SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
   การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ และภาษาไทย

1. มาตรฐานการเรียนรู
   1.1 มฐ. ค 2.1
   1.2 มฐ. ค 2.2
   1.3 มฐ. ค 3.1

2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   2.1 ค 2.1 ม.3/1, 2, 3
   2.2 ค 2.2 ม.3/1
   2.3 ค 3.1 ม.3/1

3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 รูปเรขาคณิตสามมิติ
   3.2 พื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม
   3.3 พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด
   3.4 พื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก
   3.5 พื้นที่ผิวและปริมาตรของกรวย
   3.6 พื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกลม
   3.7 การเปรียบเทียบความจุหรือปริมาตร

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 10 ในหนังสือเรียน
        2) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1-5 ในหนังสือเรียน
        3) ผลงานจากการทําแบบฝกหัดระคน
        4) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในกาปฏิบติกิจกรรมกลุม
                                   ั
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                  2

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม

                                                    แนวทางการจัดการเรียนรู
      รองรอยการเรียนรู
                                               บทบาทครู                บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
    1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง                - ฝ ก คิ ด ต าม แ ล ะ ร ว ม ทํ า
       สอบความเขาใจ 1- 10                                                 กิจกรรมในชั้นเรียน
    2) การทําแบบฝกหัด 1 -5 - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และ                - ทํากิจกรรมตรวจสอบความ
                                 กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ                  เขาใจและแบบฝกหัด
    3) แบบฝกหัดระคน           - อธิ บ ายสรุป ความคิ ด รวบยอด            - ทําแบบทดสอบหนวยยอย
    4) การทําแบบทดสอบ            ในแตละเรื่อง                             เปนรายกลุม
5.2 ผลการปฏิบัตงานไดแก
                    ิ
    1) การปฏิบั ติ กิ จกรรมใน - แนะนําวิธการเขียนแผนผังสรุป
                                            ี             - ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง
       ชั้ น เรี ย น และการใช ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ  ความคิดประจําหนวย
       บริ ก ารของโรงเรี ย น หาประจําหนวย                - ใหนักเรียนไปคนควาโจทย
       อยางเหมาะสม            - แนะนํ า ให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร
                                                            ในห องสมุ ด โรงเรียนและ
                                 ห อ งสมุ ด ของโรงเรี ย นอย า ง
                                                            ห อ งสมุ ด กลุ ม สาระการ
                                 เหมาะสม                    เรียนรูคณิตศาสตร
    2) การมี ส ว นร ว มในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ
                                                          - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครู
       ปฏิบัติกิจกรรมกลุม       ทํากิจกรรมกลุม            มอบหมายและช วยกั น ทํ า
                                                            กิจกรรมในชั้นเรียน
5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทํ าแบบทดสอบหลังเรียน
    ทางการเรียน             ความคิดรวบยอดประจําหนวย จบ
                            อีกครั้ง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                      3

                                          แผนการจัดการเรียนรูที่ 1
                                   เรื่อง พื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด
                                                 เวลา 3 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) อธิบายลักษณะของปริซึม และพีระมิดได
        2) หาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดไดได
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมได
        2) อธิบายลักษณะและสมบัติของพีระมิดได
        3) สามารถหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
          1) ปริซึม คือรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาที่อยูในระนาบที่ขนานกันหนึ่งคูเปนรูปหลาย
เหลี่ ย มที่ เท า กั น ทุ ก ประการ การเรี ย กชื่ อ ปริ ซึ ม มั ก เรี ย กชื่ อ ตามลั ก ษณะของฐาน เช น ปริ ซึ ม
สามเหลี่ยมดานเทา ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก เปนตน
          2) พื้นที่ผิวของปริซึม หมายถึงผลรวมพื้นที่ผิวทุกหนาของปริซึม ซึ่งจะไดวา
พื้นที่ผิวของปริซม = ผลรวมพื้นที่ผวขางทุกหนา + ผลรวมพื้นที่ฐานสองหนา
                        ึ                ิ
          3) พีระมิด คือรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานอยูในระนาบหนึ่ง ดานขางเปนรูปสามเหลียมทีมี        ่ ่
จุดยอดมุมรวมกันที่จดๆ หนึ่ง โดยจุดยอดมุมจุดนี้ยงไมอยูในระนาบของฐาน
                             ุ                               ั
          4) พีระมิดตรง คือถาลากเสนจากจุดยอดมุมมาตั้งฉากกับฐาน แลวจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยู
หางจากมุมที่ฐานเปนระยะเทากัน
          5) พีระมิดเอียง คือถาลากเสนจากจุดยอดมุมมาตั้งฉากกับฐาน แลวจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยู
หางจากมุมที่ฐานเปนระยะไมเทากัน
          6) พื้นที่ผิวของพีระมิด คือผลรวมของพื้นที่ผิวทุกหนาของพีระมิด ซึ่งจะไดวา
พื้นที่ผิวของพีระมิด = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + พื้นที่ฐาน
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
          การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                        4

    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 2 ในหนังสือเรียน
        2) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1 ขอ 1 – 6 ใหญในหนังสือเรียน
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนสามรถอธิบายลักษณะของปริซึมและพีระมิดได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
     1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
     2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
     3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
  การสรุปผลการประเมิน
     ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      5

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของปริซม)ึ
       ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งของที่พบในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะเปนรูปสามมิติ เชน
กลองนม ลูกบอล โดยใหนักเรียนยกตัวอยางและใหความหมายวาทําไมนักเรียนถึงคิดวาเปนรูป
สามมิติ
       ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของพีระมิด)
        ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของปริซึมที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลวโดยการตั้ง
คําถาม เชน - ปริซมมีลักษณะอยางไร
                      ึ
               - สูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึมมีวาอยางไร
               - ยกตัวอยางโจทยใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ
       ชั่วโมงที่ 3 (พื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด)
          ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของปริซึมและพีระมิดที่เรียนมาในชั่วโมงที่
แลวโดยการตั้งคําถาม เชน - ปริซึมมีลักษณะอยางไร
                               - พีระมิดมีลักษณะอยางไร
                               - จํานวนหนาของพีระมิดขึ้นอยูกับจํานวนอะไร
                               - การเรียกชื่อของพีระมิดจะเรียกตามอะไร
                               - สูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึมมีวาอยางไร
                               - สูตรการหาพื้นที่ผิวของพีระมิดมีวาอยางไร
                               - ยกตัวอยางโจทยในการหาพื้นที่ผิวของพีระมิดและปริซึมใหนักเรียน
ชวยกันหาคําตอบ
   5.2 ขั้นสอน
                           กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                       ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของปริซึม)
 1. ครูนําแบบรูปเรขาคณิ ตสามมิ ติตางๆ เชน ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก ทักษะการคิดแปลความ
 กรวย และทรงกลม มาใหนักเรียนพิจารณา ตอจากนั้นครูซักถามนักเรียนวารู
 จักรูปเรขาคณิตตอไปนี้หรือไม โดยครูหยิบขึ้นมาทีละอันแลวใหนักเรียนบอก
 ชื่อ ถานักเรียนตอบไมได ครูควรแนะนําใหรูจัก
 2. แบงกลุมนักเรียนออกเปน กลุมละ 4-5 คนจากนั้น ครูนํ าภาพของปริซึม ทักษะการใหเหตุผล
 แบบตางๆ ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษารูปทรงปริซึม แลวนักเรียนแตละกลุม
 รวมกันสรางรูปปริซึม มากลุมละ 1 ชิ้น ตามที่ครูกําหนดให ไดแก
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                               6

                             กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                        ฝกการคิดแบบ
                    กลุมที่ 1 ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา
                    กลุมที่ 2 ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก
                    กลุมที่ 3 ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผา
                    กลุมที่ 4 ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส
                    กลุมที่ 5 ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา
 3. ใหนักเรียนบอกฐานของปริซึมและสวนสูงของปริซึมที่นักเรียนแตละกลุม ทักษะการคิดแปลความ
 ชวยกันสรางขึ้นมา แลวนําเสนอหนาชั้นเรียนใหเพื่อนๆไดทราบและสรุปชวย
 กัน ดังนี้
     ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปสี่เหลี่ยมที่เทากันทุกประการ
 และฐานทั้งคูอยูในระนาบที่ขนานกัน
      การเรียกชื่อปริซึม จะเรียกตามฐานของปริซึม เชน ฐานเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส
 เรียกวา ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานเปนสามเหลี่ยม เรียกวา ปริซึมสามเหลี่ยม
 เปนตน
                                                                        ฐาน
       ความสูง
                                                                       ความสูง
      ฐาน
            ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส              ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา

                          ความสูง

                         ฐาน

                               ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา

 4. ครูนํากลองกระดาษปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีดานกวาง 6 หนวย ดานยาว ทักษะการคิดแปลความ
 10 หนวย และดานสูง 3 หนวย มาใหนักเรียนสังเกตวามีกี่ดาน ตอจากนั้นครู
 แกะออกและซักถามนักเรียนวาภาพที่เกิดขึ้นเปนรูปเรขาคณิตหรือไม และเรียก
 วาอยางไร (เปนรูปเรขาคณิตสองมิติ และมีดานทั้งหมด 6 ดาน) ดังนี้
                                                     3 หนวย
                                                   6 หนวย
                                      10 หนวย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   7

                            กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ



        6 หนวย

                  3 หนวย                 3 หนวย

                              10 หนวย
 5. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงจากการพิจารณาขางตนโดยการซักถาม ดังนี้
 เมื่อพิจารณารูปจะเห็นวา ปริซึมมีหกหนา
        เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 3 × 6 ตารางหนวย กี่รูป (2 รูป)
       เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 3 × 10 ตารางหนวย กี่รูป (2 รูป)
       เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 6 × 10 ตารางหนวย กี่รูป (2 รูป)
 6. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวาจากขางตนเราจะไดพ้นที่ผิวเทากับ
                                                    ื
 2(3 × 6) + 2(3 ×10) + 2(6 × 10) = 216 ตารางหน ว ย ต อ จากนั้ น ครู ใ ห
 นักเรียนอภิปรายหาขอสรุปเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของปริซึม ซึ่งจะไดวา พื้นที่
 ผิวของปริซึมจะหมายถึง ผลรวมพื้นที่ผิวทุกหนาของปริซึม และครูอธิบายตอ
 ไปวาในการเรียกชื่อหนาของปริซึม จะเรียกหนาสองหนาที่มีพ้ืนที่เทากันทุก
 ประการวาฐานหรือหนาตัด และเรียกหนาอื่นๆ ที่เหลือวาผิวขาง ใหนักเรียน
 สรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวขางของปริซึมอีกครั้ง ซึ่งจะไดวา
    พื้นที่ผิวของปริซึม = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + ผลรวมของพื้นที่ฐาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                              8

                          กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                                     ฝกการคิดแบบ
 7. ให นัก เรียนศึ ก ษาการหาพื้ น ที่ ผิวของปริซึมจากตัวอยางที่ 1 โดยครูเป น ผู ทักษะการคิดคํานวณ
 ซักถามและอธิบายไปพรอมๆ กันบนกระดานดํา ดังนี้
 ตัวอยางที่ 1 จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมตอไปนี้




 8. ครู ว าดรู ป บนกระดานแล ว ให นั ก เรี ย นช ว ยกั น หาพื้ น ที่ ผิ ว ของปริ ซึ ม จน ทักษะการคิดคํานวณ
 นักเรียนเขาใจ ตอจากนั้น ครูให นักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1
 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
 ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของพีระมิด)
 1.ครูสนทนาทบทวนสูตรการหาพื้นที่ของปริซึมโดยการซักถาม ตอจากนั้นครู ทักษะการใหเหตุผล
 แสดงภาพตัวอยางของพีระมิดแบบตางๆ ใหนักเรียนพิจารณาวามีลักษณะอยาง
 ไร และจะเรียกชื่อตามลักษณะของอะไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                         9

                       กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงผลที่ไดจากการพิจารณาภาพขางตน จนสรุป ทักษะการคิดสรุปความ
 เปนบทนิยามของพีระมิดไดดงนี้
                             ั
     พีระมิดเปนรูปเรขาคณิตสามมิติ มีฐานอยูในระนาบหนึ่ง ดานขางเปนรูป
 สามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมรวมกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่งจุดยอดมุมจุดนี้ไมอยูในระนาบ
 ของฐาน
 3.ครูแนะนําสวนตางๆ ของพีระมิดใหนักเรียนรูจักโดยการฉายภาพดวยเครื่อง
 ฉายภาพขามศีรษะ ดังนี้
     การเรียกชื่อสวนตางๆ ของพีระมิด




 4. ครูสนทนากับนักเรียนถึงเรื่องพีระมิดจนไดวา พีระมิดแบงไดดังนี้          ทักษะการคิดวิเคราะห
    1) พีระมิดตรง คือจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยูหางจากมุมที่ฐานเปนระยะเทากัน
    2) พีระมิดเอียง คือจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยูหางจากมุมที่ฐานเปนระยะไมเทา
 กัน
 5. ครูนํากลองกระดาษพีระมิดใหนักเรียนพิจารณา จากนั้นครูแกะออกแลวให
 นักเรียนชวยกันสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งจะไดดังนี้




 6. ให นั ก เรียนรวมกัน อภิ ป รายสู ตรการหาพื้ น ที่ ผิวของพี ระมิดโดยครูเปน ผู ทักษะการคิดใหเหตุผล
 ซักถามนําทาง ซึ่งจะไดดังนี้
     พื้นที่ผิวของพีระมิด = ผลรวมของพื้นที่ผิวขางทุกหนา 1 พื้นที่ฐาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   10

                           กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 7. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 2 ให นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจโดยครูเป น ผู
 อธิบายดังนี้
 ตัวอยางที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดตอไปนี้
     1) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 12 เซนติเมตร สูงเอียงยาว 10
 เซนติเมตร
     2) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 20 เซนติเมตร สวนสูงยาว 24
 เซนติเมตร
     3) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 10 เซนติเมตร สันดานขางยาว
 13 เซนติเมตร
 8. ใหนักเรียนชวยกันวาดรูปจากโจทยที่กําหนดใหและหาพื้นที่ผิวทั้งหมด ซึ่ง ทักษะการคิดคํานวณ
 จะไดดังนี้
     1) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 12 เซนติเมตร สูงเอียงยาว 10
 เซนติเมตร




       พื้นที่ผิวของพีระมิด = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวขาง
                              = (12 × 12) + ⎡4 × ⎛ 1 × 12 × 10 ⎞⎤ ตารางเซนติเมตร
                                              ⎢ ⎜              ⎟⎥
                                                ⎣   ⎝
                                                    2       ⎠⎦

                              = 144+ 240 ตารางเซนติเมตร
                              = 384 ตารางเซนติเมตร
         ดังนั้น พีระมิดมีพื้นที่ผิว 384 ตารางเซนติเมตร
 9. ใหนักเรียนชวยกันทําขอ (2) และ (3) ตอบนกระดาน โดยครูเปนผูซักถาม ทักษะการคิดคํานวณ
 และแนะนํา
 10. ใหนักเรียนชวยกันตั้งโจทยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด แลวใหหา ทักษะการคิดวิเคราะห
 คําตอบ ซัก 2-3 ตัวอยาง ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนวาเขาใจการหา
 พื้นที่ผิวของพีระมิดหรือเปลา หลังจากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบ
 ความเขาใจ 2 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                        11

                           กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน                            ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 3 (พื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด)
 1. สุมให นักเรียนออกมาเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 โดยครูตรวจ
 สอบความถูกตอง และใหคําชมเชยแกนักเรียนที่ทําถูกตองและสงงานตรงตาม
 เวลา แลวใหนักเรียนที่ทําผิดแกไขใหถูกตอง
 2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด เพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห
 เปนการตรวจสอบความเขาใจ เชน
       - สูตรการหาพื้นที่ผิวปริซึมวาอยางไร
       - สูตรการหาพื้นที่ผิวของพีระมิดวาอยางไร จงอธิบาย
       - อื่นๆ
 3. ใหนักเรียนแบงเปนทีม 4 ทีม ใหนักเรียนแขงกันหาคําตอบของโจทยที่ครู ทักษะการคิดคํานวณ
 กําหนดให โดยแตละทีมจะไดโจทยไมเหมือนกัน เมื่อครูแจกโจทยใหนักเรียน
 แลว ใหกลับไปชวยกันคิดและรีบกลับนํามาเขียนบนกระดาน ทีมใดเสร็จกอน
 และคําตอบถูกตอง ทีมนั้นจะเปนฝายไดรับรางวัลไป เชน
       - พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานยาวดานละ 20 นิ้ว ความสูง 28 นิ้ว จะมี
 พื้นที่ผิวเปนเทาไร
       - ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก ความยาวของดานประกอบมุมฉากของรูป
 สามเหลี่ยมเปน 10 และ 24 เซนติเมตร ปริซึมหนา 13 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิว
 ของปริซึมนี้ เปนตน
 4. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 1 ถึงขอ 6 ใหญเปนการบาน โดยครูกําหนด
 วันและเวลาในการสง ครูอาจนําเฉลยไปติดไวที่ปายนิเทศเพื่อใหนักเรียนศึกษา
 ขอที่ทําผิดตอและแกไขใหถูกตอง

    5.3 ขั้นสรุป
    ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของปริซึม)
         1. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของปริซึม และสังเกตการเรียกชื่อของปริซึม
            ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปสี่เหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคู
อยูในระนาบที่ขนานกัน
         2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึม
            พื้นที่ผิวของปริซึม = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + พื้นที่ฐานสองหนา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                 12

       ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของพีระมิด)
       1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกชื่อสวนตาง ๆ ของพีระมิด




      2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด
           พื้นที่ผิวของพีระมิด = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + พื้นที่ฐานสองหนา
      ชั่วโมงที่ 3 (พื้นที่ผิวของปริซมและพีระมิด)
                                     ึ
      ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดรวมถึง
ขั้นตอนวิธการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด
           ี

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
        - กระดาษ A4
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
    7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
    ขั้นรวบรวมขอมูล
    ครูมอบหมายใหนักเรียนตั้งโจทยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก พรอมทั้ง
แสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
    ขั้นวิเคราะห
    ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหวาทําไมโจทยของตัวเองถึงตองแสดงวิธีทําแบบนี้เปนปริซึมหรือ
พีระมิดเพราะเหตุใด
    ขั้นสรุป
    ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้ง
หมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                 13

    ขั้นประยุกตใช
    ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน

7.2 กิจกรรมบูรณาการ
    ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวยกัน
เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดเปนการประกวด

             ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซมและพีระมิด ”
                                                                  ึ

ผลการเรียนรู               ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการหาพื้นที่ผิวของปริซึม
                                และพีระมิด
ผลงานที่ตองการ            กลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด
ขั้นตอนการทํางาน           1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนตาง ๆ
                           2. ศึกษาเรื่องพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด
                           3. ใหนักเรียนแรกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามขอคิดเห็น
                           4. คัดเลือก กลอนที่นักเรียนแตงไดครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติด
                               ปายนิเทศและอานใหเพื่อนหองอื่น ๆ ฟง
เกณฑการประเมิน            1. ความถูกตองในเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซมและพีระมิด
                                                                       ึ
                           2. ความไพเราะและเหมาะสม
                           3. การใชคํา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      14

8. บันทึกหลังการสอน

                                     บันทึกหลังการสอน
                        (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

               ประเด็นการบันทึก                           จุดเดน        จุดที่ควรปรับปรุง
 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
 2. การใชสื่อการเรียนรู
 3. การประเมินผลการเรียนรู
 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน
 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..
 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………


                                                           ลงชื่อ………………………………………..
                                                           ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                                                             15

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
       กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ..................
 ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                      ระดับการประเมิน
                          หัวขอการประเมิน
                                                                                    ดีมาก             ดี          พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

  แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
 ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                  ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                             ดีมาก           ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   16

                                        แผนการจัดการเรียนรูที่ 2
                              เรื่อง พื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย
                                              เวลา 3 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) อธิบายลักษณะและสมบัติของทรงกระบอกและกรวยได
        2) หาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวยได
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกได
        2) สามารถหาพื้นที่ผิวของกรวยได
        3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
          1) ทรงกระบอกเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาสองหนาเปนรูปวงกลมที่มีขนาดเทากัน
ซึ่งอยูในระนาบสองระนาบที่ขนานกัน
          2) แกนของทรงกระบอก คือเสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางวงกลมสองวงที่เปนฐานของทรง
กระบอก
          3) ทรงกระบอกตรงจะมีแกนและความสูงยาวเทากัน
          4) ทรงกระบอกเอียงแกนและความสูงจะมีความยาวไมเทากัน โดยที่แกนจะมีความยาว
มากกวาความสูง
          5) พื้นที่ผิวของทรงกระบอกจะเทากับผลรวมของพื้นที่ผิวขางและพื้นที่ฐานทั้งสองขาง
          6) กรวยเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มีจุดยอดจุดหนึ่งที่ไมอยูในระนาบ
ของฐาน
          7) แกนของกรวย คือเสนที่ลากเชื่อมจุดยอดและจุดศูนยกลางวงกลมที่ฐานของกรวย
          8) กรวยตรงจะมีความยาวแกนและความสูงเทากัน
          9) กรวยเอียงจะมีความยาวแกนและความสูงไมเทากัน
          10) พื้นที่ผิวของกรวยเทากับผลบวกของพื้นที่ฐานกับพื้นที่ผิวขาง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                             17

   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ
ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 - 4 ในหนังสือเรียน
       2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
       7) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นักเรียนเขาใจสมบัติของทรงกระบอกและกรวยแลวนําไปหาพื้นที่ผิวได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
     1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
     2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
     3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
    การสรุปผลการประเมิน
     ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                               18

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1(พื้นที่ผิวทรงกระบอก)
         ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งของที่อยูในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะ
เหมือนทรงกระบอกวานักเรียนรูจักหรือไม แลวใหนกเรียนอธิบายลักษณะและชวยกันยกตัวอยาง
                                                      ั
         ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวกรวย)
         ครูสนทนานักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของทรงกระบอกที่เรียนในชั่วโมงที่แลวจากนั้นใหนกเรียน
                                                                                       ั
ชวยกันยกตัวอยางสิ่งของที่อยูในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะเหมือนกรวย
    5.2 ขั้นสอน
                                กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวทรงกระบอก)
 1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องขอทรงกระบอกวานักเรียนรูจักหรือ ทักษะการคิดวิเคราะห
 ไม แลวใหนักเรียนอธิบายลักษณะและชวยกันยกตัวอยางทรงกระบอก ตอจาก
 นั้นครูนําตัวอยางของทรงกระบอกมาใหนักเรียนดูและพิจารณาลักษณะสวน
 ตางๆ ของทรงกระบอก แลวชวยกันสรุป ซึ่งจะไดดังนี้
     ทรงกระบอกเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาสองหนาเปนวงกลมที่มีขนาด
 เทากัน ซึ่งจะอยูในระนาบสองระนาบที่ขนานกัน
  2. ครูนําแผนชารตที่แสดงสวนตางของทรงกระบอกใหนักเรียนสังเกต พรอม ทักษะการคิดวิเคราะห
                                      ทั้งครูอธิบาย




 3. ครูถามนักเรียนวาแกนของทรงกระบอกหมายถึงอะไรใหนักเรียนชวยกัน
 อธิบาย ตอจากนั้นครูเปนผูสรุปใหจากสิ่งที่นักเรียนอธิบาย ซึ่งจะไดวา
 แกนของทรงกระบอก คือ เสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางวงกลมสองวงที่เปนฐาน
 ของทรงกระบอก
 4. ครูอธิบายเพิ่มวาสําหรับทรงกระบอกตรง แกนและความสูงจะมีความยาว
 เทากัน สวนทรงกระบอกเอียง แกนและความสูงจะมีความยาวไมเทากัน โดยที่
 แกนจะมีความยาวมากกวาความสูง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      19

                        กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
 5. ครูนําทรงกระบอกที่ทําจากกระดาษ แลวนํามาตัดตามขอบของวงกลมทั้ง
 สอง และในสวนที่เปนผิวขางตัดใหตั้งฉากกับเสนขอบรอบวงกลม จะไดดังนี้




 6. ใหนักเรียนพิจารณาสิ่งที่สังเกตเห็นจากการกระทําขางตน แลวชวยกันสรุป       ทักษะการตีความหมาย
 โดยครูเปนผูถามนํา ซึ่งจะไดดังนี้
 พื้นที่ผิวของทรงกระบอกประกอบดวย
     - สวนที่เปนวงกลมสองวง เรียกวา พื้นที่หนาตัดหรือพื้นที่ฐาน และ
     - สวนที่เปนผิวขางเมื่อตัดออกมาจะเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 7. ครูถามนักเรียนตอไปวา ถาทรงกระบอกมีความสูง h หนวย พื้นที่ฐานมีรัศมี       ทักษะการวิเคราะห
 r หนวย จะมีเสนรอบรูปวงกลมยาวเปนเทาไร (2πr หนวย)
 8.ใหนักเรียนชวยกันสรุปวาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกจะมีคาเปนเทาไร ซึ่งจะ
 ได พื้นที่ผิวทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขาง +พื้นที่ฐานสองขาง
 9. ตอจากนั้นครูซักถามนักเรียนวา ถาพื้นที่ผิวขางของทรงกระบอกเทากับพืนที่
                                                                            ้    ทักษะการตีความหมาย
 รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานกวาง h หนวย ยาว 2πr หนวย จะมีพื้นที่ผิวขางของ
 ทรงกระบอกและพื้นที่ฐานสองขางเปนเทาไร ใหนักเรียนชวยกันระดมความ
 คิดจนไดวา
 พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก =               2πrh ตารางหนวย
               พื้นที่ฐานสองขาง =          2 × (πr2)
                                         = 2πr2
 10. ครูถามนักเรียนวาใครสามารถสรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวจากสิ่งที่ไดมาจากตัว      ทักษะการสรุปความ
 อยางขางตนไดบาง ถานักเรียนตอบไมไดครูอาจใชคําถามเขาชวย จนสรุปไดวา
           พื้นที่ผิวทรงกระบอก         = 2πrh + 2πr2 ตารางหนวย
                                       = 2πr(h + r) ตารางหนวย
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                    20

                              กิจกรรมการเรียนการสอน                                                ฝกการคิดแบบ
 11. ครู นํ า เสนอตั ว อย า งที่ 1 ให นั ก เรี ย นได ศึ ก ษา โดยครู เป น ผู อ ธิ บ ายบน   ทักษะการคิดคํานวณ
 กระดานหรือเขียนบนแผนใส แลวใชเครื่องฉายขามศีรษะฉายใหนกเรียนดูดังนี้     ั
 ตัวอยางที่ 4 จงหาพื้ นที่ผิวของถังเก็บน้ํามันทรงกระบอกซึ่งมีความสูง 20.8
 เมตร และรัศมีของฐานยาว 34.6 เมตร
 พื้นที่ผิวทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่วงกลมสองขาง
                           = 2πrh + 2πr2 ตารางเมตร
                           ≈ (2 × 3.14 ×34.6 ×20.8)
                                    + (2 × 3.14 × 34.6 × 34.6) ตารางเมตร
                              ≈ 4,519.59 + 7,518.16 ตารางเมตร
                              ≈ 12,037.75 ตารางเมตร
 ดังนั้น ถังเก็บน้ํามันทรงกระบอกมีพื้นที่ผิวประมาณ 12,037.75 ตารางเมตร
 12. ครูยกตัวอยาง 2 – 3 ตัวอยางใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบโดยครูคอยแนะ                        ทักษะการคิดคํานวณ
 นําวิธีการคิดและตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนกอนที่จะใหทํากิจกรรม
 ตรวจสอบความเขาใจถานักเรียนยังไมเขาใจครูควรอธิบายเพิ่มเติม
 13. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 เปนการบาน โดยครูกําหนด                         ทักษะการคิดคํานวณ
 วันและเวลาสง
 ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวกรวย)
 1. ครูสนทนากับนักเรียนวานักเรียนรูจักกรวยหรือไม พรอมทั้งใหบอกลักษณะ                      ทักษะการคิดวิเคราะห
 ของกรวยและยกตัวอยาง ตอจากนั้นครูกลาววากรวยเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่
 มีฐานเปนรูปวงกลม มีจุดยอดจุดหนึ่งที่ไมอยูในระนาบของฐาน ครูนําแผนปาย
 ที่แสดงการเรียกชื่อและสวนตางๆ ใหนักเรียนสังเกตและศึกษาดังนี้




 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายความหมายของคําวาแกนของกรวยคืออะไร จาก ทักษะการตีความหมาย
 นั้น ครูสรุป ให อีกครั้งบนกระดาน ซึ่ งไดวา แกนของกรวย คื อ เส น ที่ ลาก
 เชื่อมจุดยอดและจุดศูนยกลางของวงกลมที่ฐานของกรวยนั้น ครูแนะนําใหนัก
 เรียนรูจักกรวยตรงและกรวยเอียงวามีลักษณะเปนอยางไร
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                               21

                           กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 3. ครูนํากรวยที่ทําจากกระดาษ แลวนํามาตัดตามขอบวงกลมที่เปนฐาน และใน
 สวนที่เปนผิวขางใหตัดจากขอบไปยังจุดยอดของกรวย ซึ่งจะไดดังนี้




 4. ใหนักเรียนพิจารณาจากการตัดกรวยขางตนและรวมกันสรุป ซึ่งจะไดวาพื้น ทักษะการคิดวิเคราะห
 ที่ผิวขางจะเปนรูปสามเหลี่ยมฐานโคงและผิวขางของกรวยสามารถนํามาตัด
 และจัดรูปใหมใหมีรูปเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
 ครูซักถามนักเรียนวา ถากําหนดใหกรวยมีสูงเอียง ℓ หนวย และฐานมีรัศมี r
 หน ว ย จะได เส น รอบรู ป วงกลมเท า กั บ เท า ไร (2πr) ต อ จากนั้ น เมื่ อ นํ า มา
 ประกอบเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน จะไดรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
 สูง ℓ หนวย มีฐานยาวเปนครึ่งหนึ่งของเสนรอบวงกลม ดังนั้น ฐานของรูปสี่
 เหลี่ยมดานขนานยาว πr หนวย
 สูง ℓ หนวย จึงมีพื้นที่ πrℓ ตารางหนวย
 5. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวของกรวยจากสิ่งที่กลาวมา ทักษะการสรุปความ
 แลว ไดดังนี้
 6. พื้นที่ผิวกรวย = พื้นที่ฐาน+ พื้นที่ผิวขาง
                      = πr2 + πrℓ = πr(r+ℓ)
 7. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 7ในหนังสือเรียนแม็ค
 ตั วอยางที่ 7 กรวยอัน หนึ่ งฐานเป น รูป วงกลม รัศมี ยาว 6 เซนติ เมตร สู ง 10
 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผวเทาไร (π ≈ 3.14)
                          ิ
 8. ครูใหนักเรียนอานโจทยแลวชวยกันสรางรูปตามที่โจทยกําหนด แลวชวย ทักษะการคิดคํานวณ
 กันหาคําตอบโดยครูเปนผูอธิบาย ไดดังนี้




 ให OM เปนสวนสูงของกรวย ON เปนรัศมีของวงกลม และ MN เปนสูงเอียง
 ของกรวย โดยใชทฤษฎีบทของพีทาโกรัส จะไดวา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      22

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
                MN2 = OM2 + ON2
                      = 102 + 62 = 136
               MN = 2 34
                          ≈ 11.66 เซนติเมตร
    พื้นที่ผิวกรวย = πr2 + πrℓ
                      ≈ (3.14× 6 ) + (3.14× 6 × 11.66) ตารางเซนติเมตร
                                    2

                      ≈      332.71 ตารางเซนติเมตร
    ดังนั้น กรวยมีพื้นที่ผิวประมาณ 332.71 ตารางเซนติเมตร
 9. ครูซักถามนักเรียนวามีขอสงสัยเกี่ยวกับตัวอยางที่ 7 หรือไม ถามีครูอธิบาย
 ใหนักเรียนฟงจนเขาใจ แลวใหทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 เพื่อตรวจ
 สอบความเขาใจของนักเรียน สุมใหนักเรียนออกมาเฉลยกิจกรรมตรวจสอบ
 ความเขาใจ 4 โดยครูเปนผูตรวจสอบความถูกตอง และใหนักเรียนที่ทําผิดแก
 ไขใหถูกตอง แลวนําสมุดมาสง

    5.3 ขั้นสรุป
        ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวทรงกระบอก)
        ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสูตรการหาพื้นที่ทรงกระบอก
        พื้นที่ผิวทรงกระบอก =              พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่ฐานสองหนา
                                    =      2πrh + 2πr2 =               2πr(h + r)
        ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวกรวย)
         ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสูตรการหาพื้นที่กรวย
                 พื้นที่ผิวกรวย =          พื้นที่ฐาน+ พื้นที่ผิวขาง
                                              2
                                    =      πr + πrℓ             =         πr(r+ℓ)

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
          - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
         - หองสมุดโรงเรียน
         - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
          - อินเทอรเน็ต (คนหาประวัตินักคณิตศาสตร “ยุคลิด”)
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                 23

7. กิจกรรมเสนอแนะ
     7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูมอบหมายใหนักเรียนตั้งโจทยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวยพรอม
ทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหวาทําไมโจทยของตัวเองถึงตองแสดงวิธีทําแบบนี้เปนทรง
กระบอกหรือกรวยเพราะเหตุใด
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน
ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียน
ชวยกันเขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวยเปนการประกวด

           ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย ”

ผลการเรียนรู              ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการหาพื้นที่ผิวของพื้นที่ผิว
                               ของทรงกระบอกและกรวย
ผลงานที่ตองการ            กลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย
ขั้นตอนการทํางาน           1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนตาง ๆ
                           2. ศึกษาเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย
                           3. ใหนักเรียนแรกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามขอคิดเห็น
                           4. คัดเลือก กลอนที่นักเรียนแตงไดครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติด
                              ปายนิเทศและอานใหเพื่อนหองอื่น ๆ ฟง
เกณฑการประเมิน            1. ความถูกตองในเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย
                           2. ความไพเราะและเหมาะสม
                           3. การใชคํา
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                      24

8. บันทึกหลังการสอน

                                     บันทึกหลังการสอน
                        (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน )

               ประเด็นการบันทึก                           จุดเดน        จุดที่ควรปรับปรุง
 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู
 2. การใชสื่อการเรียนรู
 3. การประเมินผลการเรียนรู
 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน
 บันทึกเพิ่มเติม
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………

                                                                ลงชื่อ…………………………………..
 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………
 …………………………………………………………………………………………………………………


                                                           ลงชื่อ………………………………………..
                                                           ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                                                                             25

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
       กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                     แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
 ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ..................
 ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                      ระดับการประเมิน
                          หัวขอการประเมิน
                                                                                    ดีมาก             ดี          พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
   การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร
   ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
   ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
   คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

  แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                   แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
 ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ......................................................................
                                                                                                  ระดับการประเมิน
                      หัวขอการประเมิน
                                                                             ดีมาก           ดี ปานกลาง นอย นอยมาก
  การวางแผน
  การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
  การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
  ความคิดสรางสรรค
  ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                26

                                      แผนการจัดการเรียนรูที่ 3
                                      เรื่อง พื้นที่ผิวของทรงกลม
                                             เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) อธิบายลักษณะและสมบัติของทรงกลมได
        2) หาพื้นที่ผวของทรงกลมได
                     ิ
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        1) สามารถบอกลักษณะและลักษณะของทรงกลมได
        2) สามารถหาพื้นที่ผิวของทรงกลมได

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
        1) ทรงกลมเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่ทุกๆ จุดบนพื้นที่ผิวจะอยูหางจากจุดจุดหนึ่งเปน
ระยะเทากัน ซึ่งเรียกจุดนั้นวาจุดศูนยกลางของทรงกลม
          2) พื้นที่ผิวของทรงกลมเทากับสี่เทาของพื้นที่วงกลม
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
        การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
        ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด
วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 และแบบฝกหัด 1 ในหนังสือเรียน
       2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                                   27

       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
       6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
       7) สงงาน
   3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
       1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
        2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
       นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะและสมบัติของทรงกลมไดพรอมทั้งหาพื้นที่ผิวของทรง
กลมไดอยางถูกตอง

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กระบวนการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
       ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของทรงกลม)
       ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งของที่พบในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะเปนรูปสามมิติ เชน
กลองนม ลูกบอล โดยใหนักเรียนยกตัวอยางและใหความหมายวาทําไมนักเรียนถึงคิดวาเปนรูป
สามมิติ
       ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของทรงกลม)
       ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องพื้นที่ผิวของทรงกลมที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการถาม
ตอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1                               28

   5.2 ขั้นสอน
                             กิจกรรมการเรียนการสอน                            ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของทรงกลม)
 1. ครูนําเสนอสถานการณเกี่ยวกับเรื่องสิ่งของที่มีลักษณะกลมใหนักเรียนตอบ ทักษะการคิดวิเคราะห
 คําถามวามีอะไรที่มีลักษณะกลมๆ ครูอธิบายใหนักเรียนทราบวา ทรงกลมเปน
 รูปเรขาคณิตสามมิติที่ทุกๆ จุดบนพื้นที่ผิวจะอยูหางจากจุดจุดหนึ่งเปนระยะ
 เทากัน เรียกจุดนั้นวาจุดศูนยกลางของทรงกลม
 2. ใหนักเรียนหาลูกบอลพลาสติกทรงกลมขนาดใดขนาดหนึ่งมาหนึ่งลูก แลว ทักษะการคิดวิเคราะห
 พิจารณาวาจะหาพื้นที่ผิวของทรงกลมนี้ไดอยางไร แลวนํามาเสนอแนวคิดใน
 ชั้นเรียน ตอจากนั้นครูและนักเรียนรวมกันพิจารณาวาแนวคิดใดนาจะเหมาะ
 สมมากที่สุด แลวใหนักเรียนลองลงมือกระทําเพื่อหาพื้นที่ผิวทรงกลมนั้นๆ
 3. ใหนักเรียนหาลูกบอลพลาสติกทรงกลมขนาดใดขนาดหนึ่งมาหนึ่งลูก แลว ทักษะการตีความหมาย
 ตัดกระดาษชิ้นเล็กใหมีพื้นที่ชิ้นละ 1 ตารางเซนติเมตร ติดพื้นผิวทรงกลมโดย
 พยายามไมใหกระดาษซอนทับกันและไมใหมีชองวางเหลืออยู แลวตอบคําถาม
 ตอไปนี้
      1) ตองใชกระดาษติดบนพื้นผิวทรงกลมกี่ตารางเซนติเมตร
       2) ทรงกลมมีพื้นที่ผิวกี่ตารางเซนติเมตร ทราบไดอยางไร
        3) นักเรียนจะหารัศมีของทรงกลมนี้ไดอยางไร และหารัศมีของทรงกลม
 ไดกี่เซนติเมตร
      4) จงหาพื้นที่วงกลมที่มีรศมีเทากับรัศมีทรงกลมตามขอ 3)
                                  ั
        5) จงหาอัตราสวนของพื้นที่ผิวทรงกลมตอพื้นที่วงกลม นักเรียนหาอัตรา
 สวนของพื้นที่ผิวทรงกลมตอพื้นที่วงกลมไดเทาใด
 4. ครูกลาวตอไปวา จากการกระทํากิจกรรมขางตนนี้ จะไดวา
                  พื้นที่ผิวทรงกลม                  4
                                             =
                 พื้นที่วงกลม                       1

 โดยที่ทรงกลมและวงกลมมีรศมียาวเทากัน ใหมีรัศมียาว r หนวย
                              ั
         ดังนั้น     พื้นที่ผิวทรงกลม     = 4
                             2                   1
                          πr

                    พื้นที่ผิวทรงกลม = 4πr2 5. ครูและนักเรียน
 รวมกันสรุปสูตรการหาพื้นที่ของทรงกลมอีกครั้งแลวให                     ทักษะการสรุปความ
 นักเรียนจดลงในสมุด
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1
Unit1

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Similar to Unit1

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 

Similar to Unit1 (13)

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (15)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Unit1

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร รายวิชาที่นํามาบูรณาการ การงานพื้นฐานอาชีพ ศิลปะ และภาษาไทย 1. มาตรฐานการเรียนรู 1.1 มฐ. ค 2.1 1.2 มฐ. ค 2.2 1.3 มฐ. ค 3.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ 2.1 ค 2.1 ม.3/1, 2, 3 2.2 ค 2.2 ม.3/1 2.3 ค 3.1 ม.3/1 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 รูปเรขาคณิตสามมิติ 3.2 พื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม 3.3 พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด 3.4 พื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกระบอก 3.5 พื้นที่ผิวและปริมาตรของกรวย 3.6 พื้นที่ผิวและปริมาตรของทรงกลม 3.7 การเปรียบเทียบความจุหรือปริมาตร 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 10 ในหนังสือเรียน 2) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1-5 ในหนังสือเรียน 3) ผลงานจากการทําแบบฝกหัดระคน 4) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในกาปฏิบติกิจกรรมกลุม ั 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 2 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝ ก คิ ด ต าม แ ล ะ ร ว ม ทํ า สอบความเขาใจ 1- 10 กิจกรรมในชั้นเรียน 2) การทําแบบฝกหัด 1 -5 - แนะการทํ า แบบฝ ก หั ด และ - ทํากิจกรรมตรวจสอบความ กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ เขาใจและแบบฝกหัด 3) แบบฝกหัดระคน - อธิ บ ายสรุป ความคิ ด รวบยอด - ทําแบบทดสอบหนวยยอย 4) การทําแบบทดสอบ ในแตละเรื่อง เปนรายกลุม 5.2 ผลการปฏิบัตงานไดแก ิ 1) การปฏิบั ติ กิ จกรรมใน - แนะนําวิธการเขียนแผนผังสรุป ี - ให นั ก เรี ย นเขี ย นแผนผั ง ชั้ น เรี ย น และการใช ความคิดรวบยอดเพื่อสรุปเนื้อ ความคิดประจําหนวย บริ ก ารของโรงเรี ย น หาประจําหนวย - ใหนักเรียนไปคนควาโจทย อยางเหมาะสม - แนะนํ า ให นั ก เรี ย นใช บ ริ ก าร ในห องสมุ ด โรงเรียนและ ห อ งสมุ ด ของโรงเรี ย นอย า ง ห อ งสมุ ด กลุ ม สาระการ เหมาะสม เรียนรูคณิตศาสตร 2) การมี ส ว นร ว มในการ - แนะนําวิธีการจัดกลุมและการ - ใหนักเรียนจัดกลุมตามที่ครู ปฏิบัติกิจกรรมกลุม ทํากิจกรรมกลุม มอบหมายและช วยกั น ทํ า กิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผนผัง - ทํ าแบบทดสอบหลังเรียน ทางการเรียน ความคิดรวบยอดประจําหนวย จบ อีกครั้ง
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 3 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 เรื่อง พื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) อธิบายลักษณะของปริซึม และพีระมิดได 2) หาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดไดได 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึมได 2) อธิบายลักษณะและสมบัติของพีระมิดได 3) สามารถหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ปริซึม คือรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาที่อยูในระนาบที่ขนานกันหนึ่งคูเปนรูปหลาย เหลี่ ย มที่ เท า กั น ทุ ก ประการ การเรี ย กชื่ อ ปริ ซึ ม มั ก เรี ย กชื่ อ ตามลั ก ษณะของฐาน เช น ปริ ซึ ม สามเหลี่ยมดานเทา ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก เปนตน 2) พื้นที่ผิวของปริซึม หมายถึงผลรวมพื้นที่ผิวทุกหนาของปริซึม ซึ่งจะไดวา พื้นที่ผิวของปริซม = ผลรวมพื้นที่ผวขางทุกหนา + ผลรวมพื้นที่ฐานสองหนา ึ ิ 3) พีระมิด คือรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานอยูในระนาบหนึ่ง ดานขางเปนรูปสามเหลียมทีมี ่ ่ จุดยอดมุมรวมกันที่จดๆ หนึ่ง โดยจุดยอดมุมจุดนี้ยงไมอยูในระนาบของฐาน ุ ั 4) พีระมิดตรง คือถาลากเสนจากจุดยอดมุมมาตั้งฉากกับฐาน แลวจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยู หางจากมุมที่ฐานเปนระยะเทากัน 5) พีระมิดเอียง คือถาลากเสนจากจุดยอดมุมมาตั้งฉากกับฐาน แลวจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยู หางจากมุมที่ฐานเปนระยะไมเทากัน 6) พื้นที่ผิวของพีระมิด คือผลรวมของพื้นที่ผิวทุกหนาของพีระมิด ซึ่งจะไดวา พื้นที่ผิวของพีระมิด = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + พื้นที่ฐาน 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 4 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1- 2 ในหนังสือเรียน 2) ผลงานจากการทําแบบฝกหัด 1 ขอ 1 – 6 ใหญในหนังสือเรียน 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามรถอธิบายลักษณะของปริซึมและพีระมิดได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 5 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของปริซม)ึ ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งของที่พบในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะเปนรูปสามมิติ เชน กลองนม ลูกบอล โดยใหนักเรียนยกตัวอยางและใหความหมายวาทําไมนักเรียนถึงคิดวาเปนรูป สามมิติ ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของพีระมิด) ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของปริซึมที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลวโดยการตั้ง คําถาม เชน - ปริซมมีลักษณะอยางไร ึ - สูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึมมีวาอยางไร - ยกตัวอยางโจทยใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ ชั่วโมงที่ 3 (พื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด) ครูสนทนากับนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องของปริซึมและพีระมิดที่เรียนมาในชั่วโมงที่ แลวโดยการตั้งคําถาม เชน - ปริซึมมีลักษณะอยางไร - พีระมิดมีลักษณะอยางไร - จํานวนหนาของพีระมิดขึ้นอยูกับจํานวนอะไร - การเรียกชื่อของพีระมิดจะเรียกตามอะไร - สูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึมมีวาอยางไร - สูตรการหาพื้นที่ผิวของพีระมิดมีวาอยางไร - ยกตัวอยางโจทยในการหาพื้นที่ผิวของพีระมิดและปริซึมใหนักเรียน ชวยกันหาคําตอบ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของปริซึม) 1. ครูนําแบบรูปเรขาคณิ ตสามมิ ติตางๆ เชน ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก ทักษะการคิดแปลความ กรวย และทรงกลม มาใหนักเรียนพิจารณา ตอจากนั้นครูซักถามนักเรียนวารู จักรูปเรขาคณิตตอไปนี้หรือไม โดยครูหยิบขึ้นมาทีละอันแลวใหนักเรียนบอก ชื่อ ถานักเรียนตอบไมได ครูควรแนะนําใหรูจัก 2. แบงกลุมนักเรียนออกเปน กลุมละ 4-5 คนจากนั้น ครูนํ าภาพของปริซึม ทักษะการใหเหตุผล แบบตางๆ ใหนักเรียนแตละกลุมศึกษารูปทรงปริซึม แลวนักเรียนแตละกลุม รวมกันสรางรูปปริซึม มากลุมละ 1 ชิ้น ตามที่ครูกําหนดให ไดแก
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 6 กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ กลุมที่ 1 ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา กลุมที่ 2 ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก กลุมที่ 3 ปริซึมสี่เหลี่ยมผืนผา กลุมที่ 4 ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส กลุมที่ 5 ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา 3. ใหนักเรียนบอกฐานของปริซึมและสวนสูงของปริซึมที่นักเรียนแตละกลุม ทักษะการคิดแปลความ ชวยกันสรางขึ้นมา แลวนําเสนอหนาชั้นเรียนใหเพื่อนๆไดทราบและสรุปชวย กัน ดังนี้ ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปสี่เหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคูอยูในระนาบที่ขนานกัน การเรียกชื่อปริซึม จะเรียกตามฐานของปริซึม เชน ฐานเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียกวา ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานเปนสามเหลี่ยม เรียกวา ปริซึมสามเหลี่ยม เปนตน ฐาน ความสูง ความสูง ฐาน ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ปริซึมสามเหลี่ยมดานเทา ความสูง ฐาน ปริซึมแปดเหลี่ยมดานเทา 4. ครูนํากลองกระดาษปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมีดานกวาง 6 หนวย ดานยาว ทักษะการคิดแปลความ 10 หนวย และดานสูง 3 หนวย มาใหนักเรียนสังเกตวามีกี่ดาน ตอจากนั้นครู แกะออกและซักถามนักเรียนวาภาพที่เกิดขึ้นเปนรูปเรขาคณิตหรือไม และเรียก วาอยางไร (เปนรูปเรขาคณิตสองมิติ และมีดานทั้งหมด 6 ดาน) ดังนี้ 3 หนวย 6 หนวย 10 หนวย
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 7 กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 6 หนวย 3 หนวย 3 หนวย 10 หนวย 5. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงจากการพิจารณาขางตนโดยการซักถาม ดังนี้ เมื่อพิจารณารูปจะเห็นวา ปริซึมมีหกหนา เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 3 × 6 ตารางหนวย กี่รูป (2 รูป) เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 3 × 10 ตารางหนวย กี่รูป (2 รูป) เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 6 × 10 ตารางหนวย กี่รูป (2 รูป) 6. ครูอธิบายใหนักเรียนฟงวาจากขางตนเราจะไดพ้นที่ผิวเทากับ ื 2(3 × 6) + 2(3 ×10) + 2(6 × 10) = 216 ตารางหน ว ย ต อ จากนั้ น ครู ใ ห นักเรียนอภิปรายหาขอสรุปเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของปริซึม ซึ่งจะไดวา พื้นที่ ผิวของปริซึมจะหมายถึง ผลรวมพื้นที่ผิวทุกหนาของปริซึม และครูอธิบายตอ ไปวาในการเรียกชื่อหนาของปริซึม จะเรียกหนาสองหนาที่มีพ้ืนที่เทากันทุก ประการวาฐานหรือหนาตัด และเรียกหนาอื่นๆ ที่เหลือวาผิวขาง ใหนักเรียน สรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวขางของปริซึมอีกครั้ง ซึ่งจะไดวา พื้นที่ผิวของปริซึม = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + ผลรวมของพื้นที่ฐาน
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 8 กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 7. ให นัก เรียนศึ ก ษาการหาพื้ น ที่ ผิวของปริซึมจากตัวอยางที่ 1 โดยครูเป น ผู ทักษะการคิดคํานวณ ซักถามและอธิบายไปพรอมๆ กันบนกระดานดํา ดังนี้ ตัวอยางที่ 1 จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมตอไปนี้ 8. ครู ว าดรู ป บนกระดานแล ว ให นั ก เรี ย นช ว ยกั น หาพื้ น ที่ ผิ ว ของปริ ซึ ม จน ทักษะการคิดคํานวณ นักเรียนเขาใจ ตอจากนั้น ครูให นักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของพีระมิด) 1.ครูสนทนาทบทวนสูตรการหาพื้นที่ของปริซึมโดยการซักถาม ตอจากนั้นครู ทักษะการใหเหตุผล แสดงภาพตัวอยางของพีระมิดแบบตางๆ ใหนักเรียนพิจารณาวามีลักษณะอยาง ไร และจะเรียกชื่อตามลักษณะของอะไร
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 9 กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงผลที่ไดจากการพิจารณาภาพขางตน จนสรุป ทักษะการคิดสรุปความ เปนบทนิยามของพีระมิดไดดงนี้ ั พีระมิดเปนรูปเรขาคณิตสามมิติ มีฐานอยูในระนาบหนึ่ง ดานขางเปนรูป สามเหลี่ยมที่มีจุดยอดมุมรวมกันที่จุดๆ หนึ่ง ซึ่งจุดยอดมุมจุดนี้ไมอยูในระนาบ ของฐาน 3.ครูแนะนําสวนตางๆ ของพีระมิดใหนักเรียนรูจักโดยการฉายภาพดวยเครื่อง ฉายภาพขามศีรษะ ดังนี้ การเรียกชื่อสวนตางๆ ของพีระมิด 4. ครูสนทนากับนักเรียนถึงเรื่องพีระมิดจนไดวา พีระมิดแบงไดดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) พีระมิดตรง คือจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยูหางจากมุมที่ฐานเปนระยะเทากัน 2) พีระมิดเอียง คือจุดที่ตั้งฉากกับฐานอยูหางจากมุมที่ฐานเปนระยะไมเทา กัน 5. ครูนํากลองกระดาษพีระมิดใหนักเรียนพิจารณา จากนั้นครูแกะออกแลวให นักเรียนชวยกันสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งจะไดดังนี้ 6. ให นั ก เรียนรวมกัน อภิ ป รายสู ตรการหาพื้ น ที่ ผิวของพี ระมิดโดยครูเปน ผู ทักษะการคิดใหเหตุผล ซักถามนําทาง ซึ่งจะไดดังนี้ พื้นที่ผิวของพีระมิด = ผลรวมของพื้นที่ผิวขางทุกหนา 1 พื้นที่ฐาน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 10 กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 7. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 2 ให นักเรียนศึกษาและทําความเขาใจโดยครูเป น ผู อธิบายดังนี้ ตัวอยางที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดตอไปนี้ 1) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 12 เซนติเมตร สูงเอียงยาว 10 เซนติเมตร 2) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 20 เซนติเมตร สวนสูงยาว 24 เซนติเมตร 3) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 10 เซนติเมตร สันดานขางยาว 13 เซนติเมตร 8. ใหนักเรียนชวยกันวาดรูปจากโจทยที่กําหนดใหและหาพื้นที่ผิวทั้งหมด ซึ่ง ทักษะการคิดคํานวณ จะไดดังนี้ 1) พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสฐานยาวดานละ 12 เซนติเมตร สูงเอียงยาว 10 เซนติเมตร พื้นที่ผิวของพีระมิด = พื้นที่ฐาน + พื้นที่ผิวขาง = (12 × 12) + ⎡4 × ⎛ 1 × 12 × 10 ⎞⎤ ตารางเซนติเมตร ⎢ ⎜ ⎟⎥ ⎣ ⎝ 2 ⎠⎦ = 144+ 240 ตารางเซนติเมตร = 384 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น พีระมิดมีพื้นที่ผิว 384 ตารางเซนติเมตร 9. ใหนักเรียนชวยกันทําขอ (2) และ (3) ตอบนกระดาน โดยครูเปนผูซักถาม ทักษะการคิดคํานวณ และแนะนํา 10. ใหนักเรียนชวยกันตั้งโจทยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด แลวใหหา ทักษะการคิดวิเคราะห คําตอบ ซัก 2-3 ตัวอยาง ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนวาเขาใจการหา พื้นที่ผิวของพีระมิดหรือเปลา หลังจากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบ ความเขาใจ 2 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันและเวลาสง
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 11 กิจกรรมกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 3 (พื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด) 1. สุมให นักเรียนออกมาเฉลยกิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 โดยครูตรวจ สอบความถูกตอง และใหคําชมเชยแกนักเรียนที่ทําถูกตองและสงงานตรงตาม เวลา แลวใหนักเรียนที่ทําผิดแกไขใหถูกตอง 2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด เพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห เปนการตรวจสอบความเขาใจ เชน - สูตรการหาพื้นที่ผิวปริซึมวาอยางไร - สูตรการหาพื้นที่ผิวของพีระมิดวาอยางไร จงอธิบาย - อื่นๆ 3. ใหนักเรียนแบงเปนทีม 4 ทีม ใหนักเรียนแขงกันหาคําตอบของโจทยที่ครู ทักษะการคิดคํานวณ กําหนดให โดยแตละทีมจะไดโจทยไมเหมือนกัน เมื่อครูแจกโจทยใหนักเรียน แลว ใหกลับไปชวยกันคิดและรีบกลับนํามาเขียนบนกระดาน ทีมใดเสร็จกอน และคําตอบถูกตอง ทีมนั้นจะเปนฝายไดรับรางวัลไป เชน - พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานยาวดานละ 20 นิ้ว ความสูง 28 นิ้ว จะมี พื้นที่ผิวเปนเทาไร - ปริซึมสามเหลี่ยมมุมฉาก ความยาวของดานประกอบมุมฉากของรูป สามเหลี่ยมเปน 10 และ 24 เซนติเมตร ปริซึมหนา 13 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิว ของปริซึมนี้ เปนตน 4. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 1 ถึงขอ 6 ใหญเปนการบาน โดยครูกําหนด วันและเวลาในการสง ครูอาจนําเฉลยไปติดไวที่ปายนิเทศเพื่อใหนักเรียนศึกษา ขอที่ทําผิดตอและแกไขใหถูกตอง 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของปริซึม) 1. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความหมายของปริซึม และสังเกตการเรียกชื่อของปริซึม ปริซึม คือ ทรงสามมิติที่มีฐานทั้งสองเปนรูปสี่เหลี่ยมที่เทากันทุกประการ และฐานทั้งคู อยูในระนาบที่ขนานกัน 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึม พื้นที่ผิวของปริซึม = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + พื้นที่ฐานสองหนา
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 12 ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของพีระมิด) 1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกชื่อสวนตาง ๆ ของพีระมิด 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด พื้นที่ผิวของพีระมิด = ผลรวมพื้นที่ผิวขางทุกหนา + พื้นที่ฐานสองหนา ชั่วโมงที่ 3 (พื้นที่ผิวของปริซมและพีระมิด) ึ ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับสูตรการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดรวมถึง ขั้นตอนวิธการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด ี 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 - กระดาษ A4 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนตั้งโจทยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก พรอมทั้ง แสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหวาทําไมโจทยของตัวเองถึงตองแสดงวิธีทําแบบนี้เปนปริซึมหรือ พีระมิดเพราะเหตุใด ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้ง หมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 13 ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวยกัน เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิดเปนการประกวด ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซมและพีระมิด ” ึ ผลการเรียนรู ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการหาพื้นที่ผิวของปริซึม และพีระมิด ผลงานที่ตองการ กลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด ขั้นตอนการทํางาน 1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนตาง ๆ 2. ศึกษาเรื่องพื้นที่ผิวของปริซึมและพีระมิด 3. ใหนักเรียนแรกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามขอคิดเห็น 4. คัดเลือก กลอนที่นักเรียนแตงไดครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติด ปายนิเทศและอานใหเพื่อนหองอื่น ๆ ฟง เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองในเรื่องของพื้นที่ผิวของปริซมและพีระมิด ึ 2. ความไพเราะและเหมาะสม 3. การใชคํา
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 14 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 15 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................. ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 16 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 เรื่อง พื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย เวลา 3 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) อธิบายลักษณะและสมบัติของทรงกระบอกและกรวยได 2) หาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวยได 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกได 2) สามารถหาพื้นที่ผิวของกรวยได 3) อธิบายถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ทรงกระบอกเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาสองหนาเปนรูปวงกลมที่มีขนาดเทากัน ซึ่งอยูในระนาบสองระนาบที่ขนานกัน 2) แกนของทรงกระบอก คือเสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางวงกลมสองวงที่เปนฐานของทรง กระบอก 3) ทรงกระบอกตรงจะมีแกนและความสูงยาวเทากัน 4) ทรงกระบอกเอียงแกนและความสูงจะมีความยาวไมเทากัน โดยที่แกนจะมีความยาว มากกวาความสูง 5) พื้นที่ผิวของทรงกระบอกจะเทากับผลรวมของพื้นที่ผิวขางและพื้นที่ฐานทั้งสองขาง 6) กรวยเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเปนรูปวงกลม มีจุดยอดจุดหนึ่งที่ไมอยูในระนาบ ของฐาน 7) แกนของกรวย คือเสนที่ลากเชื่อมจุดยอดและจุดศูนยกลางวงกลมที่ฐานของกรวย 8) กรวยตรงจะมีความยาวแกนและความสูงเทากัน 9) กรวยเอียงจะมีความยาวแกนและความสูงไมเทากัน 10) พื้นที่ผิวของกรวยเทากับผลบวกของพื้นที่ฐานกับพื้นที่ผิวขาง
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 17 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ ทักษะการคิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 - 4 ในหนังสือเรียน 2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจสมบัติของทรงกระบอกและกรวยแลวนําไปหาพื้นที่ผิวได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 18 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1(พื้นที่ผิวทรงกระบอก) ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งของที่อยูในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะ เหมือนทรงกระบอกวานักเรียนรูจักหรือไม แลวใหนกเรียนอธิบายลักษณะและชวยกันยกตัวอยาง ั ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวกรวย) ครูสนทนานักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของทรงกระบอกที่เรียนในชั่วโมงที่แลวจากนั้นใหนกเรียน ั ชวยกันยกตัวอยางสิ่งของที่อยูในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะเหมือนกรวย 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวทรงกระบอก) 1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องขอทรงกระบอกวานักเรียนรูจักหรือ ทักษะการคิดวิเคราะห ไม แลวใหนักเรียนอธิบายลักษณะและชวยกันยกตัวอยางทรงกระบอก ตอจาก นั้นครูนําตัวอยางของทรงกระบอกมาใหนักเรียนดูและพิจารณาลักษณะสวน ตางๆ ของทรงกระบอก แลวชวยกันสรุป ซึ่งจะไดดังนี้ ทรงกระบอกเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหนาสองหนาเปนวงกลมที่มีขนาด เทากัน ซึ่งจะอยูในระนาบสองระนาบที่ขนานกัน 2. ครูนําแผนชารตที่แสดงสวนตางของทรงกระบอกใหนักเรียนสังเกต พรอม ทักษะการคิดวิเคราะห ทั้งครูอธิบาย 3. ครูถามนักเรียนวาแกนของทรงกระบอกหมายถึงอะไรใหนักเรียนชวยกัน อธิบาย ตอจากนั้นครูเปนผูสรุปใหจากสิ่งที่นักเรียนอธิบาย ซึ่งจะไดวา แกนของทรงกระบอก คือ เสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางวงกลมสองวงที่เปนฐาน ของทรงกระบอก 4. ครูอธิบายเพิ่มวาสําหรับทรงกระบอกตรง แกนและความสูงจะมีความยาว เทากัน สวนทรงกระบอกเอียง แกนและความสูงจะมีความยาวไมเทากัน โดยที่ แกนจะมีความยาวมากกวาความสูง
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 19 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 5. ครูนําทรงกระบอกที่ทําจากกระดาษ แลวนํามาตัดตามขอบของวงกลมทั้ง สอง และในสวนที่เปนผิวขางตัดใหตั้งฉากกับเสนขอบรอบวงกลม จะไดดังนี้ 6. ใหนักเรียนพิจารณาสิ่งที่สังเกตเห็นจากการกระทําขางตน แลวชวยกันสรุป ทักษะการตีความหมาย โดยครูเปนผูถามนํา ซึ่งจะไดดังนี้ พื้นที่ผิวของทรงกระบอกประกอบดวย - สวนที่เปนวงกลมสองวง เรียกวา พื้นที่หนาตัดหรือพื้นที่ฐาน และ - สวนที่เปนผิวขางเมื่อตัดออกมาจะเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 7. ครูถามนักเรียนตอไปวา ถาทรงกระบอกมีความสูง h หนวย พื้นที่ฐานมีรัศมี ทักษะการวิเคราะห r หนวย จะมีเสนรอบรูปวงกลมยาวเปนเทาไร (2πr หนวย) 8.ใหนักเรียนชวยกันสรุปวาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกจะมีคาเปนเทาไร ซึ่งจะ ได พื้นที่ผิวทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขาง +พื้นที่ฐานสองขาง 9. ตอจากนั้นครูซักถามนักเรียนวา ถาพื้นที่ผิวขางของทรงกระบอกเทากับพืนที่ ้ ทักษะการตีความหมาย รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีดานกวาง h หนวย ยาว 2πr หนวย จะมีพื้นที่ผิวขางของ ทรงกระบอกและพื้นที่ฐานสองขางเปนเทาไร ใหนักเรียนชวยกันระดมความ คิดจนไดวา พื้นที่ผิวขางของทรงกระบอก = 2πrh ตารางหนวย พื้นที่ฐานสองขาง = 2 × (πr2) = 2πr2 10. ครูถามนักเรียนวาใครสามารถสรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวจากสิ่งที่ไดมาจากตัว ทักษะการสรุปความ อยางขางตนไดบาง ถานักเรียนตอบไมไดครูอาจใชคําถามเขาชวย จนสรุปไดวา พื้นที่ผิวทรงกระบอก = 2πrh + 2πr2 ตารางหนวย = 2πr(h + r) ตารางหนวย
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 20 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 11. ครู นํ า เสนอตั ว อย า งที่ 1 ให นั ก เรี ย นได ศึ ก ษา โดยครู เป น ผู อ ธิ บ ายบน ทักษะการคิดคํานวณ กระดานหรือเขียนบนแผนใส แลวใชเครื่องฉายขามศีรษะฉายใหนกเรียนดูดังนี้ ั ตัวอยางที่ 4 จงหาพื้ นที่ผิวของถังเก็บน้ํามันทรงกระบอกซึ่งมีความสูง 20.8 เมตร และรัศมีของฐานยาว 34.6 เมตร พื้นที่ผิวทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่วงกลมสองขาง = 2πrh + 2πr2 ตารางเมตร ≈ (2 × 3.14 ×34.6 ×20.8) + (2 × 3.14 × 34.6 × 34.6) ตารางเมตร ≈ 4,519.59 + 7,518.16 ตารางเมตร ≈ 12,037.75 ตารางเมตร ดังนั้น ถังเก็บน้ํามันทรงกระบอกมีพื้นที่ผิวประมาณ 12,037.75 ตารางเมตร 12. ครูยกตัวอยาง 2 – 3 ตัวอยางใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบโดยครูคอยแนะ ทักษะการคิดคํานวณ นําวิธีการคิดและตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนกอนที่จะใหทํากิจกรรม ตรวจสอบความเขาใจถานักเรียนยังไมเขาใจครูควรอธิบายเพิ่มเติม 13. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 เปนการบาน โดยครูกําหนด ทักษะการคิดคํานวณ วันและเวลาสง ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวกรวย) 1. ครูสนทนากับนักเรียนวานักเรียนรูจักกรวยหรือไม พรอมทั้งใหบอกลักษณะ ทักษะการคิดวิเคราะห ของกรวยและยกตัวอยาง ตอจากนั้นครูกลาววากรวยเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่ มีฐานเปนรูปวงกลม มีจุดยอดจุดหนึ่งที่ไมอยูในระนาบของฐาน ครูนําแผนปาย ที่แสดงการเรียกชื่อและสวนตางๆ ใหนักเรียนสังเกตและศึกษาดังนี้ 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายความหมายของคําวาแกนของกรวยคืออะไร จาก ทักษะการตีความหมาย นั้น ครูสรุป ให อีกครั้งบนกระดาน ซึ่ งไดวา แกนของกรวย คื อ เส น ที่ ลาก เชื่อมจุดยอดและจุดศูนยกลางของวงกลมที่ฐานของกรวยนั้น ครูแนะนําใหนัก เรียนรูจักกรวยตรงและกรวยเอียงวามีลักษณะเปนอยางไร
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 21 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 3. ครูนํากรวยที่ทําจากกระดาษ แลวนํามาตัดตามขอบวงกลมที่เปนฐาน และใน สวนที่เปนผิวขางใหตัดจากขอบไปยังจุดยอดของกรวย ซึ่งจะไดดังนี้ 4. ใหนักเรียนพิจารณาจากการตัดกรวยขางตนและรวมกันสรุป ซึ่งจะไดวาพื้น ทักษะการคิดวิเคราะห ที่ผิวขางจะเปนรูปสามเหลี่ยมฐานโคงและผิวขางของกรวยสามารถนํามาตัด และจัดรูปใหมใหมีรูปเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ครูซักถามนักเรียนวา ถากําหนดใหกรวยมีสูงเอียง ℓ หนวย และฐานมีรัศมี r หน ว ย จะได เส น รอบรู ป วงกลมเท า กั บ เท า ไร (2πr) ต อ จากนั้ น เมื่ อ นํ า มา ประกอบเปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน จะไดรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน สูง ℓ หนวย มีฐานยาวเปนครึ่งหนึ่งของเสนรอบวงกลม ดังนั้น ฐานของรูปสี่ เหลี่ยมดานขนานยาว πr หนวย สูง ℓ หนวย จึงมีพื้นที่ πrℓ ตารางหนวย 5. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสูตรการหาพื้นที่ผิวของกรวยจากสิ่งที่กลาวมา ทักษะการสรุปความ แลว ไดดังนี้ 6. พื้นที่ผิวกรวย = พื้นที่ฐาน+ พื้นที่ผิวขาง = πr2 + πrℓ = πr(r+ℓ) 7. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 7ในหนังสือเรียนแม็ค ตั วอยางที่ 7 กรวยอัน หนึ่ งฐานเป น รูป วงกลม รัศมี ยาว 6 เซนติ เมตร สู ง 10 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ผวเทาไร (π ≈ 3.14) ิ 8. ครูใหนักเรียนอานโจทยแลวชวยกันสรางรูปตามที่โจทยกําหนด แลวชวย ทักษะการคิดคํานวณ กันหาคําตอบโดยครูเปนผูอธิบาย ไดดังนี้ ให OM เปนสวนสูงของกรวย ON เปนรัศมีของวงกลม และ MN เปนสูงเอียง ของกรวย โดยใชทฤษฎีบทของพีทาโกรัส จะไดวา
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 22 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ MN2 = OM2 + ON2 = 102 + 62 = 136 MN = 2 34 ≈ 11.66 เซนติเมตร พื้นที่ผิวกรวย = πr2 + πrℓ ≈ (3.14× 6 ) + (3.14× 6 × 11.66) ตารางเซนติเมตร 2 ≈ 332.71 ตารางเซนติเมตร ดังนั้น กรวยมีพื้นที่ผิวประมาณ 332.71 ตารางเซนติเมตร 9. ครูซักถามนักเรียนวามีขอสงสัยเกี่ยวกับตัวอยางที่ 7 หรือไม ถามีครูอธิบาย ใหนักเรียนฟงจนเขาใจ แลวใหทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 เพื่อตรวจ สอบความเขาใจของนักเรียน สุมใหนักเรียนออกมาเฉลยกิจกรรมตรวจสอบ ความเขาใจ 4 โดยครูเปนผูตรวจสอบความถูกตอง และใหนักเรียนที่ทําผิดแก ไขใหถูกตอง แลวนําสมุดมาสง 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวทรงกระบอก) ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสูตรการหาพื้นที่ทรงกระบอก พื้นที่ผิวทรงกระบอก = พื้นที่ผิวขาง + พื้นที่ฐานสองหนา = 2πrh + 2πr2 = 2πr(h + r) ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวกรวย) ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสูตรการหาพื้นที่กรวย พื้นที่ผิวกรวย = พื้นที่ฐาน+ พื้นที่ผิวขาง 2 = πr + πrℓ = πr(r+ℓ) 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - อินเทอรเน็ต (คนหาประวัตินักคณิตศาสตร “ยุคลิด”)
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 23 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนตั้งโจทยเกี่ยวกับการหาพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวยพรอม ทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดมาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหวาทําไมโจทยของตัวเองถึงตองแสดงวิธีทําแบบนี้เปนทรง กระบอกหรือกรวยเพราะเหตุใด ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงาน ทั้งหมดจัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียน ชวยกันเขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวยเปนการประกวด ภาระงาน “เขียนกลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย ” ผลการเรียนรู ใชกระบวนการเขียนกลอนสื่อความหมายในการหาพื้นที่ผิวของพื้นที่ผิว ของทรงกระบอกและกรวย ผลงานที่ตองการ กลอนเกี่ยวกับเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย ขั้นตอนการทํางาน 1. ศึกษาลักษณะการเขียนกลอนตาง ๆ 2. ศึกษาเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย 3. ใหนักเรียนแรกเปลี่ยนกลอนกับเพื่อนเพื่อปรับปรุงตามขอคิดเห็น 4. คัดเลือก กลอนที่นักเรียนแตงไดครอบคลุมเนื้อหาและมีความไพเราะติด ปายนิเทศและอานใหเพื่อนหองอื่น ๆ ฟง เกณฑการประเมิน 1. ความถูกตองในเรื่องของพื้นที่ผิวของทรงกระบอกและกรวย 2. ความไพเราะและเหมาะสม 3. การใชคํา
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 24 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 25 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล กิจกรรมตรวจสอบความเขาใจและแบบฝกหัดในหนังสือเรียน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................. ครั้งที่ ................................................................ ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน .................................. ชั้น .......... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ ................................................................. ผูสังเกต ...................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 26 แผนการจัดการเรียนรูที่ 3 เรื่อง พื้นที่ผิวของทรงกลม เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) อธิบายลักษณะและสมบัติของทรงกลมได 2) หาพื้นที่ผวของทรงกลมได ิ 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) สามารถบอกลักษณะและลักษณะของทรงกลมได 2) สามารถหาพื้นที่ผิวของทรงกลมได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ทรงกลมเปนรูปเรขาคณิตสามมิติที่ทุกๆ จุดบนพื้นที่ผิวจะอยูหางจากจุดจุดหนึ่งเปน ระยะเทากัน ซึ่งเรียกจุดนั้นวาจุดศูนยกลางของทรงกลม 2) พื้นที่ผิวของทรงกลมเทากับสี่เทาของพื้นที่วงกลม 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิด วิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานจากการทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 และแบบฝกหัด 1 ในหนังสือเรียน 2) ผลงานจากการทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงานิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 27 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะและสมบัติของทรงกลมไดพรอมทั้งหาพื้นที่ผิวของทรง กลมไดอยางถูกตอง 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กระบวนการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของทรงกลม) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งของที่พบในชีวิตประจําวันที่มีลักษณะเปนรูปสามมิติ เชน กลองนม ลูกบอล โดยใหนักเรียนยกตัวอยางและใหความหมายวาทําไมนักเรียนถึงคิดวาเปนรูป สามมิติ ชั่วโมงที่ 2 (พื้นที่ผิวของทรงกลม) ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องพื้นที่ผิวของทรงกลมที่เรียนในชั่วโมงที่แลวโดยการถาม ตอบ
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรพื้นฐาน ม.3 ภาคเรียนที่ 1 28 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (พื้นที่ผิวของทรงกลม) 1. ครูนําเสนอสถานการณเกี่ยวกับเรื่องสิ่งของที่มีลักษณะกลมใหนักเรียนตอบ ทักษะการคิดวิเคราะห คําถามวามีอะไรที่มีลักษณะกลมๆ ครูอธิบายใหนักเรียนทราบวา ทรงกลมเปน รูปเรขาคณิตสามมิติที่ทุกๆ จุดบนพื้นที่ผิวจะอยูหางจากจุดจุดหนึ่งเปนระยะ เทากัน เรียกจุดนั้นวาจุดศูนยกลางของทรงกลม 2. ใหนักเรียนหาลูกบอลพลาสติกทรงกลมขนาดใดขนาดหนึ่งมาหนึ่งลูก แลว ทักษะการคิดวิเคราะห พิจารณาวาจะหาพื้นที่ผิวของทรงกลมนี้ไดอยางไร แลวนํามาเสนอแนวคิดใน ชั้นเรียน ตอจากนั้นครูและนักเรียนรวมกันพิจารณาวาแนวคิดใดนาจะเหมาะ สมมากที่สุด แลวใหนักเรียนลองลงมือกระทําเพื่อหาพื้นที่ผิวทรงกลมนั้นๆ 3. ใหนักเรียนหาลูกบอลพลาสติกทรงกลมขนาดใดขนาดหนึ่งมาหนึ่งลูก แลว ทักษะการตีความหมาย ตัดกระดาษชิ้นเล็กใหมีพื้นที่ชิ้นละ 1 ตารางเซนติเมตร ติดพื้นผิวทรงกลมโดย พยายามไมใหกระดาษซอนทับกันและไมใหมีชองวางเหลืออยู แลวตอบคําถาม ตอไปนี้ 1) ตองใชกระดาษติดบนพื้นผิวทรงกลมกี่ตารางเซนติเมตร 2) ทรงกลมมีพื้นที่ผิวกี่ตารางเซนติเมตร ทราบไดอยางไร 3) นักเรียนจะหารัศมีของทรงกลมนี้ไดอยางไร และหารัศมีของทรงกลม ไดกี่เซนติเมตร 4) จงหาพื้นที่วงกลมที่มีรศมีเทากับรัศมีทรงกลมตามขอ 3) ั 5) จงหาอัตราสวนของพื้นที่ผิวทรงกลมตอพื้นที่วงกลม นักเรียนหาอัตรา สวนของพื้นที่ผิวทรงกลมตอพื้นที่วงกลมไดเทาใด 4. ครูกลาวตอไปวา จากการกระทํากิจกรรมขางตนนี้ จะไดวา พื้นที่ผิวทรงกลม 4 = พื้นที่วงกลม 1 โดยที่ทรงกลมและวงกลมมีรศมียาวเทากัน ใหมีรัศมียาว r หนวย ั ดังนั้น พื้นที่ผิวทรงกลม = 4 2 1 πr พื้นที่ผิวทรงกลม = 4πr2 5. ครูและนักเรียน รวมกันสรุปสูตรการหาพื้นที่ของทรงกลมอีกครั้งแลวให ทักษะการสรุปความ นักเรียนจดลงในสมุด