SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                         1

                                          หนวยการเรียนรูที่ 1
                                       อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
     ศิลปะ ภาษาไทย
1. มาตรฐานการเรียนรูประจําหนวย
   มฐ. ค 4.2
2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   ค 4.2 ม.3/1
3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 ชวงและกราฟบนเสนจํานวน
   3.2 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
   3.3 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
   3.4 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
4. รองรอยการเรียนรู
    4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
          1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
          2) ผลจากการทําแบบฝกหัด
    4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
           1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการหองสมุดอยางเหมาะสม
           2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
    4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                2

5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม
                                                               แนวทางการจัดการเรียนรู
         รองรอยการเรียนรู
                                                      บทบาทครู                     บทบาทนักเรียน
  5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก
     1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจ -อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                      -ฝกคิดตาม และรวมทํากิจกรรมในชั้น
         สอบความเขาใจ                                                           เรียน
     2) ผลจากการทําแบบฝกหัด           -อธิ บ ายสรุ ป ความคิ ด รวบยอดใน         -ทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ
                                         แตละเรื่อง                             แตละเรื่อง
     3) ผลจากการทํ า แบบฝ ก หั ด -แนะนํ าการทํ าใบงานเป น ผู ชี้ แ นะ        -ใหนักเรียนแบงกลุม/เดี่ยวชวยกันทํา
         ระคน                            เมื่อนักเรียนขอความชวยเหลือ            แบบฝกหัด
  5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก
      1) การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมในชั้ น - แนะนํ าวิธีก ารเขี ยนแผนผั งความ       -ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง ความคิ ด
         เรียน                           คิดสรุปความคิดรวบยอดเพื่อสรุป           ประจําหนวย
                                         เนื้อหาประจําหนวย                     -ให นั ก เรียนไปคน ควาโจทยในห อง
                                       - แนะนําใหนั กเรียนใชบริการห อง        สมุดโรงเรียน
                                         สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม
      2) การมี ส วน ร ว ม ใน การ - แนะนํ าวิธีการจัดกลุมและการทํา       -ให นั ก เรี ย นจั ด กล ุม ตามที่ ค รู ม อบ
         ปฏิบัติกิจกรรมกลุม             กิจกรรมกลุม                        หมายและชวยกันทํากิจกรรมในชั้น
                                                                             เรียน
   5.3 การทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ - สรุ ป เนื้ อ หาที่ สํ า คั ญ ตามแผนผั ง - ทําแบบทดสอบหลังจบหนวย
       ทางการเรียน                 ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก
                                   ครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2               3

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/1
                                       เรื่อง ชวงและการแกอสมการ
                                                เวลา 3 ชั่วโมง


1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) เขียนชวงและกราฟบนเสนจํานวนได
        2) บอกสมบัติของอสมการได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) เขียนชวงและกราฟของจํานวนใดๆ บนเสนจํานวนได
         2) บอกสมบัติของอสมการได
2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        ชวงและกราฟบนเสนจํานวน
   2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การแปลความ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 1 กิจกรรม
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันจัดทําใบกิจกรรมสํารวจความเขาใจ 1
       7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                             4

     3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
            1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
            2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
     3.4 ความรูความเขาใจ
          นักเรียนรูวิธีการเขียนชวงและกราฟบนเสนจํานวน
4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
     เกณฑขั้นต่ํา
     4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
     4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
     4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
     การสรุปผลการประเมิน
     ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
          ครูทบทวนความรูเรื่องจํานวนจริง โดยการสนทนาและซักถามกับนักเรียน เชน
                   (1) จํานวนใดบางที่เปนจํานวนจริงใหนักเรียนยกตัวอยาง
                   (2) เขียนจํานวนขึ้นมาแลวซักถามนักเรียนวาเปนจํานวนจริงหรือไม
          จากนั้นครูกลาววา สําหรับจํานวนจริงใดๆ ทุกจํานวนยกเวน 0 จะอยูในกลุมใดกลุมหนึ่งในสองกลุม คือ เปน
จํานวนจริงบวกหรือจํานวนจริงลบ
     5.2 ขั้นสอน
                                      กิจกรรมการเรียนการสอน                                                     ฝกการคิดแบบ
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูแ นะนํ านั ก เรี ย นว า ในการคิ ด เกี่ ย วกั บ สั ญ ลั ก ษณ < เรามั ก จะคิ ด สั ม พั น ธ กั บ เส น ทักษะการคิดวิเคราะห
จํานวน ซึ่งเมื่อกลาววา a < b จะหมายถึง a อยูทางซายของ b บนเสนจํานวน (ครูแสดงเสน ทักษะการแปลความ
จํานวนใหนักเรียนดูบนกระดาน)
2. ครูซักถามนักเรียนถึงสัญลักษณ < อานวาอยางไร (นอยกวา) และสัญลักษณ > อานวา
อยางไร (มากกวา) ครูแนะนํานักเรียนวา ถาเราทราบวา a < b แลวก็จะทราบวา b > a หรือ
ถาทราบวา 0 < b ก็จะทราบวา b > 0 หรือกลาววา b เปนจํานวนจริงบวก ซึ่งความสัมพันธ
a < b และ b > a เรียกวา อสมการ
3. ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นถึ งเครื่ อ งหมาย ≤ อ านว าอย า งไร (น อ ยกว าหรื อ เท ากั บ ) และ
สัญลักษณ ≥ อานวาอยางไร (มากกวาหรือเทากับ) ครูแนะนํานักเรียนวา ถาเราทราบวา
a ≤ b แลว b ≥ a
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                           5

                                        กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
4. ครูใหนักเรียนแขงกันเขียนประโยคที่เปนอสมการภายในเวลาที่กําหนด นักเรียนคนใด ทักษะการคิดวิเคราะห
เขียนไดมากที่สุด คนนั้นเปนผูชนะ ครูอาจใหรางวัลหรือคําชมเชย
ชั่วโมงที่ 2
1. ครูทบทวนเรื่องของลําดับของจํานวนจริงที่เรียนในชั่วโมงที่ 1 แลวครูให นักเรียน
พิจารณาขอความตอไปนี้และตอบคําถาม
                    สมสวยเตี้ยกวาสมศรี และสมศรีเตี้ยกวาสมทรง
    ให นั ก เรียนรวมกั น สรุปผลวา สมสวยเตี้ ยกวาสมทรงหรือไม (เตี้ยกวา) ครูก ล าววา
สมบัติลักษณะเดียวกันนี้และสมบัติอื่นๆ ของความสัมพันธนอยกวา
    ครู แ นะนํ าให นั ก เรีย นรู จั ก สมบั ติ 3 ข อ ที่ มี ค วามสํ าคั ญ ของอสมการ โดยเขี ย นบน
กระดานใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้
           สมบัติของอสมการ
                    (1) การถายทอด
                               ถา a < b และ b < c แลว a < c
                    (2) การบวก
                               ถา a < b แลว a+c < b+c
                    (3) การคูณ
                               ถา a < b และ c > 0 แลว ac < bc
                               ถา a < b และ c < 0 แลว ac > bc
    ครูใหนักเรียนลองยกตัวอยางจากสมบัติของอสมการ เชน
                    (1) 5 < 7 และ 7 < 8 แลว 5 < 8
                    (2) –3 < –2 แลว –3 X –2 > –2 X –2 เปนตน
    เพื่อเปนการตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนในเรื่องสมบัติของอสมการ หลังจากนั้น
ครูชี้แจงใหนักเรียนฟงและพิจารณาวา สมบัติขอ 2 และขอ 3 อาจจะแยกยอยตอไปเปน
สมบัติของการบวกกับสมบัติการลบ สมบัติการคูณ และสมบัติการหาร ครูใหนักเรียน
กลับไปยกตัวอยางสมบัติดังกลาวมาเปนการบานในชั่วโมงตอไป ครูตรวจสอบความถูก
ตองที่นักเรียนทํามา
ชั่วโมงที่ 3
1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา สัญลักษณ < และ > อธิบายชวงบนเสนจํานวนไดหรือ
ไม อยางไร ซึ่งจะไดวา สามารถนํามาเขียนบนเสนจํานวนได แลวใหนักเรียนชวยกันเขียน
ขอความตอไปนี้ลงบนเสนจํานวน โดยครูใหนักเรียนออกมาเขียนหนากระดานดําโดยครู
ยืนดู ถานักเรียนเขียนไมไดครูจึงชวยอธิบาย ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                  6

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
เขียน -2 < x ≤ 3 ซึ่งจะหมายถึง x มากกวา 22 และนอยกวาหรือเทากับ 3 ซึ่งเปนจํานวนทุก
จํานวนในชวงบนเสนจํานวนที่แสดงไดดังนี้
                         o
                          -2              3
    ครูอธิบายวา วงกลมเล็กที่อยูทางซาย บงชี้วา -2 ไมรวมอยูในชวงดังกลาว และจุดทึบ
ทางขวาบงชี้วา 3 รวมอยูในชวงดังกลาวดวย
    ครูแนะนํานักเรียนวา บางครั้งเราจะใชชวงแทนสัญกรณอสมการ เชน
                  ใชสัญกรณชวง (–2, 3] แทน –2 < x ≤ 3
2. ครูเขียน 5 < x < 3 หรือ 3 > x < 5 เปนไปไดหรือไม ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ซึ่งจะ
ไดวา เปนไปไมได กลาวคือ ไมมีจํานวนจริงใดที่มากกวา 5 แตนอยกวา 3 หรือกรณีที่สอง
ที่กลาววา x นอยกวา 3 และ x นอยกวา 5 ซึ่งควรเขียนเปน x < 3
    ครูใหนักเรียนเขียนสัญกรณอสมการ แลวนํามาเขียนบนเสนจํานวน และเขียนแทนดวย
สัญกรณชวง 10 ตัวอยาง แลวนํามาสงครู ครูตรวจสอบความถูกตอง ถานักเรียนเขียนยังไม
ไดครูอธิบายเพิ่มเติมจนกวานักเรียนจะเขียนได
3. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 3 คนชวยกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดย
ใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้นครูใหนักเรียนชวยกันออกมาเขียนเฉลยคําตอบบนกระดาน
โดยครูเปนผูแนะนํา
     5.3 ขั้นสรุป
           ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชวงและกราฟบนเสนจํานวน โดยเขียน
เปนแผนผังความคิด (Mind Mapping)
6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
     6.1 สื่อการเรียนรู
           กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1
     6.2 แหลงการเรียนรู
          1) หองสมุดโรงเรียน
          2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                    7

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห
       ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมไปคนควาเพิ่มเติมเรื่องอสมการ
       ขั้นวิเคราะห
        ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันสรุปความรูเรื่องอสมการ
       ขั้นสรุป
       ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันอาน
       ขั้นประยุกตใช
        ครูคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด 5 อันดับ ติดบอรดเพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน
   7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
            -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                      8

8. บันทึกหลังสอน
                                              บันทึกหลังสอน
                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน                            จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                      ลงชื่อ…………………………………..
                                                                      ตําแหนง.................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               9

9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 4)
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                      แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
     ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป………..
     ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต…………………………………………………………….

                                                                            ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                              ดีมาก      ดี       พอใช ควรปรับปรุง
          ความสนใจ
          การตอบคําถาม
          การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
          การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
          ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ
          ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
          คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย


   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่……………

                                                                         ระดับการประเมิน
                       หัวขอการประเมิน
                                                          ดีมาก       ดี   ปานกลาง นอย     นอยมาก
          การวางแผนการทํางาน
          การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
          การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
          ความคิดสรางสรรค
          ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                 10

                                          แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/2
                                     เรื่อง อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
                                              เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
         แกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
         นักเรียนสามารถแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
         อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
    2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ
3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 2
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) นักเรียนจัดทํา ใบกิจกรรมสํารวจความเขาใจ 2
        2) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        3) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนรูวิธีการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                  11

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
    เกณฑขั้นต่ํา
    4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
    4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
    4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
    การสรุปผลการประเมิน
    ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
        1) ครูใหนักชวยกันบอกนิยามของความหมายของอสมการเพื่อเปนการทบทวนสมบัติของอสมการ
        2) ครูยกตัวอยางขอความหลาย ๆ ขอความ แลวใหนักเรียนชวยกันเขียนสัญลักษณ เชน 7 มากกวา 3 (7 > 3)
        3) หลังจากนั้นครูยกตัวอยางสมการใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ เพื่อเปนการทบทวนความรูกอนจะไปหา
คําตอบของอสมการ เชน
                                    (1) 2x+ 3 = 5
                                    (2) 8x–12 = 20
    5.2 ขั้นสอน
                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                 ฝกการคิดแบบ
 1. ครูใหนักเรียนศึกษาปญหาของอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เชน                       ทักษะการคิดวิเคราะห
                                     (1) 2x+3 < 5                                   ทักษะการแปลความ
                                     (2) 3x+11< 6x–4
                                      (3) 24 < 3x+1 < 11
 2. ครูใหนักเรียนชวยกันหาคาของ x ในแตละขอจากโจทยในขั้นนํา และครูกลาววาคา
 ของจํานวนจริงใดๆ ที่ทําใหอสมการเปนจริง เชน จากอสมการ 2x+3 < 5 จะพบวา เมื่อ
 แทน x ดวยจํานวนจริงใดๆ ที่นอยกวา 1จะทําใหอสมการเปนจริง เชน แทน x ดวย 0 ครู
 แสดงใหนักเรียนดูบนกระดานดังนี้
                                         2x+3 < 5
                   แทน x ดวย 0 ใน 2x+3 < 5
                   จะได              2(0) + 3 < 5
                                             3 < 5 เปนจริง
                   แทน x ดวย 1 ใน 2x+3 < 5
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                     12


                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
                  จะได               2(1) + 3 < 5
                                             5 < 5 เปนเท็จ
                  แทน x ดวย 0.9 ใน 2x+3 < 5
                  จะได             2(0.9) + 3 < 5
                                           4.8 < 5 เปนจริง
    เราจะพบวา เมื่อแทนคา x ดวยจํานวนจริงใด ๆ ที่นอยกวา 1 จะทําใหอสมการเปนจริง
    ดังนั้น คําตอบหรือผลเฉลยของอสมการคือคาของตัวไมทราบคาที่สอดคลองกับ
 อสมการและชุดคําตอบ หรือเรียกวา เซตคําตอบประกอบดวยคําตอบทุกคําตอบ
 3. ครูยกตัวอยางการอธิบายสถานการณในชีวิตจริงดวยอสมการ โดยแสดงขอความบาง
 อยางที่สอดคลองกับสัญลักษณของอสมการที่อยูดานบนของตาราง                          ทักษะการคิดวิเคราะห

                <                   >              ≤                ≥
       1.นอยกวา         1. มากกวา       1. นอยกวาหรือ 1. มากกวาหรือ
       2.ไมถึง           2. เกินกวา      เทากับ         เทากับ
       3.ไมมากกวาและ 3.ไมนอยกวา       2. ไมมากกวา   2. ไมนอยกวา
       ไมเทากับ         และไมเทากับ
 4. ครูยกตัวอยางการหาคําตอบของอสมการอีก 2-3 ตัวอยาง
 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห
 ใหนักเรียนชวยกันออกมาเฉลยคําตอบบนกระดานโดยครูเปนผูชี้แนะ                     ทักษะการคิดคํานวณ
    5.3 ขั้นสรุป
         ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยเขียน
เปนแผนผังความคิด (Mind Mapping)
6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
    6.1 สื่อการเรียนรู
         กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2
    6.2 แหลงการเรียนรู
         1) หองสมุดโรงเรียน
         2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                  13

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห
       ขั้นรวบรวมขอมูล
       ครูมอบหมายใหนักเรียนตั้งโจทยเรื่องอสมการคนละ 2 ขอ
       ขั้นวิเคราะห
       ใหนักเรียนแตละคนแสดงวิธีหาคําตอบของอสมการ
       ขั้นสรุป
       ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบ
       ขั้นประยุกตใช
        ครูคัดเลือกผลงานที่ถูกตองมารวบรวมเปนแบบทดสอบเพื่อใชงานตอไป
   7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
            -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                    14

8. บันทึกหลังสอน
                                              บันทึกหลังสอน
                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน                            จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                      ลงชื่อ…………………………………..
                                                                      ตําแหนง.................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               15

9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 8)
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                      แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
     ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป………..
     ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต…………………………………………………………….

                                                                            ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                              ดีมาก      ดี       พอใช ควรปรับปรุง
          ความสนใจ
          การตอบคําถาม
          การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
          การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
          ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ
          ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
          คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย


   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่……………

                                                                         ระดับการประเมิน
                       หัวขอการประเมิน
                                                          ดีมาก       ดี   ปานกลาง นอย     นอยมาก
          การวางแผนการทํางาน
          การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
          การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
          ความคิดสรางสรรค
          ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                   16

                                         แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/3
                                 เรื่อง การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
                                              เวลา 5 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        แกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        นักเรียนสามารถแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
   2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
        การวิเคราะห การคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 3-8
        2) ผลจากการทําแบบฝกหัด 1
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) นักเรียนจัดทํา ใบกิจกรรมสํารวจความเขาใจ 3-8
        2) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        3) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนรูวิธีการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               17

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
   4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
   4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
   4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
   ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
         ครูทบทวนเรื่องการหาคําตอบของอสมการโดยยกตัวอยางอสมการใหนักเรียนชวยกันหา โดยวิธีการ
ลองแทนคาแลวทําใหสมการเปนจริง
     5.2 ขั้นสอน
                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                           ฝกการคิดแบบ
  ชั่วโมงที่ 1
  1. ครูแนะนํานักเรียนวาในการหาคําตอบของอสมการ เราจะใชสมบัติของการไมเทากัน ทักษะการคิดวิเคราะห
  ไดดังนี้ ครูแสดงใหนักเรียนดูบนกระดาน
            สมบัติของการไมเทากัน
            สําหรับจํานวนจริง a, b และ c ใดๆ
             (1) ถา a < b แลว a+c < b+c (สมบัติการบวก)
                    เชน 3 < 5 แลว 3+2 < 5 + 2
                    ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางลงในสมุดของตัวเอง
             (2) ถา a < b แลว a – c < b – c (สมบัติการลบ)
                    ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางบนกระดานแลวใหจดลงสมุด เชน
                    4 < 7 แลว 4 – 5 < 7 – 5
              (3) ถา a < b และ c > 0 แลว ca <cb (สมบัติการคูณ)
       ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางแลวครูตรวจสอบความถูกตอง แลวใหนักเรียนจด
  ลงสมุด เชน
                    2 < 5 และ 3 > 0 แลว 3(2) < 3(5)
                    2 < 4 และ 5 > 0 แลว 2(5) < 4(5)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                    18

                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
            (4) ถา a < b และ c < 0 แลว ca > cb
    ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง แลวจดลงสมุด เชน
                  2 < 5 และ –3 < 0 แลว (–3)(2) > (–3)(5)
                  8 < 10 และ –2 < 0 แลว (–2)(8) > (–2)(10)
            (5) ถา a < b และ c > 0 แลว a < b (สมบัติการหาร แตกตางกันระหวาง
                                           c c
 5 กับ 6)
                    เชน 2 < 5 และ 5 > 0 แลว 2 < 5
                                                  5 5
               (6) ถา a < b และ c < 0 แลว c c a>b
                                                   2
                    เชน 2 < 5 และ -5 < 0 แลว − 5 > − 5 5

    2. ครูซักถามนักเรียนวา สมบัติทั้ง 6 ขอ ยังคงจะเปนจริงหรือไม ถาเปลี่ยนเครื่องหมาย
    ของอสมการจาก < แทน > และจาก > แทนดวย < (เปนจริง) ครูบอกใหนักเรียน
    ระมัดระวังการใชสมบัติของการคูณและสมบัติของการหาร
    3. ครูใหนักเรียนไปเขียนประโยคที่เกี่ยวกับสัญลักษณทั้ง 6 ขอมาเปนการบาน
 ชั่วโมงที่ 2
 1. ครูทบทวนเรื่องสมบัติของการไมเทากันที่เรียนในชั่วโมงที่แลว และการเขียนชวงและ ทักษะการคิดวิเคราะห
 กราฟบนเสนจํานวน โดยการซักถามและยกตัวอยางใหนักเรียนออกมาเขียนบนกระดาน
 เชน a ≤ x < b หมายถึงอะไร เขียนสัญกรณชวงแทนชวงไดอยางไร ( [a, b) )
  2. ครูยกตัวอยางการแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 2-3 ตัวอยาง ใหนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห
 รวมกันสังเกตการหาคําตอบและเสนอแนะวิธีการทํา จากนั้นครูตรวจสอบความถูกตอง ทักษะการคิดคํานวณ
 แลวใหนักเรียนจดลงสมุด
 ตัวอยาง จงแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 2x − 5 < 13
 วิธีทํา                       2x − 5 < 13
         นํา 5 บวกทั้งสองขางของอสมการจะได
                      2x − 5 + 5 < 13 + 5
                             2x < 18
                              x<9
        ดังนั้น คําตอบของอสมการคือ x < 9 หรือ (− ∞,9)
        เขียนกราฟแสดงคําตอบไดดังนี้
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                     19

                                      กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ

                          -1 0      1 2      3 4 5 6 7 8 9 10
                                                                 o
 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยใหเวลา 30 นาที หลังจากนั้น       ทักษะการคิดวิเคราะห
 ใหนักเรียนชวยกันออกมาเฉลยคําตอบบนกระดานโดยครูเปนผูชี้แนะ                        ทักษะการคิดคํานวณ
 ชั่วโมงที่ 3
 1. ครูทบทวนการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการตั้งโจทย   ทักษะการคิดวิเคราะห
 แลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ จากนั้นครูยกตัวอยางการแกอสมการอีก 1-2 ตัวอยาง     ทักษะการคิดคํานวณ
 แลวใหนักเรียนรวมกันเสนอแนะวิธีการหาคําตอบบนกระดาน ครูตรวจสอบความถูก
 ตองแลวใหนักเรียนจดลงในสมุด
 ตัวอยาง จงแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 3 x + 9 ≥ 13
                                                   4
 วิธีทํา             3
                     4
                       x + 9 ≥ 13

           นํา 9 ลบทั้งสองขางของอสมการจะได
                                          3
                                            x + 9 − 9 ≥ 13 − 9
                                          4
                                                  3
                                                    x≥4
                                                  4
           นํา   4
                 3
                      คูณทั้งสองขางของอสมการจะได
                                            ⎛4⎞ 3    ⎛4⎞
                                            ⎜ ⎟ x ≥ ⎜ ⎟4
                                            ⎝3⎠ 4    ⎝3⎠
                                                     16
                                                  x≥
                                                      3
           นั่นคือ                                x≥5
                                                      1
                                                      3
 ดังนั้นคําตอบของอสมการคือ                x≥5
                                              1
                                              3
                                                   หรือ  1
                                                       [5 , ∞)
                                                         3
   เขียนกราฟแสดงคําตอบไดดังนี้


                           -1 0     1 2       3 4 5 6 7 8 9 10
                                                   51
                                                          3


 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 โดยใหเวลา 30 นาที หลังจากนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห
 ครูเดินตรวจสอบ คอยเปนผูชี้แนะ ถาพบนักเรียนทําไมได ครูอธิบายเปนรายกรณี แลว ทักษะการคิดคํานวณ
 สุมใหนักเรียนออกมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน โดยครูพิจารณาความถูกตองอีกครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                              20

                                      กิจกรรมการเรียนการสอน                                      ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 4
 1. ครูแบงกลุมนักเรียนเปน 3 กลุม โดยใหกลุมที่ 1 ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5           ทักษะการคิดวิเคราะห
 กลุมที่ 2 ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และกลุมที่ 3 ทํากิจกรรมตรวจสอบความ                 ทักษะการคิดคํานวณ
 เขาใน 7 โดยให เวลากลุมละ 30 นาที หลังจากนั้ น ให ตัวแทนกลุมออกมานํ าเสนอ
 คําตอบหนาชั้นเรียน โดยครูเปนผูคอยชี้แนะ
 ชั่วโมงที่ 5
 1. ครูแนะนําวิธีแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีเครื่องหมายไมเทากับ ( ≠ ) โดยยก           ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตัวอยางอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีเครื่องหมาย ≠ เชน 3x ≠ 5 , −5x + 4 ≠ 0                ทักษะการคิดคํานวณ
 2. ครูใหนักเรียนพิจารณาอสมการ 4 x − 5 ≠ 3x + 1 แลวตอบคําถามตอไปนี้                        ทักษะการคิดวิเคราะห
            1) 6 เปนคําตอบของสมการ 4 x − 5 = 3x + 1 ใชหรือไม                               และการคํานวณ
            2) คําตอบของอสมการ 4 x − 5 ≠ 3x + 1 เปนจํานวนใดไดบาง
           3) คําตอบของสมการ 4 x − 5 = 3x + 1 เปนคําตอบของอสมการ
                4 x − 5 ≠ 3x + 1 หรือไม

      ให นั ก เรี ย นทดลองหาวิ ธี ก ารในการหาคํ าตอบของอสมการที่ มี เครื่ อ งหมาย ≠
 ( คําตอบของอสมการ ax + b ≠ 0 คือจํานวนจริงทุกจํานวนที่ไมใชคําตอบของสมการ
  ax + b = 0 )

 3. ครูยกตัวอยางการแกอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ 1-2 ตัวอยาง                                  ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตัวอยาง จงแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 5x4− 3 ≠ 2 x5+ 7                                  ทักษะการคิดคํานวณ
                                           5x − 3 2 x + 7
 วิธีทํา      หาคําตอบของสมการ               4
                                                 =
                                                     5
            จะได                      5(5 x − 3) = 4(2 x + 7)

                                       25 x − 15 = 8 x + 28

                                             17 x = 43
                                                    43
                                                x=
                                                    17
                                    หรือ       x=2
                                                      9
                                                     17
                                                          5x − 3 2 x + 7
            ดังนั้น   x=2
                              9
                             17
                                  เปนคําตอบของสมการ        4
                                                                =
                                                                     5
                                               5x − 3 2 x + 7
            นั่นคือ คําตอบของอสมการ              4
                                                     ≠
                                                         5
                                                               คือจํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน
 2
      9
     17
           หรือ   x≠2
                         9
                        17
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                              21

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                  ฝกการคิดแบบ
       เขียนกราฟแสดงคําตอบไดดังนี้

                  -1 0     1 2
                                 o
                                        3 4 5 6 7 8 9 10
                                    9
                               2
                                   17
 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้น
     ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบบนกระดาน
 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง              ทักษะการคิดวิเคราะห
                                                                                 ทักษะการคิดคํานวณ
    5.3 ขั้นสรุป
         ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดย
เขียนเปนแผนผังความคิด (Mind Mapping)
6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
    6.1 สื่อการเรียนรู
         1) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3-8
         2) แบบฝกหัด 1
    6.2 แหลงการเรียนรู
         1) หองสมุดโรงเรียน
         2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูมอบหมายใหนักเรียนไปคนควาโจทยเรื่องอสมการคนละ 2 ขอ
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนในแตละคนแสดงวิธีแกอสมการเพื่อหาคําตอบของอสมการ
         ขั้นสรุป
         ใหแตละคนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบ
         ขั้นประยุกตใช
         ครูคัดเลือกผลงานถูกตองติดบอรดหนาชั้นเรียนและรวบรวมเปนแบบทดสอบเพื่อใชงานตอไป
    7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
              -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                    22

8. บันทึกหลังสอน
                                              บันทึกหลังสอน
                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน                            จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                      ลงชื่อ…………………………………..
                                                                      ตําแหนง.................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               23

9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล
   ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3-8 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 10-19)
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                      แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
     ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป………..
     ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต…………………………………………………………….

                                                                            ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                              ดีมาก      ดี       พอใช ควรปรับปรุง
          ความสนใจ
          การตอบคําถาม
          การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
          การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
          ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ
          ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
          คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย


   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่……………

                                                                         ระดับการประเมิน
                       หัวขอการประเมิน
                                                          ดีมาก       ดี   ปานกลาง นอย     นอยมาก
          การวางแผนการทํางาน
          การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
          การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
          ความคิดสรางสรรค
          ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                       24

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/4
                         เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
                                               เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
    1.1 ผลการเรียนรู
        1) ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
         นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาได
2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        โจทยปญหาอสมการ
   2.2 ทักษะ/ กระบวนการ
         การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
         ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ
3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9
        2) ผลจากการทําแบบฝกหัด 2
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) นักเรียนจัดทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9
        2) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        3) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนนําความรูเรื่องการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวไปใชในการแกโจทยปญหาได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                 25

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
    เกณฑขั้นต่ํา
    4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
    4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
    4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
    การสรุปผลการประเมิน
    ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
     5.1 ขั้นนํา
         ครูใหนักเรียนทบทวนความรูเกี่ยวกับการแกอสมการที่เรียนมาแลว โดยการสนทนาและซักถาม
     5.2 ขั้นสอน
                                  กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1
 1. ครูนําเสนอตัวอยางการแกโจทยอสมการใหนักเรียนชวยกันพิจารณาการหาคําตอบ ทักษะการคิดวิเคราะห
 โดยการถามตอบ เชน                                                                 ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 1 นาย ก ซื้อมังคุดมา 2 กิโลกรม แจกใหลูก 3 คน คนละ 2 ผล แลวเหลือ
 มังคุด ไมถึง 10 ผล อยากทราบวามังคุด 1 กิโลกรัม มีกี่ผล
 วิธีทํา ใหมังคุด 1 กิโลกรัม มี x ผล
         มังคุด 2 กิโลกรัม มี 2x ผล
         จะได                              2 x − 3(2) < 10

                                           2 x − 6 < 10

                                        2 x − 6 + 6 < 10 + 6

                                               2 x < 16
                                                     16
                                                 x<
                                                      2

                                                 x<8
             ดังนั้น มังคุด 1 กิโลกรัม มีไมถึง 8 ผล
 2. ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณาจากตัวอยางวามีขั้นตอนการแกโจทยปญหาอยางไร   ทักษะการคิดวิเคราะห
    ขั้นตอนการหาคําตอบของโจทยปญหาอสมการ                                        ทักษะการคิดคํานวณ
             1) วิเคราะหโจทยวาโจทยกําหนดอะไรมาใหบางและตองการหาอะไร
                2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทยตองการหา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                       26

                                 กิจกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
                3) เปลี่ยนโจทยปญหาใหเปนอสมการตามเงื่อนไขที่กําหนด
                4) แกอสมการเพื่อหาสิ่งที่โจทยตองการ
                 5) ตรวจสอบคําตอบที่ไดกับเงื่อนไขที่โจทยกําหนด
 3. ครูยกตัวอยางโจทยใหนักเรียนชวยกันชวยกันหาคําตอบบนกระดาน 1-2 ขอ เชน           ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตัวอยางที่ 2 ในการทดลองทางเคมี สารละลายกรดไฮโดรคลอริกตองเก็บไวในชวง ทักษะการคิดคํานวณ
 อุณ หภู มิ ตั้งแต 29 องศาเซลเซียส ถึง 36 องศาเซลเซียส นั่ น คือ 29 ≤ C ≤ 36 ดังนั้ น
 อุณหภูมิเปนองศาฟาเรนไฮตอยูในชวงใด [ C = 9 ( F − 32) ]
                                                    5


 วิธีทํา อุณหภูมิของสารละลายอยูในชวง       29 ≤ C ≤ 36

         เนื่องจาก                            C=
                                                 5
                                                 9
                                                   ( F − 32)

       ดังนั้น                               29 ≤ (F − 32 ) ≤ 36
                                                 5
                                                 9
       นํา   9
             5
                 คูณทั้งสามพจน จะได
                                           9
                                             (29) ≤ 9 ⎛ 5 ⎞(F − 32) ≤ 9 (36)
                                                      ⎜ ⎟
                                           5        5⎝9⎠              5

                                            52.2 ≤ F − 32 ≤ 64.8

                                        52.2 + 32 ≤ F − 32 + 32 ≤ 64.8 + 32

                                            84.2 ≤ F ≤ 96.8
    ดังนั้น อุณหภูมิเปนองศาฟาเรนไฮตยูในชวง 84.2 ≤ F ≤ 96.8 หรือ [84.2,96.8]
 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 ครูเดินตรวจสอบความถูกตองและ ทักษะการคิดวิเคราะห
 คอยแนะนํานักเรียนในกรณีที่นักเรียนทําไมได                                    ทักษะการคิดคํานวณ
 5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันเวลาสง             ทักษะการคิดวิเคราะห
                                                                                ทักษะการคิดคํานวณ
   5.3 ขั้นสรุป
        ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการแกปญหาโจทยอสมการเชิงเสนตัว
แปรเดียวโดยเขียนเปนแผนผังความคิด (Mind Maping)
6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
         1) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9
         2) แบบฝกหัด 2
   6.2 แหลงการเรียนรู
        1) หองสมุดโรงเรียน
        2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                     27

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห
        ขั้นรวบรวมขอมูล
        ครูใหนักเรียนแบงเปนกลุม 3-4 กลุม แลวใหนักเรียนไปชวยกันคนควาโจทยปญหาในหนังสือคูมือตางๆ
กลุมละ 5 ขอ
        ขั้นวิเคราะห
        ใหแตละกลุมแสดงวิธีทําโจทยที่หามา
        ขั้นสรุป
        ใหแตละกลุมเลือกขอที่นาสนใจประมาณ 3 ขอ มานําเสนอหนาชั้นเรียน เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนกันกับเพื่อน
ในหอง จากนั้นทําเปนรายงานสงครู
        ขั้นประยุกตใช
        ครูคัดเลือกผลงานที่ถูกตองติดบอรดหนาชั้นเรียนและรวบรวมเปนแบบทดสอบเพื่อใชงานตอไป
    7.2 กิจกรรมการบูรณาการ
                  -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                                                    28

8. บันทึกหลังสอน
                                              บันทึกหลังสอน
                                  (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน)
            ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน                            จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………
 ………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                      ลงชื่อ…………………………………..
                                                                      ตําแหนง.................................................
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                               29

9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล
    ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 23)
    แบบฝกหัด 2 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 24)
   แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

                      แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
     ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป………..
     ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต…………………………………………………………….

                                                                            ระดับการประเมิน
                         หัวขอการประเมิน
                                                              ดีมาก      ดี       พอใช ควรปรับปรุง
          ความสนใจ
          การตอบคําถาม
          การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
          การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
          ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ
          ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง
          คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย


   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม

                                     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม
                  วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่……………

                                                                         ระดับการประเมิน
                       หัวขอการประเมิน
                                                          ดีมาก       ดี   ปานกลาง นอย     นอยมาก
          การวางแผนการทํางาน
          การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
          การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
          ความคิดสรางสรรค
          ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2                                         30

                   การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 1
                                          (self reflection)

1. การประเมินตนเองของผูเรียน ใหดําเนินการดังนี้
       1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําหนวยทุกขอใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดานดํา พรอม
ทั้งทบทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง
       1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้

                     บันทึกการประเมินตนเองและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 1
                                                                             
                                 วัน/เดือน/ป ที่บันทึก…………………….
รายการบันทึก
       1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมิใจจากการเรียนในหนวยนี้คืออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ
       ………………………………………………………………………………………………………………….
       ………………………………………………………………………………………………………………….

2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู
                            ชื่อเรื่องที่วิจัย………………………………….
1. ความเปนมาของปญหา
    สิ่งที่คาดหวัง…………………………………………………………………………………………………………
     ………………………………………………………………………………………………………………………
     สิ่งที่เปนจริง…………………………………………………………………………………………………………
     ………………………………………………………………………………………………………………………
    ปญหาที่พบคือ…………………………………………………………………………………….…………………
     ………………………………………………………………………………………………………………………
Unit1
Unit1

More Related Content

What's hot

What's hot (18)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Similar to Unit1

Similar to Unit1 (15)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Unit1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ศิลปะ ภาษาไทย 1. มาตรฐานการเรียนรูประจําหนวย มฐ. ค 4.2 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 4.2 ม.3/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 ชวงและกราฟบนเสนจํานวน 3.2 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3.3 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3.4 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2) ผลจากการทําแบบฝกหัด 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการหองสมุดอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 2 5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน/ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจ -อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง -ฝกคิดตาม และรวมทํากิจกรรมในชั้น สอบความเขาใจ เรียน 2) ผลจากการทําแบบฝกหัด -อธิ บ ายสรุ ป ความคิ ด รวบยอดใน -ทํ า กิ จ กรรมตรวจสอบความเข า ใจ แตละเรื่อง แตละเรื่อง 3) ผลจากการทํ า แบบฝ ก หั ด -แนะนํ าการทํ าใบงานเป น ผู ชี้ แ นะ -ใหนักเรียนแบงกลุม/เดี่ยวชวยกันทํา ระคน เมื่อนักเรียนขอความชวยเหลือ แบบฝกหัด 5.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) การปฏิ บั ติ กิ จ กรรมในชั้ น - แนะนํ าวิธีก ารเขี ยนแผนผั งความ -ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง ความคิ ด เรียน คิดสรุปความคิดรวบยอดเพื่อสรุป ประจําหนวย เนื้อหาประจําหนวย -ให นั ก เรียนไปคน ควาโจทยในห อง - แนะนําใหนั กเรียนใชบริการห อง สมุดโรงเรียน สมุดของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมี ส วน ร ว ม ใน การ - แนะนํ าวิธีการจัดกลุมและการทํา -ให นั ก เรี ย นจั ด กล ุม ตามที่ ค รู ม อบ ปฏิบัติกิจกรรมกลุม กิจกรรมกลุม หมายและชวยกันทํากิจกรรมในชั้น เรียน 5.3 การทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ - สรุ ป เนื้ อ หาที่ สํ า คั ญ ตามแผนผั ง - ทําแบบทดสอบหลังจบหนวย ทางการเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวยอีก ครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 3 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/1 เรื่อง ชวงและการแกอสมการ เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) เขียนชวงและกราฟบนเสนจํานวนได 2) บอกสมบัติของอสมการได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) เขียนชวงและกราฟของจํานวนใดๆ บนเสนจํานวนได 2) บอกสมบัติของอสมการได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู ชวงและกราฟบนเสนจํานวน 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดวิเคราะห การแปลความ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการตีความหมาย 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 1 กิจกรรม 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันจัดทําใบกิจกรรมสํารวจความเขาใจ 1 7) สงงาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 4 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีการเขียนชวงและกราฟบนเสนจํานวน 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูทบทวนความรูเรื่องจํานวนจริง โดยการสนทนาและซักถามกับนักเรียน เชน (1) จํานวนใดบางที่เปนจํานวนจริงใหนักเรียนยกตัวอยาง (2) เขียนจํานวนขึ้นมาแลวซักถามนักเรียนวาเปนจํานวนจริงหรือไม จากนั้นครูกลาววา สําหรับจํานวนจริงใดๆ ทุกจํานวนยกเวน 0 จะอยูในกลุมใดกลุมหนึ่งในสองกลุม คือ เปน จํานวนจริงบวกหรือจํานวนจริงลบ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 1. ครูแ นะนํ านั ก เรี ย นว า ในการคิ ด เกี่ ย วกั บ สั ญ ลั ก ษณ < เรามั ก จะคิ ด สั ม พั น ธ กั บ เส น ทักษะการคิดวิเคราะห จํานวน ซึ่งเมื่อกลาววา a < b จะหมายถึง a อยูทางซายของ b บนเสนจํานวน (ครูแสดงเสน ทักษะการแปลความ จํานวนใหนักเรียนดูบนกระดาน) 2. ครูซักถามนักเรียนถึงสัญลักษณ < อานวาอยางไร (นอยกวา) และสัญลักษณ > อานวา อยางไร (มากกวา) ครูแนะนํานักเรียนวา ถาเราทราบวา a < b แลวก็จะทราบวา b > a หรือ ถาทราบวา 0 < b ก็จะทราบวา b > 0 หรือกลาววา b เปนจํานวนจริงบวก ซึ่งความสัมพันธ a < b และ b > a เรียกวา อสมการ 3. ครู ซั ก ถามนั ก เรี ย นถึ งเครื่ อ งหมาย ≤ อ านว าอย า งไร (น อ ยกว าหรื อ เท ากั บ ) และ สัญลักษณ ≥ อานวาอยางไร (มากกวาหรือเทากับ) ครูแนะนํานักเรียนวา ถาเราทราบวา a ≤ b แลว b ≥ a
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 5 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 4. ครูใหนักเรียนแขงกันเขียนประโยคที่เปนอสมการภายในเวลาที่กําหนด นักเรียนคนใด ทักษะการคิดวิเคราะห เขียนไดมากที่สุด คนนั้นเปนผูชนะ ครูอาจใหรางวัลหรือคําชมเชย ชั่วโมงที่ 2 1. ครูทบทวนเรื่องของลําดับของจํานวนจริงที่เรียนในชั่วโมงที่ 1 แลวครูให นักเรียน พิจารณาขอความตอไปนี้และตอบคําถาม สมสวยเตี้ยกวาสมศรี และสมศรีเตี้ยกวาสมทรง ให นั ก เรียนรวมกั น สรุปผลวา สมสวยเตี้ ยกวาสมทรงหรือไม (เตี้ยกวา) ครูก ล าววา สมบัติลักษณะเดียวกันนี้และสมบัติอื่นๆ ของความสัมพันธนอยกวา ครู แ นะนํ าให นั ก เรีย นรู จั ก สมบั ติ 3 ข อ ที่ มี ค วามสํ าคั ญ ของอสมการ โดยเขี ย นบน กระดานใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ดังนี้ สมบัติของอสมการ (1) การถายทอด ถา a < b และ b < c แลว a < c (2) การบวก ถา a < b แลว a+c < b+c (3) การคูณ ถา a < b และ c > 0 แลว ac < bc ถา a < b และ c < 0 แลว ac > bc ครูใหนักเรียนลองยกตัวอยางจากสมบัติของอสมการ เชน (1) 5 < 7 และ 7 < 8 แลว 5 < 8 (2) –3 < –2 แลว –3 X –2 > –2 X –2 เปนตน เพื่อเปนการตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนในเรื่องสมบัติของอสมการ หลังจากนั้น ครูชี้แจงใหนักเรียนฟงและพิจารณาวา สมบัติขอ 2 และขอ 3 อาจจะแยกยอยตอไปเปน สมบัติของการบวกกับสมบัติการลบ สมบัติการคูณ และสมบัติการหาร ครูใหนักเรียน กลับไปยกตัวอยางสมบัติดังกลาวมาเปนการบานในชั่วโมงตอไป ครูตรวจสอบความถูก ตองที่นักเรียนทํามา ชั่วโมงที่ 3 1. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา สัญลักษณ < และ > อธิบายชวงบนเสนจํานวนไดหรือ ไม อยางไร ซึ่งจะไดวา สามารถนํามาเขียนบนเสนจํานวนได แลวใหนักเรียนชวยกันเขียน ขอความตอไปนี้ลงบนเสนจํานวน โดยครูใหนักเรียนออกมาเขียนหนากระดานดําโดยครู ยืนดู ถานักเรียนเขียนไมไดครูจึงชวยอธิบาย ดังนี้
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 6 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เขียน -2 < x ≤ 3 ซึ่งจะหมายถึง x มากกวา 22 และนอยกวาหรือเทากับ 3 ซึ่งเปนจํานวนทุก จํานวนในชวงบนเสนจํานวนที่แสดงไดดังนี้ o -2 3 ครูอธิบายวา วงกลมเล็กที่อยูทางซาย บงชี้วา -2 ไมรวมอยูในชวงดังกลาว และจุดทึบ ทางขวาบงชี้วา 3 รวมอยูในชวงดังกลาวดวย ครูแนะนํานักเรียนวา บางครั้งเราจะใชชวงแทนสัญกรณอสมการ เชน ใชสัญกรณชวง (–2, 3] แทน –2 < x ≤ 3 2. ครูเขียน 5 < x < 3 หรือ 3 > x < 5 เปนไปไดหรือไม ใหนักเรียนชวยกันพิจารณา ซึ่งจะ ไดวา เปนไปไมได กลาวคือ ไมมีจํานวนจริงใดที่มากกวา 5 แตนอยกวา 3 หรือกรณีที่สอง ที่กลาววา x นอยกวา 3 และ x นอยกวา 5 ซึ่งควรเขียนเปน x < 3 ครูใหนักเรียนเขียนสัญกรณอสมการ แลวนํามาเขียนบนเสนจํานวน และเขียนแทนดวย สัญกรณชวง 10 ตัวอยาง แลวนํามาสงครู ครูตรวจสอบความถูกตอง ถานักเรียนเขียนยังไม ไดครูอธิบายเพิ่มเติมจนกวานักเรียนจะเขียนได 3. ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 3 คนชวยกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 โดย ใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้นครูใหนักเรียนชวยกันออกมาเขียนเฉลยคําตอบบนกระดาน โดยครูเปนผูแนะนํา 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับชวงและกราฟบนเสนจํานวน โดยเขียน เปนแผนผังความคิด (Mind Mapping) 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 7 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนแบงกลุมไปคนควาเพิ่มเติมเรื่องอสมการ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนในแตละกลุมชวยกันสรุปความรูเรื่องอสมการ ขั้นสรุป ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันอาน ขั้นประยุกตใช ครูคัดเลือกผลงานที่ดีที่สุด 5 อันดับ ติดบอรดเพื่อใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 8 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. ตําแหนง.................................................
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 9 9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป……….. ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต……………………………………………………………. ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่…………… ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 10 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/2 เรื่อง อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู แกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 2 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) นักเรียนจัดทํา ใบกิจกรรมสํารวจความเขาใจ 2 2) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 3) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 11 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา 1) ครูใหนักชวยกันบอกนิยามของความหมายของอสมการเพื่อเปนการทบทวนสมบัติของอสมการ 2) ครูยกตัวอยางขอความหลาย ๆ ขอความ แลวใหนักเรียนชวยกันเขียนสัญลักษณ เชน 7 มากกวา 3 (7 > 3) 3) หลังจากนั้นครูยกตัวอยางสมการใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ เพื่อเปนการทบทวนความรูกอนจะไปหา คําตอบของอสมการ เชน (1) 2x+ 3 = 5 (2) 8x–12 = 20 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูใหนักเรียนศึกษาปญหาของอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เชน ทักษะการคิดวิเคราะห (1) 2x+3 < 5 ทักษะการแปลความ (2) 3x+11< 6x–4 (3) 24 < 3x+1 < 11 2. ครูใหนักเรียนชวยกันหาคาของ x ในแตละขอจากโจทยในขั้นนํา และครูกลาววาคา ของจํานวนจริงใดๆ ที่ทําใหอสมการเปนจริง เชน จากอสมการ 2x+3 < 5 จะพบวา เมื่อ แทน x ดวยจํานวนจริงใดๆ ที่นอยกวา 1จะทําใหอสมการเปนจริง เชน แทน x ดวย 0 ครู แสดงใหนักเรียนดูบนกระดานดังนี้ 2x+3 < 5 แทน x ดวย 0 ใน 2x+3 < 5 จะได 2(0) + 3 < 5 3 < 5 เปนจริง แทน x ดวย 1 ใน 2x+3 < 5
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 12 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ จะได 2(1) + 3 < 5 5 < 5 เปนเท็จ แทน x ดวย 0.9 ใน 2x+3 < 5 จะได 2(0.9) + 3 < 5 4.8 < 5 เปนจริง เราจะพบวา เมื่อแทนคา x ดวยจํานวนจริงใด ๆ ที่นอยกวา 1 จะทําใหอสมการเปนจริง ดังนั้น คําตอบหรือผลเฉลยของอสมการคือคาของตัวไมทราบคาที่สอดคลองกับ อสมการและชุดคําตอบ หรือเรียกวา เซตคําตอบประกอบดวยคําตอบทุกคําตอบ 3. ครูยกตัวอยางการอธิบายสถานการณในชีวิตจริงดวยอสมการ โดยแสดงขอความบาง อยางที่สอดคลองกับสัญลักษณของอสมการที่อยูดานบนของตาราง ทักษะการคิดวิเคราะห < > ≤ ≥ 1.นอยกวา 1. มากกวา 1. นอยกวาหรือ 1. มากกวาหรือ 2.ไมถึง 2. เกินกวา เทากับ เทากับ 3.ไมมากกวาและ 3.ไมนอยกวา 2. ไมมากกวา 2. ไมนอยกวา ไมเทากับ และไมเทากับ 4. ครูยกตัวอยางการหาคําตอบของอสมการอีก 2-3 ตัวอยาง 5. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห ใหนักเรียนชวยกันออกมาเฉลยคําตอบบนกระดานโดยครูเปนผูชี้แนะ ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยเขียน เปนแผนผังความคิด (Mind Mapping) 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 13 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนตั้งโจทยเรื่องอสมการคนละ 2 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนแสดงวิธีหาคําตอบของอสมการ ขั้นสรุป ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบ ขั้นประยุกตใช ครูคัดเลือกผลงานที่ถูกตองมารวบรวมเปนแบบทดสอบเพื่อใชงานตอไป 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 14 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. ตําแหนง.................................................
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 15 9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 8) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป……….. ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต……………………………………………………………. ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่…………… ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 16 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/3 เรื่อง การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เวลา 5 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู แกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การวิเคราะห การคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลจากการทํากิจกรรมสํารวจความเขาใจ 3-8 2) ผลจากการทําแบบฝกหัด 1 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) นักเรียนจัดทํา ใบกิจกรรมสํารวจความเขาใจ 3-8 2) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 3) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนรูวิธีการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 17 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูทบทวนเรื่องการหาคําตอบของอสมการโดยยกตัวอยางอสมการใหนักเรียนชวยกันหา โดยวิธีการ ลองแทนคาแลวทําใหสมการเปนจริง 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 1. ครูแนะนํานักเรียนวาในการหาคําตอบของอสมการ เราจะใชสมบัติของการไมเทากัน ทักษะการคิดวิเคราะห ไดดังนี้ ครูแสดงใหนักเรียนดูบนกระดาน สมบัติของการไมเทากัน สําหรับจํานวนจริง a, b และ c ใดๆ (1) ถา a < b แลว a+c < b+c (สมบัติการบวก) เชน 3 < 5 แลว 3+2 < 5 + 2 ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางลงในสมุดของตัวเอง (2) ถา a < b แลว a – c < b – c (สมบัติการลบ) ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางบนกระดานแลวใหจดลงสมุด เชน 4 < 7 แลว 4 – 5 < 7 – 5 (3) ถา a < b และ c > 0 แลว ca <cb (สมบัติการคูณ) ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางแลวครูตรวจสอบความถูกตอง แลวใหนักเรียนจด ลงสมุด เชน 2 < 5 และ 3 > 0 แลว 3(2) < 3(5) 2 < 4 และ 5 > 0 แลว 2(5) < 4(5)
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 18 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ (4) ถา a < b และ c < 0 แลว ca > cb ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง แลวจดลงสมุด เชน 2 < 5 และ –3 < 0 แลว (–3)(2) > (–3)(5) 8 < 10 และ –2 < 0 แลว (–2)(8) > (–2)(10) (5) ถา a < b และ c > 0 แลว a < b (สมบัติการหาร แตกตางกันระหวาง c c 5 กับ 6) เชน 2 < 5 และ 5 > 0 แลว 2 < 5 5 5 (6) ถา a < b และ c < 0 แลว c c a>b 2 เชน 2 < 5 และ -5 < 0 แลว − 5 > − 5 5 2. ครูซักถามนักเรียนวา สมบัติทั้ง 6 ขอ ยังคงจะเปนจริงหรือไม ถาเปลี่ยนเครื่องหมาย ของอสมการจาก < แทน > และจาก > แทนดวย < (เปนจริง) ครูบอกใหนักเรียน ระมัดระวังการใชสมบัติของการคูณและสมบัติของการหาร 3. ครูใหนักเรียนไปเขียนประโยคที่เกี่ยวกับสัญลักษณทั้ง 6 ขอมาเปนการบาน ชั่วโมงที่ 2 1. ครูทบทวนเรื่องสมบัติของการไมเทากันที่เรียนในชั่วโมงที่แลว และการเขียนชวงและ ทักษะการคิดวิเคราะห กราฟบนเสนจํานวน โดยการซักถามและยกตัวอยางใหนักเรียนออกมาเขียนบนกระดาน เชน a ≤ x < b หมายถึงอะไร เขียนสัญกรณชวงแทนชวงไดอยางไร ( [a, b) ) 2. ครูยกตัวอยางการแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 2-3 ตัวอยาง ใหนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห รวมกันสังเกตการหาคําตอบและเสนอแนะวิธีการทํา จากนั้นครูตรวจสอบความถูกตอง ทักษะการคิดคํานวณ แลวใหนักเรียนจดลงสมุด ตัวอยาง จงแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 2x − 5 < 13 วิธีทํา 2x − 5 < 13 นํา 5 บวกทั้งสองขางของอสมการจะได 2x − 5 + 5 < 13 + 5 2x < 18 x<9 ดังนั้น คําตอบของอสมการคือ x < 9 หรือ (− ∞,9) เขียนกราฟแสดงคําตอบไดดังนี้
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 19 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 o 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 โดยใหเวลา 30 นาที หลังจากนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห ใหนักเรียนชวยกันออกมาเฉลยคําตอบบนกระดานโดยครูเปนผูชี้แนะ ทักษะการคิดคํานวณ ชั่วโมงที่ 3 1. ครูทบทวนการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการตั้งโจทย ทักษะการคิดวิเคราะห แลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ จากนั้นครูยกตัวอยางการแกอสมการอีก 1-2 ตัวอยาง ทักษะการคิดคํานวณ แลวใหนักเรียนรวมกันเสนอแนะวิธีการหาคําตอบบนกระดาน ครูตรวจสอบความถูก ตองแลวใหนักเรียนจดลงในสมุด ตัวอยาง จงแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 3 x + 9 ≥ 13 4 วิธีทํา 3 4 x + 9 ≥ 13 นํา 9 ลบทั้งสองขางของอสมการจะได 3 x + 9 − 9 ≥ 13 − 9 4 3 x≥4 4 นํา 4 3 คูณทั้งสองขางของอสมการจะได ⎛4⎞ 3 ⎛4⎞ ⎜ ⎟ x ≥ ⎜ ⎟4 ⎝3⎠ 4 ⎝3⎠ 16 x≥ 3 นั่นคือ x≥5 1 3 ดังนั้นคําตอบของอสมการคือ x≥5 1 3 หรือ 1 [5 , ∞) 3 เขียนกราฟแสดงคําตอบไดดังนี้ -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 51 3 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 โดยใหเวลา 30 นาที หลังจากนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห ครูเดินตรวจสอบ คอยเปนผูชี้แนะ ถาพบนักเรียนทําไมได ครูอธิบายเปนรายกรณี แลว ทักษะการคิดคํานวณ สุมใหนักเรียนออกมาเฉลยคําตอบหนาชั้นเรียน โดยครูพิจารณาความถูกตองอีกครั้ง
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 20 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 4 1. ครูแบงกลุมนักเรียนเปน 3 กลุม โดยใหกลุมที่ 1 ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 ทักษะการคิดวิเคราะห กลุมที่ 2 ทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และกลุมที่ 3 ทํากิจกรรมตรวจสอบความ ทักษะการคิดคํานวณ เขาใน 7 โดยให เวลากลุมละ 30 นาที หลังจากนั้ น ให ตัวแทนกลุมออกมานํ าเสนอ คําตอบหนาชั้นเรียน โดยครูเปนผูคอยชี้แนะ ชั่วโมงที่ 5 1. ครูแนะนําวิธีแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีเครื่องหมายไมเทากับ ( ≠ ) โดยยก ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่มีเครื่องหมาย ≠ เชน 3x ≠ 5 , −5x + 4 ≠ 0 ทักษะการคิดคํานวณ 2. ครูใหนักเรียนพิจารณาอสมการ 4 x − 5 ≠ 3x + 1 แลวตอบคําถามตอไปนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) 6 เปนคําตอบของสมการ 4 x − 5 = 3x + 1 ใชหรือไม และการคํานวณ 2) คําตอบของอสมการ 4 x − 5 ≠ 3x + 1 เปนจํานวนใดไดบาง 3) คําตอบของสมการ 4 x − 5 = 3x + 1 เปนคําตอบของอสมการ 4 x − 5 ≠ 3x + 1 หรือไม ให นั ก เรี ย นทดลองหาวิ ธี ก ารในการหาคํ าตอบของอสมการที่ มี เครื่ อ งหมาย ≠ ( คําตอบของอสมการ ax + b ≠ 0 คือจํานวนจริงทุกจํานวนที่ไมใชคําตอบของสมการ ax + b = 0 ) 3. ครูยกตัวอยางการแกอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ 1-2 ตัวอยาง ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยาง จงแกอสมการและเขียนกราฟแสดงคําตอบ 5x4− 3 ≠ 2 x5+ 7 ทักษะการคิดคํานวณ 5x − 3 2 x + 7 วิธีทํา หาคําตอบของสมการ 4 = 5 จะได 5(5 x − 3) = 4(2 x + 7) 25 x − 15 = 8 x + 28 17 x = 43 43 x= 17 หรือ x=2 9 17 5x − 3 2 x + 7 ดังนั้น x=2 9 17 เปนคําตอบของสมการ 4 = 5 5x − 3 2 x + 7 นั่นคือ คําตอบของอสมการ 4 ≠ 5 คือจํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 2 9 17 หรือ x≠2 9 17
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 21 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ เขียนกราฟแสดงคําตอบไดดังนี้ -1 0 1 2 o 3 4 5 6 7 8 9 10 9 2 17 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 8 โดยใหเวลา 20 นาที หลังจากนั้น ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบบนกระดาน 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดย เขียนเปนแผนผังความคิด (Mind Mapping) 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู 1) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3-8 2) แบบฝกหัด 1 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปคนควาโจทยเรื่องอสมการคนละ 2 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนในแตละคนแสดงวิธีแกอสมการเพื่อหาคําตอบของอสมการ ขั้นสรุป ใหแตละคนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบ ขั้นประยุกตใช ครูคัดเลือกผลงานถูกตองติดบอรดหนาชั้นเรียนและรวบรวมเปนแบบทดสอบเพื่อใชงานตอไป 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 22 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. ตําแหนง.................................................
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 23 9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3-8 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 10-19) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป……….. ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต……………………………………………………………. ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่…………… ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 24 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1/4 เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู โจทยปญหาอสมการ 2.2 ทักษะ/ กระบวนการ การคิดวิเคราะห การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 2) ผลจากการทําแบบฝกหัด 2 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) นักเรียนจัดทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 2) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 3) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนนําความรูเรื่องการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวไปใชในการแกโจทยปญหาได
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 25 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 4.1 ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 4.2 ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 4.3 ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ครูใหนักเรียนทบทวนความรูเกี่ยวกับการแกอสมการที่เรียนมาแลว โดยการสนทนาและซักถาม 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 1. ครูนําเสนอตัวอยางการแกโจทยอสมการใหนักเรียนชวยกันพิจารณาการหาคําตอบ ทักษะการคิดวิเคราะห โดยการถามตอบ เชน ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 1 นาย ก ซื้อมังคุดมา 2 กิโลกรม แจกใหลูก 3 คน คนละ 2 ผล แลวเหลือ มังคุด ไมถึง 10 ผล อยากทราบวามังคุด 1 กิโลกรัม มีกี่ผล วิธีทํา ใหมังคุด 1 กิโลกรัม มี x ผล มังคุด 2 กิโลกรัม มี 2x ผล จะได 2 x − 3(2) < 10 2 x − 6 < 10 2 x − 6 + 6 < 10 + 6 2 x < 16 16 x< 2 x<8 ดังนั้น มังคุด 1 กิโลกรัม มีไมถึง 8 ผล 2. ครูใหนักเรียนชวยกันพิจารณาจากตัวอยางวามีขั้นตอนการแกโจทยปญหาอยางไร ทักษะการคิดวิเคราะห ขั้นตอนการหาคําตอบของโจทยปญหาอสมการ ทักษะการคิดคํานวณ 1) วิเคราะหโจทยวาโจทยกําหนดอะไรมาใหบางและตองการหาอะไร 2) กําหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทยตองการหา
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 26 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3) เปลี่ยนโจทยปญหาใหเปนอสมการตามเงื่อนไขที่กําหนด 4) แกอสมการเพื่อหาสิ่งที่โจทยตองการ 5) ตรวจสอบคําตอบที่ไดกับเงื่อนไขที่โจทยกําหนด 3. ครูยกตัวอยางโจทยใหนักเรียนชวยกันชวยกันหาคําตอบบนกระดาน 1-2 ขอ เชน ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางที่ 2 ในการทดลองทางเคมี สารละลายกรดไฮโดรคลอริกตองเก็บไวในชวง ทักษะการคิดคํานวณ อุณ หภู มิ ตั้งแต 29 องศาเซลเซียส ถึง 36 องศาเซลเซียส นั่ น คือ 29 ≤ C ≤ 36 ดังนั้ น อุณหภูมิเปนองศาฟาเรนไฮตอยูในชวงใด [ C = 9 ( F − 32) ] 5 วิธีทํา อุณหภูมิของสารละลายอยูในชวง 29 ≤ C ≤ 36 เนื่องจาก C= 5 9 ( F − 32) ดังนั้น 29 ≤ (F − 32 ) ≤ 36 5 9 นํา 9 5 คูณทั้งสามพจน จะได 9 (29) ≤ 9 ⎛ 5 ⎞(F − 32) ≤ 9 (36) ⎜ ⎟ 5 5⎝9⎠ 5 52.2 ≤ F − 32 ≤ 64.8 52.2 + 32 ≤ F − 32 + 32 ≤ 64.8 + 32 84.2 ≤ F ≤ 96.8 ดังนั้น อุณหภูมิเปนองศาฟาเรนไฮตยูในชวง 84.2 ≤ F ≤ 96.8 หรือ [84.2,96.8] 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 ครูเดินตรวจสอบความถูกตองและ ทักษะการคิดวิเคราะห คอยแนะนํานักเรียนในกรณีที่นักเรียนทําไมได ทักษะการคิดคํานวณ 5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 2 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันเวลาสง ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาชวยกันสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการแกปญหาโจทยอสมการเชิงเสนตัว แปรเดียวโดยเขียนเปนแผนผังความคิด (Mind Maping) 6. สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู 1) กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 2) แบบฝกหัด 2 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมการเรียนรูคณิตศาสตร
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 27 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการอานเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูใหนักเรียนแบงเปนกลุม 3-4 กลุม แลวใหนักเรียนไปชวยกันคนควาโจทยปญหาในหนังสือคูมือตางๆ กลุมละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหแตละกลุมแสดงวิธีทําโจทยที่หามา ขั้นสรุป ใหแตละกลุมเลือกขอที่นาสนใจประมาณ 3 ขอ มานําเสนอหนาชั้นเรียน เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนกันกับเพื่อน ในหอง จากนั้นทําเปนรายงานสงครู ขั้นประยุกตใช ครูคัดเลือกผลงานที่ถูกตองติดบอรดหนาชั้นเรียนและรวบรวมเปนแบบทดสอบเพื่อใชงานตอไป 7.2 กิจกรรมการบูรณาการ -
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 28 8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………..ผูสอน บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. ตําแหนง.................................................
  • 29. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 29 9. ใบความรู ใบงาน เครื่องมือวัดผล ใบกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 9 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 23) แบบฝกหัด 2 (ดูในหนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ม. 3 ภาคเรียนที่ 2 หนา 24) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อผูเรียน…………………………………………………..ชั้น…….วันที่………เดือน…………….ป……….. ครั้งที่……………………………………..ผูสังเกต……………………………………………………………. ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรู ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ความสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม แบบประเมินพฤติกรรมการทํางานกลุม วิชาคณิตศาสตร ระดับชั้น……ประจําวันที่…………………….กลุมที่…………… ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผนการทํางาน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 30. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 2 30 การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูที่ 1 (self reflection) 1. การประเมินตนเองของผูเรียน ใหดําเนินการดังนี้ 1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําหนวยทุกขอใหนักเรียนไดทราบ โดยอาจเขียนไวบนกระดานดํา พรอม ทั้งทบทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาไดเรียนอะไรบาง 1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้ บันทึกการประเมินตนเองและสะทอนตนเองประจําหนวยการเรียนรูที่ 1  วัน/เดือน/ป ที่บันทึก……………………. รายการบันทึก 1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. 2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติสิ่งใดไดแลวบาง …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. 3. สิ่งที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. 4. ผลงานหรือชิ้นงานที่เนนความภาคภูมิใจจากการเรียนในหนวยนี้คืออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. 2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู ชื่อเรื่องที่วิจัย…………………………………. 1. ความเปนมาของปญหา สิ่งที่คาดหวัง………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… สิ่งที่เปนจริง………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ปญหาที่พบคือ…………………………………………………………………………………….………………… ………………………………………………………………………………………………………………………