสรุป นักเรียนสามารถสรุปไดวา ภาพสะทอนเสมือนเปนภาพในกระจกของรูปตนแบบที่อยูตรง ขามกันของเสนสมมาตร และสามารถใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ หรือ ออกแบบได 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - อินเทอรเน็ต 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของการสะทอน พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบ อยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย กันใชความรูเกี่ยวกับการสะทอนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ โดยจัดใหมีการประกวด และมอบรางวัล แกผูชนะเลิศ
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 237 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 238 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ............ เดือน ........................ ป ................. ครั้งที่ ...................................................... ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........ วันที่ ........... เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ......................................................... ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 239 แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 (ชั่วโมงที่ 7-9) เรื่อง การประยุกตของการหมุน เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถนําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถนําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคช้นงานศิลปะหรือออกแบบได ิ 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การหมุน คือการเคลื่อนที่รูปตนแบบรอบจุดๆ หนึ่ง โดยในการหมุนวัตถุ จุดแตละจุดของ รูปกอนการหมุนและภายหลังการหมุนจะมีระยะหางจากจุดหมุนเปนระยะเทากัน 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 2 2) การทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 240 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถหานําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการหมุน) ครู แ นะนํ า นั ก เรี ย นถึ ง การหมุ น และสมบั ติ ต างๆ ของการหมุ น พร อ มทั้ ง ยกตั ว อย า ง ประกอบ ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการหมุน ตอ) ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการหมุน (ตอ) พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบเพิ่ม เติม ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการหมุน ตอ) ครูสนทนากับนักเรียนถึงสมบัติตางๆ ของการหมุนที่เรียนมา พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ เพิ่มเติม
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 241 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การประยุกตของการหมุน) 1. ครูกลาววา การเคลื่อนที่รูปตนแบบรอบจุดๆ หนึ่ง เรียก การหมุน และใน ทักษะการตีความหมาย การหมุนวัตถุ จุดแตละจุดของรูปกอนการหมุนและภายหลังการหมุนจะมีระยะ ทักษะการคิดวิเคราะห หางจากจุดหมุนเปนระยะเทากัน ทักษะการคิดสรุปความ จากนั้นใหนักเรียนสังเกตตัวอยางการหมุนตอไปนี้ โดยครูสรางภาพมาสองภาพ ใหมีขนาดเหมือนกัน นํามาฉายที่เครื่องฉายขามศีรษะ แลวครูทําการหมุนภาพ ใหนักเรียนสังเกต ครูลองหมุนรูปขนาดมุมตางๆ ใหนักเรียนดู ทั้งแบบตามเข็มนาฬิกาและทวน เข็มนาฬิกา จากนั้นใหนักเรียนสรางรูปตนแบบแลวแสดงการหมุนในแบบตางๆ แลวนํามา เสนอหนาชั้นเรียนโดยครูและเพื่อนพิจารณาความถูกตอง จากตัวอยางขางตน ใหนักเรียนชวยกันอภิปรายถึงสมบัติของการหมุน จนไดขอ สรุป ดังนี้ 1) รูปตนแบบและภาพที่ไดจากการหมุนเทากันทุกประการ 2) จุดบนรูปตนแบบและจุดบนภาพที่ไดจากการหมุนแตละคู จะอยูบนวง กลมที่มีจุดหมุนเปนจุดศูน ยกลางเดียวกัน แตละวงกลมเหลานี้ไมจํา เปนตองมีรัศมียาวเทากัน 3) สวนของเสนตรงบนรูปตนแบบและภาพที่ไดจากการหมุนไมจําเปน ตองขนานกัน ชั่วโมงที่ 2 (การประยุกตของการหมุน ตอ) 2. ครูนําเสนอตัวอยางของการสรางรูปจากการหมุน เชน ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางที่ 2 จงสรางสวนของเสนตรง A′B ′ ที่เกิดจากการหมุนสวนของเสน ทักษะการคิดคํานวณ ตรง AB รอบจุด O ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ดวยมุมขนาด 45°
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 242 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ วิธทํา ี B B′ A 45° 45° A′ 1) ลาก OA โดยให O เปนจุดหมุน หมุน OA ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเปน มุม 45° ถึงจุด A′ ทําให OA = OA′ 2) ลาก OB โดยให O เปนจุดหมุน หมุน OB ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเปน มุม 45° ถึงจุด B’ ทําให OB = OB ′ 3) ลาก A′B ′ จะได A′B ′ เปนภาพที่ไดจากการหมุน AB ทิศทางทวนเข็ม นาฬิกาดวยมุม 45° ตามตองการ 3. ครูแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 เพื่อ ทักษะการคิดคํานวณ ตรวจสอบความเข าใจ จากนั้ น ครู สุ ม ตั ว แทนของแต ล ะกลุ ม ออกมาทํ าหน า กระดานโดยการจับฉลาก ครูและเพื่อนนักเรียนพิจารณาความถูกตองอีกครั้ง ชั่วโมงที่ 3 (การประยุกตของการหมุน ตอ) 4. ครูก ล าวว า เราสามารถนํ าความรูเรื่ อ งการหมุ น มาประยุก ต ใช ในการแก ทักษะการคิดวิเคราะห ปญหาทางคณิตศาสตรได ดังตัวอยางตอไปนี้ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 3 กําหนดให m( ABD) = m( EBC ) จงใชการหมุนพิสูจนวา ˆ ˆ D m( ABE ) = m( DBC ) ˆ ˆ E C A B พิสูจน กําหนดให B เปนจุดหมุน หมุน ABE ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดวยมุมขนาดเทากับ m( EBC ) ˆ ˆ จะไดวา ABE ทับ DBC ไดสนิทพอดี ˆ ˆ นั่นคือ m( ABE ) = m( DBC ) ˆ ˆ ตอไปครูเขียนโจทยตัวอยางที่ 6 แลวใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงพื้นที่ที่โจทย ตองการหา จากนั้นครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอหนากระดาน โดยครูและ เพื่อนนักเรียนพิจารณาความถูกตอง 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบานโดยครูกําหนดวันและเวลาสงงาน ทักษะการคิดคํานวณ เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 243 5.3 ขั้นสรุป นักเรียนสามารถสรุปไดวา การหมุน คือการเคลื่อนที่รูปตนแบบรอบจุดๆ หนึ่ง โดยในการ หมุนวัตถุ จุดแตละจุดของรูปกอนการหมุนและภายหลังการหมุนจะมีระยะหางจากจุดหมุนเปน ระยะเทากัน และสามารถนําความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของการหมุน พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยาง ละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวย กันใชความรูเกี่ยวกับการหมุนสรางสรรคชิ้นงานศิลปะ โดยจัดใหมีการประกวด และมอบรางวัลแก ผูชนะเลิศ
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 244 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 245 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ............ เดือน ........................ ป ................. ครั้งที่ ...................................................... ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........ วันที่ ........... เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ......................................................... ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 246 แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 (ชั่วโมงที่ 10-11) เรื่อง เทสเซลเลชัน เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชความรูเกี่ยวกับเทสเซลเลชันสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนใชความรูเกี่ยวกับเทสเซลเลชันสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู เทสเซลเลชัน คือการวางรูปเรขาคณิตใหชิดติดกันโดยไมมีชองวางเหลืออยู จะอยูในรูป อยางใดอยางหนึ่งตอเนื่องออกไปเรื่อยๆ 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4-5 และแบบฝกหัด 3(1)-3(2) 2) การทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
  • 29. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 247 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ ใชความรูเกี่ยวกับเทสเซลเลชันสรางสรรคชิ้นงานศิลปะหรือออกแบบได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (เทสเซลเลชัน) ใหนักเรียนสังเกตกระดานหมากรุกและตอบคําถาม จากนั้นครูกลาววา ในทางคณิตศาสตร การวางรูปเรขาคณิตใหชิดติดกันโดยไมมีชองวางเหลืออยูใหมีรูปลักษณะอยางใดอยางหนึ่งตอเนื่อง ออกไปเรื่อยๆ จะเรียกวา เทสเซลเลชัน และเทสเซลเลชันสามารถสรางจากรูปชนิดใดชนิดหนึ่ง เพียงชนิดเดียวหรือสรางจากรูปหลายๆ ชนิดก็ได ชั่วโมงที่ 2 (เทสเซลเลชัน ตอ) ครูนําเสนอเทสเซลเลชันกับการออกแบบงานศิลปะ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (เทสเซลเลชัน) 1. ใหนักเรียนสังเกตกระดานหมากรุกและตอบคําถามตอไปนี้ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห - กระดานหมากรุกมีรูปรางอยางไร ทักษะการตีความหมาย - รูปสี่เหลี่ยมในกระดานหมากรุกวางอยูอยางไร ทักษะคิดสรุปความ - บนกระดานหมากรุกมีพื้นที่วางหรือไม - รูปสี่เหลี่ยมบนกระดานหมากรุกเกยกันอยูหรือไม