SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
หนวยการเรียนรูที่ 1
                                   เรื่อง สมบัติของจํานวนนับ
รายวิชาที่นามาบูรณาการ
            ํ
          ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ
1. มาตรฐานการเรียนรู
          มฐ. ค 1.4
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
          ค 1.4 ม.1/1
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 จํานวนนับ
   3.2 การหารลงตัว
   3.3 ตัวประกอบ
   3.4 จํานวนคูและจํานวนคี่
   3.5 จํานวนเฉพาะ
   3.6 ตัวประกอบเฉพาะ
   3.7 การแยกตัวประกอบ
   3.8 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช
   3.9 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช
4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
          1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-15 และแบบฝกหัด 1-3
          2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
          3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
          1) การปฏิบัติกิจกรรมในชันเรียน
                                  ้
          2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                     2

 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม

                                                              แนวทางการจัดการเรียนรู
        รองรอยการเรียนรู
                                                     บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
     1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ            - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง      - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น
        ความเขาใจ 1-15 และ             - แนะการทําแบบฝกหัดและ             เรียน
        แบบฝกหัด 1-3                     กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ        - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ
     2) การทํากิจกรรมกลุม              - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน         แบบฝกหัด
     3) การทํากิจกรรมบูรณาการ             แตละเรื่อง                     - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
    1) การปฏิบติกิจกรรมในชัน
               ั            ้           - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป    - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด
       เรียนและการใชบริการ               ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนือหา
                                                                    ้       ประจําหนวย
       หองสมุดของโรงเรียนอยาง           ประจําหนวย                     - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยใน
       เหมาะสม                          - แนะนําใหนกเรียนใชบริการ
                                                      ั                     หองสมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุม
    2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ          หองสมุดของโรงเรียนอยาง          สาระการเรียนรูคณิตศาสตร
       กิจกรรมกลุม                       เหมาะสม                         - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย
                                        - แนะนําวิธการจัดกลุมและการทํา
                                                    ี                       และชวยกันทํากิจกรรมในชันเรียน
                                                                                                        ้
                                          กิจกรรมกลุม

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์               - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง   - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ
    ทางการเรียน                           ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                          ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                        3

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                                เรื่อง จํานวนนับ
                                                 เวลา 3 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        มีความรูความเขาใจในเรื่องของตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตัวประกอบ
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) อธิบายถึงความหมายของตัวประกอบ จํานวนคูและจํานวนคี่ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการ
แยกตัวประกอบไดอยางถูกตอง
        2) นําความรูเกี่ยวกับตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตัวประกอบไปใชในการ
แกโจทยปญหาได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การหารลงตัว
       2) ตัวประกอบ
       3) จํานวนคูและจํานวนคี่
       4) จํานวนเฉพาะ
       5) ตัวประกอบเฉพาะ
       6) การแยกตัวประกอบ
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-6 และแบบฝกหัด 1
        2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
        3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “การเขียนกลอนเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัว
ประกอบ”
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                              4

   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
       2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นักเรียนเขาใจความหมายของคําวา ตัวประกอบ จํานวนคูและจํานวนคี่ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ
และการแยกตัวประกอบ

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู
                                ่
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (ตัวประกอบ)
       โดยครูทบทวนความรูเรื่องจํานวนนับวาจํานวนนับคืออะไร พรอมยกตัวอยางประกอบ
       ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ)
       ครูทบทวนความหมายของตัวประกอบ จากนั้นอธิบายเรื่องจํานวนคูและจํานวนคี่ โดยใหนักเรียนชวยกัน
ยกตัวอยางประกอบ และนํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 มาอภิปรายตอนตนชัวโมง  ่
       ชั่วโมงที่ 3 (การแยกตัวประกอบ)
       1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5
       2. ครูทบทวนความหมายของจํานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะอีกครัง       ้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                      5

   5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (ตัวประกอบ)
1. ครูยกตัวอยางการหารลงตัว แลวสรุปวา การหารลงตัวคือการหารที่หารแลวจะมีเศษ    ทักษะการคิดสรุปความ
เปนศูนย และใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 พรอมกันในชั้นเรียน
                   ั
2. ครูใหนักเรียนชวยกันหาจํานวนนับทั้งหมดที่หาร 30 ลงตัว และจํานวนนับทั้งหมดที่
หาร 45 ลงตัว ครูเสนอแนะวาจํานวนนับทีหาร 30 ลงตัว เรียกวา ตัวประกอบของ 30 และ
                                        ่
จํานวนนับทีหาร 45 ลงตัว เรียกวา ตัวประกอบของ 45 ตามลําดับ
              ่
3. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของตัวประกอบ ดังนี้                          ทักษะการคิดสรุปความ

       ตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือจํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นลงตัว

4. ครูยกตัวอยางบนกระดานพรอมกับเรียกนักเรียนออกมาแสดงวิธทํา      ี                   ทักษะการคิดวิเคราะห
    ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวประกอบของ 50, 70 และ 8                                       ทักษะการคิดคํานวณ
    ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวประกอบของ 3, 65 และ 10
    จากตัวอยางทังสอง ครูชี้แนะใหนักเรียนเห็นวาจํานวนนับทั้งหมดมี 1 เปนตัวประกอบ
                   ้
5. ครูถามนักเรียนวา ถา n และ d เปนจํานวนนับที่ d เปนตัวประกอบของ n แลวจํานวน     ทักษะการคิดวิเคราะห
นับ n÷d จะเปนตัวประกอบของ n ดวยหรือไม (เปน) ใหนักเรียนยกตัวอยางประกอบ
6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2
         ั
ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนคูและจํานวนคี่ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ)
1. ครูอธิบายย้ําวาจํานวนคูทงหมดจะมี 2 เปนตัวประกอบ จํานวนนับอืนที่ไมใชจานวนคู
                              ั้                                     ่        ํ
เรียกวา จํานวนคี่
2. ครูใหนักเรียนชวยกันหาตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
      กลุมที่ 1 2 (1, 2)              กลุมที่ 2 8 (1, 2, 4, 8)                      ทักษะการคิดสรุปความ
                  3 (1, 3)                       10 (1, 2, 5, 10)
                  7 (1, 7)
    ใหนกเรียนสังเกตความแตกตางของจํานวนทั้งสองกลุม แลวรวมกันสรุปวา จํานวนใน
           ั                                              
กลุมที่ 1 มีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 และตัวมันเอง
3. ครูบอกบทนิยามของจํานวนเฉพาะ ดังนี้                                                 ทักษะการคิดวิเคราะห
     บทนิยาม จํานวนนับจะเปนจํานวนเฉพาะก็ตอเมื่อ
                  1) จํานวนนับนั้นมีคามากกวา และ
                  2) จํานวนนับนั้นมีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 และตัวมันเอง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   6

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
4. เมื่อนักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนเฉพาะแลว ครูซักถามนักเรียนตอไปวา จาก     ทักษะการคิดวิเคราะห
ตัวประกอบของจํานวนนับในกลุมที่ 2 มีจํานวนเฉพาะหรือไม (ครูอาจเริ่มซักถามจาก
ตัวประกอบของ 8) จะไดวามี 2 ที่เปนจํานวนเฉพาะ จากตัวประกอบทังหมด 4 ตัวของ 8
                                                                   ้
เราจะเรียก 2 วา “ตัวประกอบเฉพาะ”
    ในทํานองเดียวกัน ครูซักถามตอไปวา ตัวประกอบของ 10 มีตัวประกอบเฉพาะหรือไม
(มีคือ 2, 5) และตัวประกอบของ 30 มีตัวประกอบเฉพาะหรือไม (มี)
5. เมื่อนักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะแลว ครูให
นักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4
6. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรม ดังนี้
            ั                                                                      ทักษะการคิดวิเคราะห
    ใหนกเรียนแตละคนบอกวาเลขที่ประจําตัวของตนเองเปนจํานวนเฉพาะหรือไม ถาไม
         ั
เปนใหบอกวาเลขที่ของตนเองมีตัวประกอบเฉพาะอะไรบาง
7. ครูมอบหมายใหนกเรียนชวยกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5
                      ั
ชั่วโมงที่ 3 (การแยกตัวประกอบ)
1. ครูเขียนจํานวนนับ 24 บนกระดาน พรอมซักถามนักเรียนวา นักเรียนสามารถแสดงใน       ทักษะการคิดวิเคราะห
รูปการคูณของตัวประกอบที่มากกวา 1 ตังแต 2 จํานวนขึ้นไปไดหรือไม
                                        ้
     (ได 24 = 4×6, 24 = 2×12, 24 = 2×2×2×3)
2. ครูแนะนําตอไปวา การเขียนจํานวนนับใดๆ ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ             ทักษะการคิดแปลความ
เรียกวา “การแยกตัวประกอบ” ดังนั้น เราสามารถแยกตัวประกอบของ 24 ไดดังนี้
     24 = 2×2×2×3
     ครูใหขอสังเกตวาการเขียน 24 = 4×6, 24 = 2×12 ไมใชการแยกตัวประกอบของ 24
เนื่องจาก 4, 6, 12 ไมใชตัวประกอบเฉพาะ
3. ครูสรุปความหมายของการแยกตัวประกอบ ดังนี้                                        ทักษะการคิดสรุปความ
      การแยกตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือการเขียนจํานวนนับนั้นใหอยูใน
      รูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ

4. เมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูยกตัวอยางการแยกตัวประกอบโดยกําหนดจํานวนที่มีคาไม
                                                                                  ทักษะการคิดแปลความ
มากบนกระดาน เชน จงแยกตัวประกอบของ 36
   วิธีทํา                   36 = 2 × 18
                             36 = 4 × 9
                             36 = 2 × 2 × 3 × 3
                                      จํานวนเฉพาะ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                    7

                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
    ครูพยายามแนะใหนักเรียนสังเกตถึงผลการคูณของตัวประกอบเฉพาะ
5. ครูใชคาถามกระตุนใหนกเรียนคิดวา ถาในกรณีที่ตองแยกตัวประกอบของจํานวนนับที่
          ํ                     ั                                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
มีคามากๆ จะใชวิธีการใดบาง
6. ครูเสนอแนะใหนกเรียนทราบวา เราสามารถใชวิธหารสั้น โดยนําจํานวนเฉพาะมาหาร
                       ั                             ี                              ทักษะการคิดแปลความ
ได และตองหารจนกระทั่งไดผลหารเห็นจํานวนเฉพาะ
7. ครูยกตัวอยางใหนกเรียนสังเกต ดังนี้
                         ั                                                          ทักษะการคิดวิเคราะห
   ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของ 160                                                   ทักษะการคิดคํานวณ
               ใชวิธีการตั้งหาร (นําจํานวนเฉพาะมาหาร)
                  2 ) 160
                   2 ) 80
                   2 ) 40
                   2 ) 20
                   2 ) 10
                           5
         ดังนั้น 160 = 2×2×2×2×2×5
   ครูแนะนําเพิมเติมวา สามารถใชแผนภาพชวยในการแยกตัวประกอบได ดังนี้
                ่
                                          160
                                       2      80
                                  2        2      40
                                2      2      2        20
                              2   2        2       2       10
                    2           2      2      2         2     5
         ดังนั้น 160 = 2×2×2×2×2×5
8. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 5-9 ในหนังสือเรียนเพิมเติม และทํากิจกรรมตรวจสอบ
                                                         ่
ความเขาใจ 6 ภายในชัวโมงเรียน
                            ่
9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                             8

   5.3 ขั้นสรุป
       ชั่วโมงที่ 1 (ตัวประกอบของจํานวนนับ)
       ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องตัวประกอบของจํานวนนับ โดยครูใชการซักถามทบทวนความเขาใจของ
นักเรียน
       ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ)
       1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทนิยามของจํานวนเฉพาะ
       2. ครูใชคําถามถามประกอบความเขาใจเรื่องตัวประกอบเฉพาะอีกครั้ง
       3. เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4
       ชั่วโมงที่ 3 (การแยกตัวประกอบ)
       1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการแยกตัวประกอบวามีกี่วิธี อะไรบาง
       2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1
                              ้
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ใหนกเรียนแบงกลุมสรางโจทยเกียวกับการแยกตัวประกอบของจํานวนนับกลุมละ 5 ขอ โดยตองเปน
                ั                        ่
จํานวนที่ไมซากัน ้ํ
        ขั้นวิเคราะห
        ใหนกเรียนหาตัวประกอบของจํานวนที่กําหนดขึ้น และบอกดวยวาเปนจํานวนเฉพาะหรือไม แลวนํามา
              ั
แยกตัวประกอบ
        ขั้นสรุป
        ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละกลุม พรอมใหคําแนะนําแลวใหหวหนาหองหรือตัวแทนของหอง
                                                                          ั
รวบรวมงานทังหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
                     ้
        ขั้นประยุกตใช
        ครูใหนักเรียนคัดเลือกโจทยที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการแยกตัวประกอบจํานวนเฉพาะ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   9

    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการการเรียนกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยการกําหนดภาระงาน
ใหนกเรียนแบงกลุมชวยกันแตงกลอนเกี่ยวกับเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบเพื่อประกวด
     ั
ชิงรางวัล

                   ภาระงาน “เขียนกลอนเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ”

ผลการเรียนรู              ใชกระบวนการเขียนกลอนสือความหมายของตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยก
                                                      ่
                           ตัวประกอบ
ผลงานที่ตองการ            กลอนเกี่ยวกับตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ
ขั้นตอนการทํางาน           1. ศึกษาวิธการเขียนกลอนแบบตาง ๆ
                                        ี
                           2. ศึกษาเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ
                           3. แตงกลอนเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ
                           4. ใหนกเรียนแลกเปลี่ยนผลงานกับเพื่อนกลุมอื่นรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
                                   ั
                           5. คัดเลือกกลอนที่นักเรียนแตงไดไพเราะและสื่อความหมายไดครบถวนติดปายนิเทศ
เกณฑการประเมิน            1. ความถูกตอง
                           2. ความไพเราะของกลอน
                           3. การใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                           10

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                                                                           

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                      11

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคําถาม
การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
            
ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                             ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                              ดีมาก               ดี          ปานกลาง                 นอย              นอยมาก
 การวางแผนการทํางาน
 การกําหนดการปฏิบัตงานมีขั้นตอนชัดเจน
                   ิ
 การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
 ความคิดสรางสรรค
 ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                    12

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                                           เรื่อง ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.)
                                                    เวลา 5 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        มีความรูความเขาใจในเรื่องของตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.)
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) หา ห.ร.ม. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีการหาตัวประกอบได
                                   ่
        2) หา ห.ร.ม. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีแยกตัวประกอบได
                                     ่
        3) หา ห.ร.ม. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยใชขั้นตอนวิธีของยุคลิดได
                                       ่
        4) สามารถนําความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. ไปใชแกโจทยปญหาได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ
       2) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ
       3) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหาร
       4) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด
       5) โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม.
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสือสาร สื่อความหมาย
                    ่
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน/ชินงาน
                 ้
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7-10 และแบบฝกหัด 2
        2) ผลงานจาการทํากิจกรรมกลุม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                  13

     3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
         1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
         2) เลือกหัวหนากลุม
         3) หัวหนากลุมแบงงาน
         4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
         5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
         6) สงงาน
     3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
         1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
     3.4 ความรูความเขาใจ
         นักเรียนเขาใจความหมายของตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) และรูวิธีหา ห.ร.ม. ของจํานวนที่กําหนดใหดวย
วิธการตางๆ
   ี

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
          
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู
                                ่
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ)
       1. ครูทบทวนความรูเรื่องจํานวนเฉพาะและการแยกตัวประกอบ โดยการซักถามนักเรียน
       2. ครูนําแผนปญหาติดบนกระดาน พรอมกับใหนกเรียนอานพรอมกัน ดังนี้
                                                      ั

           นายกุกไกมีมะมวง 8 ผล สม 16 ผล และมังคุด 20 ผล ตองการจัดผลไมทั้งสามชนิดเปนกอง
           กองละเทาๆ กัน ใหไดจํานวนผลไมในแตละกองมากที่สุด โดยผลไมแตละชนิดไมปะปนกัน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                         14

      3. ครูนํากระดาษรูปผลไมติดตามจํานวนที่เขียนบอกบนแผนปญหา จากนั้นใหนักเรียนสงตัวแทนออกมา
ชวยนายกุกไกจัดผลไมในครังนี้
                             ้
      4. เมื่อนักเรียนออกมาฝกลองผิดลองถูกจนแสดงวิธีจดผลไมไดตามที่ตองการแลว ครูจึงเขาสูบทเรียน
                                                           ั            
       ชั่วโมงที่ 2 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธแยกตัวประกอบ)
                                         ี
      1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยทบทวนความรูเรื่องการแยกตัวประกอบ พรอมยกตัวอยางประกอบ ดังนี้
             ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของ 30 และ 42
                    เนื่องจาก      30 = 2×3×5
                                   42 = 2×3×7
      2. ครูใชคําถามถามนักเรียนเพือกระตุนใหคดวา นักเรียนหา ห.ร.ม. ของ 30 และ 42 โดยวิธหาตัวประกอบที่
                                     ่            ิ                                       ี
เรียนมาแลวไดหรือไม (ได) ห.ร.ม. ของจํานวนนั้นคืออะไร (6)
       3. ครูใหนักเรียนออกมาแสดงวิธีการหาคําตอบ เมื่อไดคําตอบแลวครูชี้แนะใหสังเกตพรอมใชคําถามถามวา
สามารถหา ห.ร.ม. จากการแยกตัวประกอบไดหรือไม (ได)
       ชั่วโมงที่ 3 การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารและวิธีของยุคลิด
       1. ครูนาเขาสูบทเรียนโดยเลาประวัติของยุคลิดยอๆ ดังนี้
                 ํ

                                                 ประวัติของยุคลิด
                 ยุคลิดเปนนักคณิตศาสตรที่รูจักกันดี เกิดที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปตเมื่อราว 365 ป
          กอนคริสตกาล สิ่งที่สรางชื่อเสียงใหกับเขาคือผลงานเรื่อง The elements โดยผลงานนี้จะแบงออกเปน
          13 เลม ใน 6 เลมแรกเปนผลงานเกี่ยวกับเรขาคณิต เลม 7, 8 และ 9 เปนเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎี
          ตัวเลข เลม 10 เปนเรื่องราวที่วาดวยจํานวนอตรรกยะ เลม 11, 12 และ 13 เปนเรื่องราวเกี่ยวกับรูป
          เรขาคณิตทรงตัน อยางไรก็ตามผลงานของเขาไดถูกนํามาตีพิมพอยางแพรหลายนับครั้งไมถวน

       2. ครูเสนอแนะวา นอกจากการหา ห.ร.ม.โดยวิธีหาตัวประกอบและวิธแยกตัวประกอบแลวยังมีอก 2 วิธี คือ
                                                                        ี                       ี
การตั้งหาร และวิธของยุคลิด
                    ี
       ชั่วโมงที่ 4 (ทําแบบฝกหัด 2)
       ครูทบทวนนักเรียนโดยการซักถามถึงขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีตางๆ จากนั้นรวมกันเฉลยกิจกรรม
ตรวจสอบการเขาใจ 9 และ 10
       ชั่วโมงที่ 5 (โจทยปญหา ห.ร.ม.)
       1. ครูถามนักเรียนวามีเชือกฟางสามขดยาว 24, 40 และ 56 เมตร ถาตองการตัดเปนเสนสันๆ โดยแตละเสน
                                                                                        ้
ยาวเทากันและยาวมากที่สุดโดยไมใหเหลือเศษ จะตองตัดเชือกฟางยาวเสนละกี่เมตร และตัดไดก่เี สน
       2. ครูใชคําถามถามนักเรียนวาจากโจทยปญหาดังกลาว สามารถใชความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. มาแกปญหาได
                                                                                                   
หรือไม (ได)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                 15

   5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีหาตัวประกอบ)
1. ครูชี้แนะใหนักเรียนรวมกันคิด โดยใหนกเรียนชวยกันหาตัวประกอบของ 8, 16 และ
                                            ั                                        ทักษะการคิดวิเคราะห
20 ดังนี้
    ตัวประกอบของ 8 ไดแก 1, 2, 4, 8
    ตัวประกอบของ 16 ไดแก 1, 2, 4, 8, 16
    ตัวประกอบของ 20 ไดแก 1, 2, 4, 5, 10, 20
2. ครูใชคําถามถามนักเรียนวา จากการแยกตัวประกอบของ 8, 16 และ 20 สังเกตได           ทักษะการคิดวิเคราะห
หรือไมวาทั้งสามจํานวนนั้นมีตัวประกอบที่เหมือนกันหรือไม (มีคอ 1, 2, 4)
                                                                ื
3. ครูแนะนํานักเรียนวา 1, 2, 4 เรียกวาตัวประกอบรวมของ 8, 16 และ 20                ทักษะการคิดแปลความ
4. ครูใชคําถามถามนักเรียนวาตัวประกอบรวมตัวใดมีคามากที่สด (4) และครูให
                                                             ุ                       ทักษะการคิดแปลความ
คําแนะนําตอไปวา เราจะเรียก 4 วา “ตัวหารรวมมาก” หรือเขียนแทนดวย ห.ร.ม. ของ 8,
16 และ 20
5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของ ห.ร.ม. ดังนี้                                ทักษะการคิดสรุปความ

    ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึนไป คือตัวประกอบรวมที่มากที่สด
                                         ้                             ุ
    ของจํานวนนับเหลานั้น
6. ครูแนะนํานักเรียนวา การหา ห.ร.ม. มีหลายวิธี โดยวิธที่นักเรียนไดเรียนไปแลวนัน
                                                          ี                      ้   ทักษะการคิดแปลความ
เรียกวา การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ
7. ครูยกตัวอยางใหนกเรียนชวยกันคิดหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ
                       ั                                                             ทักษะการคิดวิเคราะห
    ตัวอยางที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 12 และ 20                                          ทักษะการคิดคํานวณ
    วิธทํา ตัวประกอบของ 12 ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 12
         ี
                ตัวประกอบของ 20 ไดแก 1, 2, 4, 5, 10, 20
                ตัวประกอบรวมของ 12 และ 20 ไดแก 1, 2, 4
    ตอบ         ห.ร.ม. ของ 12 และ 20 คือ 4
    ตัวอยางที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 15, 24 และ 60
    วิธทํา ตัวประกอบของ 15 ไดแก 1, 3, 5, 15
       ี
               ตัวประกอบของ 24 ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24
               ตัวประกอบของ 60 ไดแก 1, 2, 3, 4, 5, 6, 10, 12, 15, 20, 30, 60
               ตัวประกอบรวมของ 15, 24 และ 60 ไดแก 1, 3
    ตอบ ห.ร.ม. ของ 15, 24 และ 60 คือ 3
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                    16

                                   กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
8. เมื่อนักเรียนเกิดความเขาใจแลว ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 ขอ
                                            ั
1-5 ในชัวโมงเรียน และขอ 6-10 เปนการบาน
           ่
ชั่วโมงที่ 2 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธแยกตัวประกอบ)
                                     ี
1. ครูชี้แนะใหนักเรียนสังเกตการแยกตัวประกอบและผลของการหา ห.ร.ม. โดยวิธีการ             ทักษะการคิดวิเคราะห
หาตัวประกอบวามีความสัมพันธกันอยางไร
2. ครูชี้แนะจนนักเรียนมองเห็นความสัมพันธ จากนันครูสรางตัวอยางบนกระดานพรอม
                                                    ้                                   ทักษะการคิดวิเคราะห
กับแสดงวิธีการคิดบนกระดาน ดังนี้                                                        ทักษะการคิดคํานวณ
    ตัวอยางที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 18 และ 40 โดยวิธีแยกตัวประกอบ
    วิธีทํา                18 = 2 × 3 × 3
                           40 = 2 × 2 × 2 × 5
                   จะไดวา 2 เปนตัวประกอบรวมที่มากที่สุด
    ตอบ ห.ร.ม. ของ 18 และ 40 คือ 2
    ตัวอยางที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 โดยวิธีแยกตัวประกอบ
    วิธีทํา                42 = 2 × 3 × 7
                           60 = 2 × 2 × 3 × 5
                           90 = 2 × 3 × 3 × 5
                   จะได 2×3 = 6 เปนตัวประกอบรวมที่มากที่สุด
    ตอบ ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 คือ 6
3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 ในชัวโมงเรียน พรอมเฉลยตอนทาย
                                                           ่
ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 3 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารและวิธีของยุคลิด)
1. ครูสรางโจทยบนกระดานดังนี้
    จงหา ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90
2. ครูใหนักเรียนชวยกันหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบและวิธีแยกตัวประกอบ              ทักษะการคิดวิเคราะห
    เปรียบเทียบผลที่ได
3. ครูอธิบายขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารดังนี้                                    ทักษะการคิดแปลความ
    1) นําจํานวนทีจะหา ห.ร.ม. มาเขียนเรียงกันในแถวแรก
                    ่
    2) หาจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนที่หา ห.ร.ม. ไดลงตัวทุกจํานวนมาเปน
ตัวหารโดยวิธหารสั้น ผลลัพธที่ไดนํามาเขียนเรียงกันในแถวที่สอง ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จน
                 ี
ไมสามารถหาจํานวนเฉพาะใดมาหารไดลงตัวทุกจํานวน แลวจะไดวาผลคูณของจํานวน
เฉพาะที่เปนตัวหารคือ ห.ร.ม. ของจํานวนนับที่กําหนด
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                               17

                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
4. ครูแสดงวิธีการหารพรอมกับอธิบาย ดังนี้                                             ทักษะการคิดแปลความ
                   2) 42 60 90
                   3) 21 30 45
                       7 10 15
      ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา 7, 10 และ 15 ไมมีจํานวนเฉพาะใดที่สามารถหารทั้งสาม
จํานวนไดลงตัว ดังนัน ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 คือ 2×3 หรือ 6
                        ้
5. ครูสรางโจทยเพิ่มเติมบนกระดานอีก 2-3 ขอ เพื่อฝกใหนักเรียนมีความชํานาญเพิ่มขึน้
6. ครูอธิบายขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด ดังนี้                               ทักษะการคิดแปลความ
   (ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา โดยวิธีของยุคลิดนี้สามารถหาไดครั้งละ 2 จํานวนเทานั้น   ทักษะการคิดคํานวณ
และประโยชนของการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิดคือสามารถหาจากจํานวนที่มีคามากๆ
ได)
ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 754 และ 1,976
     ขั้นที่ 1 เขียนจํานวนนับที่จะหา ห.ร.ม. เรียงกัน ดังนี้

                                754 1976

     ขั้นที่ 2 นําจํานวนนับที่นอยกวาไปหารจํานวนนับที่มากกวา
     (คือนํา 754 ไปหาร 1,976 ได 2 เศษ 468)

                                754 1976 2
                                    1508
                                     468

     ขั้นที่ 3 นําเศษที่ไดจากขันที่ 2 (468) ไปหารจํานวนนับตัวแรก (754)ได 1 เศษ 286
                                ้

                            1 754 1976 2
                              468 1508
                              286 468

    ขั้นที่ 4 นําเศษที่ไดจากขั้นที่ 3 (286) ไปหารจํานวนทางขวามือ (468) และทําเชนนี้
ไปเรื่อยๆ จนหารไมลงตัวหรือเศษเปน 0
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                   18

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ

                            1 754       1976     2
                              468       1908
                            1 286        468     1
                              182        286
                            1 104        182     1
                               78        104
                               26         78     3
                                          78
                                           0
7. ครูสรุปผลการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด ดังนี้                                         ทักษะการคิดสรุปความ
    จากขั้นตอนการหารขางตน จะเห็นวา 26 หาร 78 ลงตัว ไดเศษเทากับ 0 และ
นอกจากนั้น 26 ยังหาร 104, 286 และ 754 ลงตัว และยังหาร 182, 468 และ 1,976 ลงตัว
อีกดวย จะไดวา ห.ร.ม. ของจํานวนทั้งสองคือ จํานวนนับตัวสุดทายทีนาไปหารแลวได
                                                                    ่ ํ
เศษ 0 หรือหารแลวลงตัว ในที่นี้คือ 26
8. เมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูทบทวนขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิดอีกครั้งหนึ่ง
พรอมกับเสนอตัวอยาง โดยใหแตละคนทําดวยตนเองเพือตรวจสอบความเขาใจ
                                                         ่
9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 และ 10 เปนการบาน
ชั่วโมงที่ 4 (ทําแบบฝกหัด 2)
1. ครูใหนักเรียนแตละคนทําแบบฝกหัด 2 ขอที่ 1 ขอยอย 1-8 ภายในชัวโมงเรียน โดยอาจ
                                                                     ่
สั่งเพิ่มเติมวาใน 1 ขอยอย ตองแสดงวิธคิด 2 วิธี โดยทุกขอตองแสดงวิธีของยุคลิดและวิธี
                                        ี
ใดก็ไดอก 1 วิธี สลับกันไปในแตละขอ
           ี
2. ตอนทายชัวโมงครูและนักเรียนชวยเฉลยคําตอบ
                ่
ชั่วโมงที่ 5 (โจทยปญหา ห.ร.ม.)
                      
1. ครูแสดงการหา ห.ร.ม. โดยการตั้งหาร ดังนี้                                              ทักษะการคิดวิเคราะห
                  8) 24 40 56                                                            ทักษะการคิดคํานวณ
                      3 5 7
    ครูถามนักเรียนวา ห.ร.ม. ของ 24, 40 และ 56 เทากับเทาใด (8)
    นั่นคือ ตองตัดเชือกเปนเสนสั้นๆ ยาวเสนละ 8 เมตร
    โดยเชือกฟางขดแรกตัดได 3 เสน
    โดยเชือกฟางขดที่สองตัดได 5 เสน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                      19

                                    กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
    โดยเชือกฟางขดที่สามตัดได 7 เสน
    ดังนั้น ตัดเชือกฟางไดท้งหมด 3 + 5 +7 = 15 เสน
                              ั
2. ครูใหนกเรียนศึกษาตัวอยางการแกโจทยปญหาเกียวกับ ห.ร.ม. ในหนังสือเรียนหัวขอ
            ั                                        ่
ที่ 2.5 โดยอธิบายซ้ําใหนักเรียนเห็นประโยชนของการนํา ห.ร.ม. มาใชแกปญหา
3. ครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 6 กลุม แตละกลุมแสดงวิธีการหาคําตอบจากแบบฝกหัด      ทักษะการคิดวิเคราะห
2 (โจทยปญหา) โดยแตละกลุมทําโจทยดังนี้                                            ทักษะการคิดคํานวณ
         กลุมที่ 1 ทําขอ 2, 8, 5
         กลุมที่ 2 ทําขอ 3, 9, 6
         กลุมที่ 3 ทําขอ 4, 10, 7
         กลุมที่ 4 ทําขอ 5, 2, 8
         กลุมที่ 5 ทําขอ 6, 3, 9
         กลุมที่ 6 ทําขอ 7, 4, 10
4. ครูใหแตละกลุมใชเวลาในการคิดกลุมละ 25 นาที
5. เมื่อหมดเวลาใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาแสดงวิธีการคิดบนกระดานดํา ครูและ
นักเรียนอภิปรายวิธีการแกปญหาและคําตอบรวมกัน
                                

     5.3 ขั้นสรุป
         ชั่วโมงที่ 1 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธการหาตัวประกอบ)
                                          ี
         1. ครูและนักเรียนสรุปความหมายของ ห.ร.ม. และวิธีการหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวประกอบ
         2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 ขอ 1-5 ในชั้นเรียน
         ชั่วโมงที่ 2 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ)
         1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปถึงขั้นตอนการหา ห.ร.ม โดยวิธีแยกตัวประกอบ
         2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 โดยพรอมเพรียงกัน
         ชั่วโมงที่ 3 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารและวิธีของยุคลิด)
         1. ครูใชคําถามเพื่อแนะแนวทางใหนกเรียนชวยกันสรุปถึงหลักการหา ห.ร.ม. โดยการตั้งหารและวิธีของ
                                               ั
ยุคลิดอีกครั้งหนึ่ง
         2. ครูมอบหมายใหนักเรียนกลับไปทบทวนขันตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด
                                                     ้
         ชั่วโมงที่ 4 (ทําแบบฝกหัด 2)
         1. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยแบบฝกหัด 2
         2. ในแตละขอนักเรียนตองแสดงวิธีหา 2 วิธี โดยมีวิธีของยุคลิดเปนหลัก ครูควรแสดงใหเห็นขอแตกตาง
ของการหาแตละวิธี โดยครูใชคําถามสรุปเพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจยิ่งขึน้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                 20

        ชั่วโมงที่ 5 (โจทยปญหา ห.ร.ม.)
        1. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาอธิบายวิธีการแกโจทยปญหา ห.ร.ม.
        2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธการหา ห.ร.ม. ดวยวิธีตางๆ
                                         ี

6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1
                                ้
        - แผนแถบขั้นตอนการหา ห.ร.ม. ของยุคลิด
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
        - อินเทอรเน็ต (คนหาประวัตินักคณิตศาสตร “ยุคลิด”)

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ใหนกเรียนแบงกลุมสรางโจทยเกียวกับการหา ห.ร.ม. กลุมละ 5 ขอ โดยโจทยแตละขอแสดงวิธีหา
                 ั                       ่
 ห.ร.ม. 2 วิธี
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนกเรียนวิเคราะหวาโจทยแตละขอควรเลือกใชวิธีใดหา ห.ร.ม. จึงจะเหมาะสมและไดคําตอบที่รวดเร็ว
               ั
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละกลุม พรอมใหคําแนะนํา แลวใหหวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทํา
                                                                          ั
เปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ใหนกเรียนคัดเลือกโจทยที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการหา ห.ร.ม.
                   ั                
     7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                           21

8. บันทึกหลังการสอน

                                                               บันทึกหลังการสอน
                                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)
                                                                           

                   ประเด็นการบันทึก                                                           จุดเดน                                         จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน


บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

                                                                                                     ลงชื่อ .......................................................................
                                                                                                     ตําแหนง ..................................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                      22

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
     แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                               แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป ....................
 ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................

                                                                                                                ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                  ดี         พอใช                      ควรปรับปรุง
ความสนใจ
การตอบคําถาม
การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
            
ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย


    แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                                          แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ .......................

                                                                                                             ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                              ดีมาก               ดี          ปานกลาง                 นอย              นอยมาก
 การวางแผนการทํางาน
 การกําหนดการปฏิบัตงานมีขั้นตอนชัดเจน
                   ิ
 การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
 ความคิดสรางสรรค
 ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                           23

                                             แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
                                           เรื่อง ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.)
                                                    เวลา 5 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        มีความรูความเขาใจในเรื่องตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.)
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยดูจากการเปนตัวประกอบได
                                    ่
        2) หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีแยกตัวประกอบได
                                      ่
        3) หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีตั้งหารได
                                        ่
        4) แสดงความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนสองจํานวนได
        5) นําความรูเรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวของได
                                                            

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) การหา ค.ร.น. โดยวิธีดูจากการเปนตัวประกอบ
       2) การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ
       3) การหา ค.ร.น.โดยวิธีตั้งหาร
       4) โจทยปญหาเกี่ยวกับ ค.ร.น.
       5) ความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน
   2.2 ทักษะ/กระบวนการ
       1) ทักษะการใหเหตุผล
       2) ทักษะการสือสาร สื่อความหมาย
                    ่
       3) ทักษะการแกปญหา
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                 24

3. รองรอยการเรียนรู
     3.1 ผลงาน/ชินงาน
                   ้
         1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7-15 และแบบฝกหัด 3
         2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม
         3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “โจทยปญหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น ที่เปนภาษาอังกฤษ”
     3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ
         1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
         2) เลือกหัวหนากลุม
         3) หัวหนากลุมแบงงาน
         4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด
         5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
         6) สงงาน
     3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
         1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
     3.4 ความรูความเขาใจ
         นักเรียนเขาใจความหมายของตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) และรูวิธีหา ค.ร.น ของจํานวนที่กําหนดใหดวย
                                                                                                   
วิธการตางๆ
   ี

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑผานขั้นต่ํา
          
     1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
     2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
     3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
     ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1                                                      25

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู
                                  ่
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (การหา ค.ร.น. โดยดูจากการเปนตัวประกอบ)
       ครูทบทวนความหมายของตัวประกอบวา ตัวประกอบของจํานวนนับใด คือจํานวนนับที่หารจํานวน
นับนั้นลงตัว โดยใหนกเรียนชวยกันยกตัวอยาง เชน
                        ั
       3 เปนตัวประกอบของ 9 หมายความวา 3 หาร 9 ลงตัว
       5 เปนตัวประกอบของ 15 หมายความวา 5 หาร 15 ลงตัว
       7 เปนตัวประกอบของ 21 หมายความวา 7 หาร 21 ลงตัว
       ชั่วโมงที่ 2 (การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ)
       1. ครูทบทวนความหมายของการแยกตัวประกอบ ดังนี้
           การแยกตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือการเขียนจํานวนนับนั้นใหอยูในรูปของการคูณของ
ตัวประกอบเฉพาะ
       2. ครูใหนักเรียนแยกตัวประกอบของ 15 และ 21 ดังนี้
                   15 = 3×5
                   21 = 3×7
       ชั่วโมงที่ 3 (การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหาร)
       1. ครูทบทวนความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. วามีทั้งหมดกีวิธี จากนั้นพยายามใชคําถามเชื่อมโยงวาการหา
                                                            ่
ค.ร.น. กับ ห.ร.ม. ตางกันหรือไม อยางไร
       2. ครูเสนอแนะใหนักเรียนคิดวา มีวิธีการหารมาเปนตัวชวยในการหา ค.ร.น. หรือไม (มี)
       ชั่วโมงที่ 4 (โจทยปญหา)
                            
       1. ครูถามนักเรียนวา เราสามารถนํา ค.ร.น. มาใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง
       2. ครูนาแถบปญหาติดบนกระดาน พรอมทั้งซักถามนักเรียนวา มีวิธีการแกโจทยปญหาดังกลาวไดอยางไร
                 ํ
       ชั่วโมงที่ 5 (ความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. และโจทยปญหาระคน)
       ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนความหมายของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. และชวยกันบอกวาการหา ห.ร.ม. และ
ค.ร.น มีกี่วิธี อะไรบาง นักเรียนควรสรุปไดวาวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีการตั้งหารเปนวิธีที่สามารถใชหาไดทั้ง
ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Viewers also liked

Free englishgrammar
Free englishgrammarFree englishgrammar
Free englishgrammar
Dinesh Cidoc
 
Transition E Learning Presentation
Transition E Learning PresentationTransition E Learning Presentation
Transition E Learning Presentation
transitionelearning
 
รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55
รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55
รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55
Kruauem45
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555      ม.3 พื้นฐานข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555      ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
kurpoo
 
FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02) DEPARTMENT OF CHEM...
FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02)  DEPARTMENT OF CHEM...FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02)  DEPARTMENT OF CHEM...
FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02) DEPARTMENT OF CHEM...
Rana Farhan
 
Intro to Photoshop Basics
Intro to Photoshop BasicsIntro to Photoshop Basics
Intro to Photoshop Basics
Jay R
 
Jay Ramirez – UX Designer Portfolio
Jay Ramirez – UX Designer PortfolioJay Ramirez – UX Designer Portfolio
Jay Ramirez – UX Designer Portfolio
Jay R
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐานข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
kurpoo
 
English grammar-for-beginners
English grammar-for-beginnersEnglish grammar-for-beginners
English grammar-for-beginners
Dinesh Cidoc
 

Viewers also liked (17)

Free englishgrammar
Free englishgrammarFree englishgrammar
Free englishgrammar
 
Presente simple
Presente simplePresente simple
Presente simple
 
Transition E Learning Presentation
Transition E Learning PresentationTransition E Learning Presentation
Transition E Learning Presentation
 
Suomalaiset 2012
Suomalaiset 2012Suomalaiset 2012
Suomalaiset 2012
 
Medicare idaho
Medicare idahoMedicare idaho
Medicare idaho
 
Muse
MuseMuse
Muse
 
รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55
รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55
รายชื่อกิจกรรมชุมนุม เนิน 55
 
presente simple
presente simplepresente simple
presente simple
 
Suomalaiset ja verkkokauppa
Suomalaiset ja verkkokauppaSuomalaiset ja verkkokauppa
Suomalaiset ja verkkokauppa
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555      ม.3 พื้นฐานข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555      ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
 
Dlundi stoops
Dlundi stoopsDlundi stoops
Dlundi stoops
 
Cafe
CafeCafe
Cafe
 
FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02) DEPARTMENT OF CHEM...
FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02)  DEPARTMENT OF CHEM...FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02)  DEPARTMENT OF CHEM...
FIRE, Its CLASSES And FIRE by RANA FARHAN ALI (13ME-CH02) DEPARTMENT OF CHEM...
 
Intro to Photoshop Basics
Intro to Photoshop BasicsIntro to Photoshop Basics
Intro to Photoshop Basics
 
Jay Ramirez – UX Designer Portfolio
Jay Ramirez – UX Designer PortfolioJay Ramirez – UX Designer Portfolio
Jay Ramirez – UX Designer Portfolio
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐานข้อสอบกลางภาคเรียนที่  1   ปีการศึกษา  2555   ม.3 พื้นฐาน
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ม.3 พื้นฐาน
 
English grammar-for-beginners
English grammar-for-beginnersEnglish grammar-for-beginners
English grammar-for-beginners
 

Similar to Unit1

Similar to Unit1 (18)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Unit1

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง สมบัติของจํานวนนับ รายวิชาที่นามาบูรณาการ ํ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 1.4 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 1.4 ม.1/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 จํานวนนับ 3.2 การหารลงตัว 3.3 ตัวประกอบ 3.4 จํานวนคูและจํานวนคี่ 3.5 จํานวนเฉพาะ 3.6 ตัวประกอบเฉพาะ 3.7 การแยกตัวประกอบ 3.8 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช 3.9 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-15 และแบบฝกหัด 1-3 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชันเรียน ้ 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 2 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝกคิดตามและรวมทํากิจกรรมในชั้น ความเขาใจ 1-15 และ - แนะการทําแบบฝกหัดและ เรียน แบบฝกหัด 1-3 กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ - ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและ 2) การทํากิจกรรมกลุม - อธิบายสรุปความคิดรวบยอดใน แบบฝกหัด 3) การทํากิจกรรมบูรณาการ แตละเรื่อง - ทําแบบทดสอบหนวยยอยเปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบติกิจกรรมในชัน ั ้ - แนะนําวิธีการเขียนแผนผังสรุป - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรียนและการใชบริการ ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนือหา ้ ประจําหนวย หองสมุดของโรงเรียนอยาง ประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทยใน เหมาะสม - แนะนําใหนกเรียนใชบริการ ั หองสมุดโรงเรียนและหองสมุดกลุม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติ หองสมุดของโรงเรียนอยาง สาระการเรียนรูคณิตศาสตร กิจกรรมกลุม เหมาะสม - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครูมอบหมาย - แนะนําวิธการจัดกลุมและการทํา ี และชวยกันทํากิจกรรมในชันเรียน ้ กิจกรรมกลุม 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทําแบบทดสอบหลังเรียนจบ ทางการเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 3 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง จํานวนนับ เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู มีความรูความเขาใจในเรื่องของตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตัวประกอบ 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบายถึงความหมายของตัวประกอบ จํานวนคูและจํานวนคี่ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการ แยกตัวประกอบไดอยางถูกตอง 2) นําความรูเกี่ยวกับตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตัวประกอบไปใชในการ แกโจทยปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การหารลงตัว 2) ตัวประกอบ 3) จํานวนคูและจํานวนคี่ 4) จํานวนเฉพาะ 5) ตัวประกอบเฉพาะ 6) การแยกตัวประกอบ 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-6 และแบบฝกหัด 1 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “การเขียนกลอนเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัว ประกอบ”
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 4 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายของคําวา ตัวประกอบ จํานวนคูและจํานวนคี่ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตัวประกอบ 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู ่ 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (ตัวประกอบ) โดยครูทบทวนความรูเรื่องจํานวนนับวาจํานวนนับคืออะไร พรอมยกตัวอยางประกอบ ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ) ครูทบทวนความหมายของตัวประกอบ จากนั้นอธิบายเรื่องจํานวนคูและจํานวนคี่ โดยใหนักเรียนชวยกัน ยกตัวอยางประกอบ และนํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 มาอภิปรายตอนตนชัวโมง ่ ชั่วโมงที่ 3 (การแยกตัวประกอบ) 1. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 2. ครูทบทวนความหมายของจํานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะอีกครัง ้
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 5 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (ตัวประกอบ) 1. ครูยกตัวอยางการหารลงตัว แลวสรุปวา การหารลงตัวคือการหารที่หารแลวจะมีเศษ ทักษะการคิดสรุปความ เปนศูนย และใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 พรอมกันในชั้นเรียน ั 2. ครูใหนักเรียนชวยกันหาจํานวนนับทั้งหมดที่หาร 30 ลงตัว และจํานวนนับทั้งหมดที่ หาร 45 ลงตัว ครูเสนอแนะวาจํานวนนับทีหาร 30 ลงตัว เรียกวา ตัวประกอบของ 30 และ ่ จํานวนนับทีหาร 45 ลงตัว เรียกวา ตัวประกอบของ 45 ตามลําดับ ่ 3. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของตัวประกอบ ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ ตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือจํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นลงตัว 4. ครูยกตัวอยางบนกระดานพรอมกับเรียกนักเรียนออกมาแสดงวิธทํา ี ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางที่ 1 จงหาตัวประกอบของ 50, 70 และ 8 ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 2 จงหาตัวประกอบของ 3, 65 และ 10 จากตัวอยางทังสอง ครูชี้แนะใหนักเรียนเห็นวาจํานวนนับทั้งหมดมี 1 เปนตัวประกอบ ้ 5. ครูถามนักเรียนวา ถา n และ d เปนจํานวนนับที่ d เปนตัวประกอบของ n แลวจํานวน ทักษะการคิดวิเคราะห นับ n÷d จะเปนตัวประกอบของ n ดวยหรือไม (เปน) ใหนักเรียนยกตัวอยางประกอบ 6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 ั ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนคูและจํานวนคี่ จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ) 1. ครูอธิบายย้ําวาจํานวนคูทงหมดจะมี 2 เปนตัวประกอบ จํานวนนับอืนที่ไมใชจานวนคู ั้ ่ ํ เรียกวา จํานวนคี่ 2. ครูใหนักเรียนชวยกันหาตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห กลุมที่ 1 2 (1, 2) กลุมที่ 2 8 (1, 2, 4, 8) ทักษะการคิดสรุปความ 3 (1, 3) 10 (1, 2, 5, 10) 7 (1, 7) ใหนกเรียนสังเกตความแตกตางของจํานวนทั้งสองกลุม แลวรวมกันสรุปวา จํานวนใน ั  กลุมที่ 1 มีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 และตัวมันเอง 3. ครูบอกบทนิยามของจํานวนเฉพาะ ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห บทนิยาม จํานวนนับจะเปนจํานวนเฉพาะก็ตอเมื่อ 1) จํานวนนับนั้นมีคามากกวา และ 2) จํานวนนับนั้นมีตัวประกอบเพียง 2 ตัว คือ 1 และตัวมันเอง
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 6 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 4. เมื่อนักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนเฉพาะแลว ครูซักถามนักเรียนตอไปวา จาก ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวประกอบของจํานวนนับในกลุมที่ 2 มีจํานวนเฉพาะหรือไม (ครูอาจเริ่มซักถามจาก ตัวประกอบของ 8) จะไดวามี 2 ที่เปนจํานวนเฉพาะ จากตัวประกอบทังหมด 4 ตัวของ 8 ้ เราจะเรียก 2 วา “ตัวประกอบเฉพาะ” ในทํานองเดียวกัน ครูซักถามตอไปวา ตัวประกอบของ 10 มีตัวประกอบเฉพาะหรือไม (มีคือ 2, 5) และตัวประกอบของ 30 มีตัวประกอบเฉพาะหรือไม (มี) 5. เมื่อนักเรียนเขาใจความหมายของจํานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะแลว ครูให นักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 6. ครูใหนกเรียนทํากิจกรรม ดังนี้ ั ทักษะการคิดวิเคราะห ใหนกเรียนแตละคนบอกวาเลขที่ประจําตัวของตนเองเปนจํานวนเฉพาะหรือไม ถาไม ั เปนใหบอกวาเลขที่ของตนเองมีตัวประกอบเฉพาะอะไรบาง 7. ครูมอบหมายใหนกเรียนชวยกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ั ชั่วโมงที่ 3 (การแยกตัวประกอบ) 1. ครูเขียนจํานวนนับ 24 บนกระดาน พรอมซักถามนักเรียนวา นักเรียนสามารถแสดงใน ทักษะการคิดวิเคราะห รูปการคูณของตัวประกอบที่มากกวา 1 ตังแต 2 จํานวนขึ้นไปไดหรือไม ้ (ได 24 = 4×6, 24 = 2×12, 24 = 2×2×2×3) 2. ครูแนะนําตอไปวา การเขียนจํานวนนับใดๆ ในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ ทักษะการคิดแปลความ เรียกวา “การแยกตัวประกอบ” ดังนั้น เราสามารถแยกตัวประกอบของ 24 ไดดังนี้ 24 = 2×2×2×3 ครูใหขอสังเกตวาการเขียน 24 = 4×6, 24 = 2×12 ไมใชการแยกตัวประกอบของ 24 เนื่องจาก 4, 6, 12 ไมใชตัวประกอบเฉพาะ 3. ครูสรุปความหมายของการแยกตัวประกอบ ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ การแยกตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือการเขียนจํานวนนับนั้นใหอยูใน รูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ 4. เมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูยกตัวอยางการแยกตัวประกอบโดยกําหนดจํานวนที่มีคาไม  ทักษะการคิดแปลความ มากบนกระดาน เชน จงแยกตัวประกอบของ 36 วิธีทํา 36 = 2 × 18 36 = 4 × 9 36 = 2 × 2 × 3 × 3 จํานวนเฉพาะ
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 7 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูพยายามแนะใหนักเรียนสังเกตถึงผลการคูณของตัวประกอบเฉพาะ 5. ครูใชคาถามกระตุนใหนกเรียนคิดวา ถาในกรณีที่ตองแยกตัวประกอบของจํานวนนับที่ ํ ั ทักษะการคิดวิเคราะห มีคามากๆ จะใชวิธีการใดบาง 6. ครูเสนอแนะใหนกเรียนทราบวา เราสามารถใชวิธหารสั้น โดยนําจํานวนเฉพาะมาหาร ั ี ทักษะการคิดแปลความ ได และตองหารจนกระทั่งไดผลหารเห็นจํานวนเฉพาะ 7. ครูยกตัวอยางใหนกเรียนสังเกต ดังนี้ ั ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของ 160 ทักษะการคิดคํานวณ ใชวิธีการตั้งหาร (นําจํานวนเฉพาะมาหาร) 2 ) 160 2 ) 80 2 ) 40 2 ) 20 2 ) 10 5 ดังนั้น 160 = 2×2×2×2×2×5 ครูแนะนําเพิมเติมวา สามารถใชแผนภาพชวยในการแยกตัวประกอบได ดังนี้ ่ 160 2 80 2 2 40 2 2 2 20 2 2 2 2 10 2 2 2 2 2 5 ดังนั้น 160 = 2×2×2×2×2×5 8. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางที่ 5-9 ในหนังสือเรียนเพิมเติม และทํากิจกรรมตรวจสอบ ่ ความเขาใจ 6 ภายในชัวโมงเรียน ่ 9. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 8 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (ตัวประกอบของจํานวนนับ) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องตัวประกอบของจํานวนนับ โดยครูใชการซักถามทบทวนความเขาใจของ นักเรียน ชั่วโมงที่ 2 (จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทนิยามของจํานวนเฉพาะ 2. ครูใชคําถามถามประกอบความเขาใจเรื่องตัวประกอบเฉพาะอีกครั้ง 3. เฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 ชั่วโมงที่ 3 (การแยกตัวประกอบ) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธีการแยกตัวประกอบวามีกี่วิธี อะไรบาง 2. ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ้ 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ใหนกเรียนแบงกลุมสรางโจทยเกียวกับการแยกตัวประกอบของจํานวนนับกลุมละ 5 ขอ โดยตองเปน ั ่ จํานวนที่ไมซากัน ้ํ ขั้นวิเคราะห ใหนกเรียนหาตัวประกอบของจํานวนที่กําหนดขึ้น และบอกดวยวาเปนจํานวนเฉพาะหรือไม แลวนํามา ั แยกตัวประกอบ ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละกลุม พรอมใหคําแนะนําแลวใหหวหนาหองหรือตัวแทนของหอง ั รวบรวมงานทังหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ้ ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนคัดเลือกโจทยที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการแยกตัวประกอบจํานวนเฉพาะ
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 9 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการการเรียนกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยการกําหนดภาระงาน ใหนกเรียนแบงกลุมชวยกันแตงกลอนเกี่ยวกับเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบเพื่อประกวด ั ชิงรางวัล ภาระงาน “เขียนกลอนเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ” ผลการเรียนรู ใชกระบวนการเขียนกลอนสือความหมายของตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยก ่ ตัวประกอบ ผลงานที่ตองการ กลอนเกี่ยวกับตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ ขั้นตอนการทํางาน 1. ศึกษาวิธการเขียนกลอนแบบตาง ๆ ี 2. ศึกษาเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ 3. แตงกลอนเรื่องตัวประกอบ จํานวนเฉพาะ การแยกตัวประกอบ 4. ใหนกเรียนแลกเปลี่ยนผลงานกับเพื่อนกลุมอื่นรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ั 5. คัดเลือกกลอนที่นักเรียนแตงไดไพเราะและสื่อความหมายไดครบถวนติดปายนิเทศ เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตอง 2. ความไพเราะของกลอน 3. การใชคําไดถูกตองตามหลักภาษา
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 10 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)  ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 11 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัตงานมีขั้นตอนชัดเจน ิ การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 12 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) เวลา 5 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู มีความรูความเขาใจในเรื่องของตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) หา ห.ร.ม. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีการหาตัวประกอบได ่ 2) หา ห.ร.ม. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีแยกตัวประกอบได ่ 3) หา ห.ร.ม. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยใชขั้นตอนวิธีของยุคลิดได ่ 4) สามารถนําความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. ไปใชแกโจทยปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ 2) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ 3) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหาร 4) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด 5) โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสือสาร สื่อความหมาย ่ 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชินงาน ้ 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7-10 และแบบฝกหัด 2 2) ผลงานจาการทํากิจกรรมกลุม
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 13 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายของตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) และรูวิธีหา ห.ร.ม. ของจํานวนที่กําหนดใหดวย วิธการตางๆ ี 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา  1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู ่ 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ) 1. ครูทบทวนความรูเรื่องจํานวนเฉพาะและการแยกตัวประกอบ โดยการซักถามนักเรียน 2. ครูนําแผนปญหาติดบนกระดาน พรอมกับใหนกเรียนอานพรอมกัน ดังนี้ ั นายกุกไกมีมะมวง 8 ผล สม 16 ผล และมังคุด 20 ผล ตองการจัดผลไมทั้งสามชนิดเปนกอง กองละเทาๆ กัน ใหไดจํานวนผลไมในแตละกองมากที่สุด โดยผลไมแตละชนิดไมปะปนกัน
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 14 3. ครูนํากระดาษรูปผลไมติดตามจํานวนที่เขียนบอกบนแผนปญหา จากนั้นใหนักเรียนสงตัวแทนออกมา ชวยนายกุกไกจัดผลไมในครังนี้  ้ 4. เมื่อนักเรียนออกมาฝกลองผิดลองถูกจนแสดงวิธีจดผลไมไดตามที่ตองการแลว ครูจึงเขาสูบทเรียน ั  ชั่วโมงที่ 2 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธแยกตัวประกอบ) ี 1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยทบทวนความรูเรื่องการแยกตัวประกอบ พรอมยกตัวอยางประกอบ ดังนี้ ตัวอยาง จงแยกตัวประกอบของ 30 และ 42 เนื่องจาก 30 = 2×3×5 42 = 2×3×7 2. ครูใชคําถามถามนักเรียนเพือกระตุนใหคดวา นักเรียนหา ห.ร.ม. ของ 30 และ 42 โดยวิธหาตัวประกอบที่ ่ ิ ี เรียนมาแลวไดหรือไม (ได) ห.ร.ม. ของจํานวนนั้นคืออะไร (6) 3. ครูใหนักเรียนออกมาแสดงวิธีการหาคําตอบ เมื่อไดคําตอบแลวครูชี้แนะใหสังเกตพรอมใชคําถามถามวา สามารถหา ห.ร.ม. จากการแยกตัวประกอบไดหรือไม (ได) ชั่วโมงที่ 3 การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารและวิธีของยุคลิด 1. ครูนาเขาสูบทเรียนโดยเลาประวัติของยุคลิดยอๆ ดังนี้ ํ ประวัติของยุคลิด ยุคลิดเปนนักคณิตศาสตรที่รูจักกันดี เกิดที่เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปตเมื่อราว 365 ป กอนคริสตกาล สิ่งที่สรางชื่อเสียงใหกับเขาคือผลงานเรื่อง The elements โดยผลงานนี้จะแบงออกเปน 13 เลม ใน 6 เลมแรกเปนผลงานเกี่ยวกับเรขาคณิต เลม 7, 8 และ 9 เปนเรื่องราวเกี่ยวกับทฤษฎี ตัวเลข เลม 10 เปนเรื่องราวที่วาดวยจํานวนอตรรกยะ เลม 11, 12 และ 13 เปนเรื่องราวเกี่ยวกับรูป เรขาคณิตทรงตัน อยางไรก็ตามผลงานของเขาไดถูกนํามาตีพิมพอยางแพรหลายนับครั้งไมถวน 2. ครูเสนอแนะวา นอกจากการหา ห.ร.ม.โดยวิธีหาตัวประกอบและวิธแยกตัวประกอบแลวยังมีอก 2 วิธี คือ ี ี การตั้งหาร และวิธของยุคลิด ี ชั่วโมงที่ 4 (ทําแบบฝกหัด 2) ครูทบทวนนักเรียนโดยการซักถามถึงขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีตางๆ จากนั้นรวมกันเฉลยกิจกรรม ตรวจสอบการเขาใจ 9 และ 10 ชั่วโมงที่ 5 (โจทยปญหา ห.ร.ม.) 1. ครูถามนักเรียนวามีเชือกฟางสามขดยาว 24, 40 และ 56 เมตร ถาตองการตัดเปนเสนสันๆ โดยแตละเสน ้ ยาวเทากันและยาวมากที่สุดโดยไมใหเหลือเศษ จะตองตัดเชือกฟางยาวเสนละกี่เมตร และตัดไดก่เี สน 2. ครูใชคําถามถามนักเรียนวาจากโจทยปญหาดังกลาว สามารถใชความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. มาแกปญหาได  หรือไม (ได)
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 15 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีหาตัวประกอบ) 1. ครูชี้แนะใหนักเรียนรวมกันคิด โดยใหนกเรียนชวยกันหาตัวประกอบของ 8, 16 และ ั ทักษะการคิดวิเคราะห 20 ดังนี้ ตัวประกอบของ 8 ไดแก 1, 2, 4, 8 ตัวประกอบของ 16 ไดแก 1, 2, 4, 8, 16 ตัวประกอบของ 20 ไดแก 1, 2, 4, 5, 10, 20 2. ครูใชคําถามถามนักเรียนวา จากการแยกตัวประกอบของ 8, 16 และ 20 สังเกตได ทักษะการคิดวิเคราะห หรือไมวาทั้งสามจํานวนนั้นมีตัวประกอบที่เหมือนกันหรือไม (มีคอ 1, 2, 4) ื 3. ครูแนะนํานักเรียนวา 1, 2, 4 เรียกวาตัวประกอบรวมของ 8, 16 และ 20 ทักษะการคิดแปลความ 4. ครูใชคําถามถามนักเรียนวาตัวประกอบรวมตัวใดมีคามากที่สด (4) และครูให ุ ทักษะการคิดแปลความ คําแนะนําตอไปวา เราจะเรียก 4 วา “ตัวหารรวมมาก” หรือเขียนแทนดวย ห.ร.ม. ของ 8, 16 และ 20 5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของ ห.ร.ม. ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึนไป คือตัวประกอบรวมที่มากที่สด ้ ุ ของจํานวนนับเหลานั้น 6. ครูแนะนํานักเรียนวา การหา ห.ร.ม. มีหลายวิธี โดยวิธที่นักเรียนไดเรียนไปแลวนัน ี ้ ทักษะการคิดแปลความ เรียกวา การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ 7. ครูยกตัวอยางใหนกเรียนชวยกันคิดหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบ ั ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 12 และ 20 ทักษะการคิดคํานวณ วิธทํา ตัวประกอบของ 12 ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 12 ี ตัวประกอบของ 20 ไดแก 1, 2, 4, 5, 10, 20 ตัวประกอบรวมของ 12 และ 20 ไดแก 1, 2, 4 ตอบ ห.ร.ม. ของ 12 และ 20 คือ 4 ตัวอยางที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 15, 24 และ 60 วิธทํา ตัวประกอบของ 15 ไดแก 1, 3, 5, 15 ี ตัวประกอบของ 24 ไดแก 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24 ตัวประกอบของ 60 ไดแก 1, 2, 3, 4, 5, 6, 10, 12, 15, 20, 30, 60 ตัวประกอบรวมของ 15, 24 และ 60 ไดแก 1, 3 ตอบ ห.ร.ม. ของ 15, 24 และ 60 คือ 3
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 16 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 8. เมื่อนักเรียนเกิดความเขาใจแลว ครูใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 ขอ ั 1-5 ในชัวโมงเรียน และขอ 6-10 เปนการบาน ่ ชั่วโมงที่ 2 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธแยกตัวประกอบ) ี 1. ครูชี้แนะใหนักเรียนสังเกตการแยกตัวประกอบและผลของการหา ห.ร.ม. โดยวิธีการ ทักษะการคิดวิเคราะห หาตัวประกอบวามีความสัมพันธกันอยางไร 2. ครูชี้แนะจนนักเรียนมองเห็นความสัมพันธ จากนันครูสรางตัวอยางบนกระดานพรอม ้ ทักษะการคิดวิเคราะห กับแสดงวิธีการคิดบนกระดาน ดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 18 และ 40 โดยวิธีแยกตัวประกอบ วิธีทํา 18 = 2 × 3 × 3 40 = 2 × 2 × 2 × 5 จะไดวา 2 เปนตัวประกอบรวมที่มากที่สุด ตอบ ห.ร.ม. ของ 18 และ 40 คือ 2 ตัวอยางที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 โดยวิธีแยกตัวประกอบ วิธีทํา 42 = 2 × 3 × 7 60 = 2 × 2 × 3 × 5 90 = 2 × 3 × 3 × 5 จะได 2×3 = 6 เปนตัวประกอบรวมที่มากที่สุด ตอบ ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 คือ 6 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 ในชัวโมงเรียน พรอมเฉลยตอนทาย ่ ชั่วโมง ชั่วโมงที่ 3 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารและวิธีของยุคลิด) 1. ครูสรางโจทยบนกระดานดังนี้ จงหา ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 2. ครูใหนักเรียนชวยกันหา ห.ร.ม. โดยวิธีการหาตัวประกอบและวิธีแยกตัวประกอบ ทักษะการคิดวิเคราะห เปรียบเทียบผลที่ได 3. ครูอธิบายขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารดังนี้ ทักษะการคิดแปลความ 1) นําจํานวนทีจะหา ห.ร.ม. มาเขียนเรียงกันในแถวแรก ่ 2) หาจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนที่หา ห.ร.ม. ไดลงตัวทุกจํานวนมาเปน ตัวหารโดยวิธหารสั้น ผลลัพธที่ไดนํามาเขียนเรียงกันในแถวที่สอง ทําเชนนี้ไปเรื่อยๆ จน ี ไมสามารถหาจํานวนเฉพาะใดมาหารไดลงตัวทุกจํานวน แลวจะไดวาผลคูณของจํานวน เฉพาะที่เปนตัวหารคือ ห.ร.ม. ของจํานวนนับที่กําหนด
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 17 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 4. ครูแสดงวิธีการหารพรอมกับอธิบาย ดังนี้ ทักษะการคิดแปลความ 2) 42 60 90 3) 21 30 45 7 10 15 ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวา 7, 10 และ 15 ไมมีจํานวนเฉพาะใดที่สามารถหารทั้งสาม จํานวนไดลงตัว ดังนัน ห.ร.ม. ของ 42, 60 และ 90 คือ 2×3 หรือ 6 ้ 5. ครูสรางโจทยเพิ่มเติมบนกระดานอีก 2-3 ขอ เพื่อฝกใหนักเรียนมีความชํานาญเพิ่มขึน้ 6. ครูอธิบายขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด ดังนี้ ทักษะการคิดแปลความ (ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา โดยวิธีของยุคลิดนี้สามารถหาไดครั้งละ 2 จํานวนเทานั้น ทักษะการคิดคํานวณ และประโยชนของการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิดคือสามารถหาจากจํานวนที่มีคามากๆ ได) ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 754 และ 1,976 ขั้นที่ 1 เขียนจํานวนนับที่จะหา ห.ร.ม. เรียงกัน ดังนี้ 754 1976 ขั้นที่ 2 นําจํานวนนับที่นอยกวาไปหารจํานวนนับที่มากกวา (คือนํา 754 ไปหาร 1,976 ได 2 เศษ 468) 754 1976 2 1508 468 ขั้นที่ 3 นําเศษที่ไดจากขันที่ 2 (468) ไปหารจํานวนนับตัวแรก (754)ได 1 เศษ 286 ้ 1 754 1976 2 468 1508 286 468 ขั้นที่ 4 นําเศษที่ไดจากขั้นที่ 3 (286) ไปหารจํานวนทางขวามือ (468) และทําเชนนี้ ไปเรื่อยๆ จนหารไมลงตัวหรือเศษเปน 0
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 18 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1 754 1976 2 468 1908 1 286 468 1 182 286 1 104 182 1 78 104 26 78 3 78 0 7. ครูสรุปผลการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด ดังนี้ ทักษะการคิดสรุปความ จากขั้นตอนการหารขางตน จะเห็นวา 26 หาร 78 ลงตัว ไดเศษเทากับ 0 และ นอกจากนั้น 26 ยังหาร 104, 286 และ 754 ลงตัว และยังหาร 182, 468 และ 1,976 ลงตัว อีกดวย จะไดวา ห.ร.ม. ของจํานวนทั้งสองคือ จํานวนนับตัวสุดทายทีนาไปหารแลวได ่ ํ เศษ 0 หรือหารแลวลงตัว ในที่นี้คือ 26 8. เมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูทบทวนขั้นตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิดอีกครั้งหนึ่ง พรอมกับเสนอตัวอยาง โดยใหแตละคนทําดวยตนเองเพือตรวจสอบความเขาใจ ่ 9. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 และ 10 เปนการบาน ชั่วโมงที่ 4 (ทําแบบฝกหัด 2) 1. ครูใหนักเรียนแตละคนทําแบบฝกหัด 2 ขอที่ 1 ขอยอย 1-8 ภายในชัวโมงเรียน โดยอาจ ่ สั่งเพิ่มเติมวาใน 1 ขอยอย ตองแสดงวิธคิด 2 วิธี โดยทุกขอตองแสดงวิธีของยุคลิดและวิธี ี ใดก็ไดอก 1 วิธี สลับกันไปในแตละขอ ี 2. ตอนทายชัวโมงครูและนักเรียนชวยเฉลยคําตอบ ่ ชั่วโมงที่ 5 (โจทยปญหา ห.ร.ม.)  1. ครูแสดงการหา ห.ร.ม. โดยการตั้งหาร ดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 8) 24 40 56 ทักษะการคิดคํานวณ 3 5 7 ครูถามนักเรียนวา ห.ร.ม. ของ 24, 40 และ 56 เทากับเทาใด (8) นั่นคือ ตองตัดเชือกเปนเสนสั้นๆ ยาวเสนละ 8 เมตร โดยเชือกฟางขดแรกตัดได 3 เสน โดยเชือกฟางขดที่สองตัดได 5 เสน
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 19 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ โดยเชือกฟางขดที่สามตัดได 7 เสน ดังนั้น ตัดเชือกฟางไดท้งหมด 3 + 5 +7 = 15 เสน ั 2. ครูใหนกเรียนศึกษาตัวอยางการแกโจทยปญหาเกียวกับ ห.ร.ม. ในหนังสือเรียนหัวขอ ั ่ ที่ 2.5 โดยอธิบายซ้ําใหนักเรียนเห็นประโยชนของการนํา ห.ร.ม. มาใชแกปญหา 3. ครูแบงกลุมนักเรียนออกเปน 6 กลุม แตละกลุมแสดงวิธีการหาคําตอบจากแบบฝกหัด ทักษะการคิดวิเคราะห 2 (โจทยปญหา) โดยแตละกลุมทําโจทยดังนี้ ทักษะการคิดคํานวณ กลุมที่ 1 ทําขอ 2, 8, 5 กลุมที่ 2 ทําขอ 3, 9, 6 กลุมที่ 3 ทําขอ 4, 10, 7 กลุมที่ 4 ทําขอ 5, 2, 8 กลุมที่ 5 ทําขอ 6, 3, 9 กลุมที่ 6 ทําขอ 7, 4, 10 4. ครูใหแตละกลุมใชเวลาในการคิดกลุมละ 25 นาที 5. เมื่อหมดเวลาใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาแสดงวิธีการคิดบนกระดานดํา ครูและ นักเรียนอภิปรายวิธีการแกปญหาและคําตอบรวมกัน  5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธการหาตัวประกอบ) ี 1. ครูและนักเรียนสรุปความหมายของ ห.ร.ม. และวิธีการหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวประกอบ 2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 ขอ 1-5 ในชั้นเรียน ชั่วโมงที่ 2 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีแยกตัวประกอบ) 1. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปถึงขั้นตอนการหา ห.ร.ม โดยวิธีแยกตัวประกอบ 2. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 โดยพรอมเพรียงกัน ชั่วโมงที่ 3 (การหา ห.ร.ม. โดยวิธีตั้งหารและวิธีของยุคลิด) 1. ครูใชคําถามเพื่อแนะแนวทางใหนกเรียนชวยกันสรุปถึงหลักการหา ห.ร.ม. โดยการตั้งหารและวิธีของ ั ยุคลิดอีกครั้งหนึ่ง 2. ครูมอบหมายใหนักเรียนกลับไปทบทวนขันตอนการหา ห.ร.ม. โดยวิธีของยุคลิด ้ ชั่วโมงที่ 4 (ทําแบบฝกหัด 2) 1. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยแบบฝกหัด 2 2. ในแตละขอนักเรียนตองแสดงวิธีหา 2 วิธี โดยมีวิธีของยุคลิดเปนหลัก ครูควรแสดงใหเห็นขอแตกตาง ของการหาแตละวิธี โดยครูใชคําถามสรุปเพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจยิ่งขึน้
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 20 ชั่วโมงที่ 5 (โจทยปญหา ห.ร.ม.) 1. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมาอธิบายวิธีการแกโจทยปญหา ห.ร.ม. 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวิธการหา ห.ร.ม. ดวยวิธีตางๆ ี 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ้ - แผนแถบขั้นตอนการหา ห.ร.ม. ของยุคลิด 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - อินเทอรเน็ต (คนหาประวัตินักคณิตศาสตร “ยุคลิด”) 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ใหนกเรียนแบงกลุมสรางโจทยเกียวกับการหา ห.ร.ม. กลุมละ 5 ขอ โดยโจทยแตละขอแสดงวิธีหา ั ่ ห.ร.ม. 2 วิธี ขั้นวิเคราะห ใหนกเรียนวิเคราะหวาโจทยแตละขอควรเลือกใชวิธีใดหา ห.ร.ม. จึงจะเหมาะสมและไดคําตอบที่รวดเร็ว ั ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานของนักเรียนแตละกลุม พรอมใหคําแนะนํา แลวใหหวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมดจัดทํา ั เปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ใหนกเรียนคัดเลือกโจทยที่นาสนใจมาจัดบอรดใหความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. ั  7.2 กิจกรรมบูรณาการ -
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 21 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน)  ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................ ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ....................................................................... ตําแหนง ..................................................................
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 22 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ...................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................ ป .................... ครั้งที่ ............................................................... ผูสังเกต ............................................................................................ ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม ระดับชั้น.................................................. ประจําวันที่ ............................................................... กลุมที่ ....................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัตงานมีขั้นตอนชัดเจน ิ การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 23 แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) เวลา 5 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู มีความรูความเขาใจในเรื่องตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยดูจากการเปนตัวประกอบได ่ 2) หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีแยกตัวประกอบได ่ 3) หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดใหโดยวิธีตั้งหารได ่ 4) แสดงความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนสองจํานวนได 5) นําความรูเรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวของได  2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) การหา ค.ร.น. โดยวิธีดูจากการเปนตัวประกอบ 2) การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ 3) การหา ค.ร.น.โดยวิธีตั้งหาร 4) โจทยปญหาเกี่ยวกับ ค.ร.น. 5) ความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน 2.2 ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการใหเหตุผล 2) ทักษะการสือสาร สื่อความหมาย ่ 3) ทักษะการแกปญหา 2.3 ทักษะการคิด การคิดวิเคราะห การคิดแปลความ การคิดสรุปความ การคิดคํานวณ
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 24 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน/ชินงาน ้ 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7-15 และแบบฝกหัด 3 2) ผลงานจากการทํากิจกรรมกลุม 3) ผลงานจากการทํากิจกรรมบูรณาการ “โจทยปญหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น ที่เปนภาษาอังกฤษ” 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัด 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจความหมายของตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) และรูวิธีหา ค.ร.น ของจํานวนที่กําหนดใหดวย  วิธการตางๆ ี 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑผานขั้นต่ํา  1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1 ภาคเรียนที่ 1 25 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพือการเรียนรู ่ 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การหา ค.ร.น. โดยดูจากการเปนตัวประกอบ) ครูทบทวนความหมายของตัวประกอบวา ตัวประกอบของจํานวนนับใด คือจํานวนนับที่หารจํานวน นับนั้นลงตัว โดยใหนกเรียนชวยกันยกตัวอยาง เชน ั 3 เปนตัวประกอบของ 9 หมายความวา 3 หาร 9 ลงตัว 5 เปนตัวประกอบของ 15 หมายความวา 5 หาร 15 ลงตัว 7 เปนตัวประกอบของ 21 หมายความวา 7 หาร 21 ลงตัว ชั่วโมงที่ 2 (การหา ค.ร.น. โดยวิธีแยกตัวประกอบ) 1. ครูทบทวนความหมายของการแยกตัวประกอบ ดังนี้ การแยกตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือการเขียนจํานวนนับนั้นใหอยูในรูปของการคูณของ ตัวประกอบเฉพาะ 2. ครูใหนักเรียนแยกตัวประกอบของ 15 และ 21 ดังนี้ 15 = 3×5 21 = 3×7 ชั่วโมงที่ 3 (การหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหาร) 1. ครูทบทวนความรูเรื่องการหา ห.ร.ม. วามีทั้งหมดกีวิธี จากนั้นพยายามใชคําถามเชื่อมโยงวาการหา ่ ค.ร.น. กับ ห.ร.ม. ตางกันหรือไม อยางไร 2. ครูเสนอแนะใหนักเรียนคิดวา มีวิธีการหารมาเปนตัวชวยในการหา ค.ร.น. หรือไม (มี) ชั่วโมงที่ 4 (โจทยปญหา)  1. ครูถามนักเรียนวา เราสามารถนํา ค.ร.น. มาใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง 2. ครูนาแถบปญหาติดบนกระดาน พรอมทั้งซักถามนักเรียนวา มีวิธีการแกโจทยปญหาดังกลาวไดอยางไร ํ ชั่วโมงที่ 5 (ความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. และโจทยปญหาระคน) ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนความหมายของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. และชวยกันบอกวาการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น มีกี่วิธี อะไรบาง นักเรียนควรสรุปไดวาวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีการตั้งหารเปนวิธีที่สามารถใชหาไดทั้ง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.