SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
Download to read offline
หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง พหุนามและเศษสวนของพหุนาม
รายวิชาที่นํามาบูรณาการ
   ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และการงานพื้นฐานอาชีพ

1. มาตรฐานการเรียนรู
   มฐ. ค 6.1

2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ
   ค 6.1 ม.2/1, 2

3. สาระการเรียนรูประจําหนวย
   3.1 เอกนาม
   3.2 สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม
   3.3 การบวกและลบเอกนาม
   3.4 พหุนาม
   3.5 การบวกพหุนาม
   3.6 การลบพหุนาม
   3.7 การคูณพหุนาม
   3.8 การหารพหุนาม
   3.9 การบวก ลบ คูณ หาร เศษสวน
   3.10 การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม
   3.11 การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม
   3.12 การแกสมการเศษสวนของพหุนามอยางงาย

4. รองรอยการเรียนรู
   4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-18
        2) การทําแบบฝกหัด
        3) การทําแบบทดสอบ
   4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก
        1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม
        2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม
   4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                42

5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม

                                                     แนวทางการจัดการเรียนรู
      รองรอยการเรียนรู
                                               บทบาทครู                บทบาทนักเรียน
5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก
   1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง             - ฝก คิดตาม ตอบคําถาม และ
       สอบความเขาใจ 1-18                                              รวมทํากิจกรรมในชั้นเรียน
    2) การทําแบบฝกหัด          - แนะนํ า การทํ า แบบฝ ก หั ด       - ทํากิจกรรมตรวจสอบความ
                                   และกิ จกรรม ต รวจส อ บ              เขาใจและแบบฝกหัด
                                   ความเขาใจ
    3) การทําแบบทดสอบ           - อธิบายสรุปความคิดรวบยอด            - ทํ า แบบทดสอบหน ว ยย อ ย
                                   ในแตละเรื่อง                       เปนรายกลุม รายบุคคล
5.2 ผลการปฏิบัตงาน ไดแก
                     ิ
    1) การปฏิบั ติกิ จกรรมใน - แนะนํ าวิ ธี ก ารเขี ย นแผนผั ง       - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความ
       ชั้ น เรี ย น และก ารใช สรุ ป ความคิ ด รวบยอดเพื่ อ             คิดประจําหนวย
       บริ ก ารของโรงเรี ย น สรุปเนื้อหาประจําหนวย
       อยางเหมาะสม             - แนะนําใหนักเรียนใชบริการ      - ให นั ก เรี ย นไปค น คว า โจทย
                                  ห อ งสมุ ดของโรงเรียนอยาง       ในห อ งสมุ ด โรงเรี ย นและ
                                  เหมาะสม                           หองสมุดกลุมสาระการเรียน
                                                                    รูคณิตศาสตร
   2) การมี ส ว นร ว มในการ - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนและ - ให นั ก เรีย นจัด กลุ ม ตามที่ ค รู
      ปฏิบัติกิจกรรมกลุม       แนะนํ า วิ ธี ก ารจั ด กลุ ม และ มอบหมายและช ว ยกั น ทํ า
                                การทํากิจกรรมกลุม                  กิจกรรมในชั้นเรียน
5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผน - ทําแบบทดสอบ
    ทางการเรียน                 ผั งความคิ ด รวบยอดประจํ า
                                หนวยอีกครั้ง และใหนักเรียน
                                ทําแบบทดสอบ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                      43

                                  แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1)
                                            เรื่อง เอกนาม
                                           เวลา 1 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถบอกไดวานิพจนใดเปนเอกนาม
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถบอกความหมายของเอกนาม และตอบไดวานิพจนใดบางเปนเอกนามไดอยางถูกตอง

2. สาระสําคัญ
    2.1 สาระการเรียนรู
         1) ขอความในรูปสัญลักษณของการบวก การลบ การคูณ หรือการหาร ของคาคงตัวและตัวแปร
ตางๆ เรียกวา นิพจน
         2) เอกนาม คือนิพจนที่สามารถเขียนไดในรูปการคูณของคาคงตัวและตัวแปรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้นไป
โดยที่เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก
    2.2 ทักษะ / กระบวนการ
         การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
    2.3 ทักษะการคิด
         ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะ
การใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และแบบฝกหัด 1
        2) แบบทดสอบตามที่ครูกําหนด
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน
        2) รวมกันทํากิจกรรมตามที่ครูกําหนด
        3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        4) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         44

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
         นักเรียนเขาใจและสามารถอธิบายความหมายของเอกนามได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 (ความหมายของเอกนาม)
          ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนจํานวน แตบางครั้งเราไมทราบวาจํานวนที่
กําลังกลาวถึงเปนจํานวนใด เชน สามเทาของจํานวนหนึ่ง เปนตน
     5.2 ขั้นสอน
                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนจํานวน ทักษะการคิดวิเคราะห
 แตบางครั้งเราไมทราบวาจํานวนที่กลาวถึงเปน จํานวนใดๆ และใหนักเรียน
 พิจารณาตัวอยางตอไปนี้
      - สามเทาของจํานวนหนึ่ง
      - จํานวนหนึ่งบวกดวย 5
      - จํานวนหนึ่งลบดวย 6
      - นําสี่เทาของกําลังสองของจํานวนจํานวนหนึ่งไปบวกกับ 2
 2. ครูซักถามนักเรียนวาประโยคดังกลาวสามารถเขียนแทนไดอยางไร ถาให ทักษะการตีความหมาย
 จํานวนจํานวนหนึ่ง คือ x                                                    ทักษะการคิดวิเคราะห
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                    45

                                      กิจกรรมการเรียนการสอน                                   ฝกการคิดแบบ
     - 3x หรือ 3 × x
     - x+5
     - x–6
     - 4x2 + 2
 ครูแนะนําการเรียก x ที่ใชแทน จํานวนจํานวนหนึ่ง นี้วา ตัวแปร และเรียก 2, 3,
 4, 5, 6 ในแตละขอความวา คาคงตัว
 ครูแนะนํานักเรียนตอวาขอความที่เขียนในรูปสัญลักษณของการบวก ลบ คูณ
 หรื อ หาร ของค า คงตั ว และตั ว แปรต า งๆ เช น 3x, x + 5, x – 6, 4x2 + 2 ว า
 นิพจน
 3. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางอื่นๆ ที่เปนนิพจน ครูแนะนํานักเรียนตอไปวา ทักษะการคิดวิเคราะห
 นิพจนที่สามารถเขียนไดในรูปการคูณของคาคงตัวและตัวแปรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้น
 ไป โดยที่เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก เรียกวา
 เอกนาม
 4. ใหนกเรียนพิจารณานิพจนตอไปนี้วาเปนเอกนามหรือไม เพราะเหตุใด
          ั                                                                       ทักษะการคิดวิเคราะห
     1) 5x 2                2) 32                 3) − 4 x 2 y 2
                                                        3
                                           x
    4) 6 x y       3   −2
                            5) 64
 5. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยอยางละเอียดไดดังนี้                                 ทักษะการคิดวิเคราะห
    1) 5x2 มี 5 เปนคาคงตัว x เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 2 ดังนั้น 5x2 เปน ทักษะการคิดสรุปความ
 เอกนาม
    2) 32 หรือ 3x-2 มี 3 เปนคาคงตัว x เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ -2 ดัง
              x
 นั้น     3
                  ไมเปนเอกนาม
         x2
        3) − 4 x 2 y 2 มี
             3
                            −
                                4
                                3
                                    เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 2
 และ 3 ดังนั้น − 4 x 2 y 2 เปนเอกนาม
                 3
     4) 6x3y-2 มี 6 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 3 และ
 -2 ดังนั้น 6x3y-2 ไมเปนเอกนาม
     5) 64 หรือ 64x0 มี 64 เปนคาคงตัว x เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 0 ดัง
 นั้น 64 เปนเอกนาม
 6. ครูซักถามนักเรียนวาใครมีขอสงสัยอะไรบาง ถาไมมีใหนักเรียนทํากิจกรรม ทักษะการคิดคํานวณ
 ตรวจสอบความเขาใจ 1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน โดยใหนักเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         46

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                                ฝกการคิดแบบ
 ออกมานําเสนอเปนขอๆ โดยครูตรวจสอบความถูกตอง ถามีครูอธิบายเพิ่มเติม
 หรือยกตัวอยางประกอบ
 7. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 1 เปนการบานและกําหนดวันสง             ทักษะการคิดคํานวณ
     5.3 ขั้นสรุป
         นักเรียนชวยกันสรุปความหมายของเอกนาม ดังนี้
          เอกนาม คือ นิพจนที่สามารถเขียนไดในรูปการคูณของคาคงตัวและตัวแปรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้นไป โดย
ที่เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของเอกนาม พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดวา
นิพจนใดเปนเอกนาม มาคนละ 5 ขอ
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมด
จัดทําเปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
   7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวยกัน
เขียนกลอนเกี่ยวกับความหมายของเอกนามได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         47

8. บันทึกหลังการสอน

                                           บันทึกหลังการสอน
                              (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน )
                                                     ี

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน           จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..
                                                                 ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                                 48

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                         แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
  ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                         ระดับการประเมิน
                               หัวขอการประเมิน
                                                                                                 ดีมาก                  ดี              พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                               แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
   ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                ดี            ปานกลาง นอย นอยมาก
   การวางแผน
   การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
   การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
   ความคิดสรางสรรค
   ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                    49

                                  แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 2)
                                  เรื่อง สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม
                                              เวลา 1 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) นําความรูเกี่ยวกับเรื่องสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามไปแกปญหาได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถบอกไดวาสวนใดของเอกนาม เรียกวา สัมประสิทธิ์ของเอกนาม และเอกนามนั้นมีดีกรีเทา
ใดไดอยางถูกตอง

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       1) สัมประสิทธิ์ของเอกนาม คือ คาคงตัวในเอกนาม
       2) ดีกรีของเอกนาม คือ ผลบวกของเลขชี้กาลังของตัวแปรทุกตัว
                                              ํ
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ ทักษะการ
คิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
       1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 และแบบฝกหัด 1
       2) การทําแบบทดสอบ
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
       1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน
       2) เลือกหัวหนากลุม
       3) หัวหนากลุมแบงงาน
       4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
       5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                          50

        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
   3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
          ชั่วโมงที่ 1 (สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม)
          ครูทบทวนเกี่ยวกับเอกนามที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลววา ประกอบดวยสองสวนที่คูณกันอยู สวนที่
หนึ่งที่เปนคาคงตัว และสวนที่สองเปนการคูณกันของตัวแปรโดยเลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวจะตองมาก
กวาหรือเทากับศูนย ดังตัวอยางตอไปนี้
14x2y5 เปนเอกนาม ที่มี 14 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กาลังเทากับ 2 และ 5 เปนตน
                                                                    ํ
     5.2 ขั้นสอน
                               กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม)
 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเอกนามที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลววา ประกอบดวยสองสวนที่ ทักษะการคิดวิเคราะห
 คูณกันอยู สวนที่หนึ่งที่เปนคาคงตัว และสวนที่สองเปนการคูณกันของตัวแปรโดย
 เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวจะตองมากกวาหรือเทากับศูนย ดังตัวอยางตอไปนี้
 14x2y5 เปนเอกนาม ที่มี 14 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 2
 และ 5
 จากนั้นครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับการเรียกคาคงตัวและผลบวกของเลขชี้กําลังของ
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                             51

                                กิจกรรมการเรียนการสอน                                    ฝกการคิดแบบ
 ตัวแปรทุกตัวไดดังนี้
     คาคงตัว เรียกวา สัมประสิทธิ์ของเอกนาม
     ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรทุกตัว เรียกวา ดีกรีของเอกนาม
 2. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1 และใหนักเรียนตอบคําถามวาสัมประสิทธิ์ของเอกนาม ทักษะการตีความหมาย
 คืออะไร และดีกรีของเอกนามเปนเทาไร เขียนกระดานไดดังนี้                              ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตัวอยางที่ 1
       − (4) x 6 y 5 z เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ -4 มีดีกรี เทากับ 6 + 5 + 1 = 12

       2 x 7 y 64 เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 2 มีดีกรี เทากับ 7 + 64 = 71

      xyz เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 1 มีดีกรี เทากับ 1 + 1 + 1 = 3
      42 เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 42 มีดีกรี เทากับ 0
 3. ใหนักเรียนสังเกตการเขียนสัมประสิทธิ์และดีกรีของ 42 และ 0 ไดดังนี้                ทักษะการสังเกต
      เนื่องจาก 42 เขียนไดเปน 42x0 ดังนั้น 42 เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 42 มี ทักษะการตีความหมาย
 ดีกรี เทากับ 0
      และเนื่องจาก 0 เขียนไดในรูป 0xn เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย ดังนั้นจึง
 ไมสามารถบอกดีกรีของ 0 ได เราจึงไมกลาวถึงดีกรีของ 0
 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 โดยครูคอยแนะนําถานักเรียนมี ทักษะการคิดคํานวณ
 ขอสงสัย และสุมใหนักเรียนรายงานคําตอบของตัวเอง โดยครูตรวจสอบความถูก
 ตอง
 4. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 2 เปนการบานและกําหนดวันสง                         ทักษะการคิดคํานวณ
     5.3 ขั้นสรุป
            ชั่วโมงที่ 1 (สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม)
            นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามได และบอกไดวาเอกนามประกอบดวยสอง
สวนที่คูณกันอยู สวนที่หนึ่งที่เปนคาคงตัว และสวนที่สองเปนการคูณกันของตัวแปรโดยเลขชี้กําลังของตัว
แปรแตละตัวจะตองมากกวาหรือเทากับศูนย เรียก
            คาคงตัว เรียกวา สัมประสิทธิ์ของเอกนาม
            ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรทุกตัว เรียกวา ดีกรีของเอกนาม

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         52

    6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
          - อินเทอรเน็ต

7. กิจกรรมเสนอแนะ
       ครูใหนักเรียนเลนเกมหาคู โดยครูจะเปนผูกําหนดเอกนามใหบนกระดาน แลวใหนกเรียนออกมาหา
                                                                                      ั
ตัวเลขที่วางอยูหนาหองใหมีคาตรงกับสัมประสิทธิ์และดีกรี แลวนํามาอธิบายใหเพื่อนฟง กลุมไหนไดคํา
ตอบกอนและอธิบายไดถูกตองจะไดรับคะแนน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         53

8. บันทึกหลังการสอน

                                           บันทึกหลังการสอน
                              (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน )
                                                     ี

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน           จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..
                                                                 ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                                 54

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                         แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
  ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                         ระดับการประเมิน
                               หัวขอการประเมิน
                                                                                                 ดีมาก                  ดี              พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                               แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
   ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                ดี            ปานกลาง นอย นอยมาก
   การวางแผน
   การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
   การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
   ความคิดสรางสรรค
   ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                      55


                                  แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 3)
                                     เรื่อง การบวกและลบเอกนาม
                                             เวลา 1 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถบอกไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลายไดถูกตอง
        2) สามารถบวกและลบเอกนามไดถูกตอง
        3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
    1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถบอกไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลาย และสามารถบวกและลบเอกนามได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
        1) เอกนามสองเอกนามที่มีตัวแปรชุดเดียวกัน และมีเลขชี้กําลังของตัวแปรเทากัน เรียกเอกนามทั้ง
สองวา เอกนามคลาย
        2) ผลบวกของเอกนาม คือ (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร)
        3) ผลลบของเอกนาม คือ (ผลลบของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร)
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห
ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 - 5 และแบบฝกหัด 1
        2) การทําแบบทดสอบ
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         56

        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        1) นักเรียนสามารถอธิบายไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลาย
        2) นักเรียนสามารถหาผลบวก และผลลบของเอกนามได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
    5.1 ขั้นนํา
         ชั่วโมงที่ 1 (การบวกและลบเอกนาม)
         ครูทบทวนเกี่ยวกับสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลววา สวนที่เปนคาคง
ตัวเรียกวา สัมประสิทธิ์ และผลบวกของของเลขชี้กําลังของตัวแปรทุกตัว เรียกวา ดีกรีของเอกนาม โดยการ
ยกตัวอยางโจทยแลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ จากนั้นครูนําเสนอตัวอยาง และใหนักเรียนทํากิจกรรม
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                    57

  5.2 ขั้นสอน
                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                        ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (การบวกและลบเอกนาม)
 1. ใหนักเรียนพิจารณาเอกนาม 12x3y และ 3x3y วามีอะไรเหมือนและตางกัน                 ทักษะการตีความหมาย
 บาง ซึ่งนักเรียนจะเห็นวาเอกนามทั้งสองตางกันเฉพาะสวนที่เปนสัมประสิทธิ์           ทักษะการคิดวิเคราะห
 สวนที่เปนผลคูณของตัวแปรจะเหมือนกัน นั่นคือ มีตัวแปรเหมือนกัน และเลข
 ชี้กําลังเทากัน
 ครูแนะนํานั กเรียนตอไปวา เอกนามทั้งสองเอกนามนี้เรียกวา เอกนามคลาย
 จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปเอกนามสองเอกนามคลายกัน ไดดังนี้
       เอกนามสองเอกนามคลายกันก็ตอเมื่อ
                                     
       1) เอกนามทั้งสองมีตัวแปรชุดเดียวกัน
       2) เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวในเอกนามทั้งสองเทากัน
 2. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 2 และใหนักเรียนตอบคําถามวาขอใดเปนเอกนาม                 ทักษะการตีความหมาย
 คลายบาง โดยครูตรวจสอบความถูกตองจากที่นักเรียนตอบคําถามอีกครั้ง                    ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตัวอยางที่ 2
       1) 5x และ -4x (เปนเอกนามคลาย)
       2) 2xy2 และ 4y2x (เปนเอกนามคลาย เนื่องจาก xy2 = y2x)
                                                              ⎛3⎞
     3)   −
              3
                  และ 6 (เปนเอกนามคลาย เนื่องจาก − 3      = ⎜ ⎟x 0   และ 6 = 6x0)
              4                                      4        ⎝4⎠
     4) 35p4q3r2 และ 17p2q3r4 (ไมเปนเอกนามคลาย เนื่องจาก p4q3r2 ≠ p2q3r4)
 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 1 ขอ 3 เพื่อ               ทักษะการคิดวิเคราะห
 ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน พรอมทั้งใหคําชมเชยแกนักเรียนที่ทําเสร็จ
 กอนและถูกตอง และใหคําอธิบายเพิ่มเติมแกนักเรียนที่ทําผิดและใหแกไขให
 ถูกตอง
 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของการบวกลบจํานวนเต็ม จากนั้นซัก                ทักษะการตีความ
 ถามนักเรียนวา ถาเปนเอกนามเราจะมีวิธีการบวกเอกนามอยางไร ใหนักเรียน               ทักษะการคิดวิเคราะห
 ชวยกันระดมความคิด โดยครูเปนผูซักถามและดําเนินการ
 5. ครูซักถามนักเรียนถึงสมบัติการแจกแจงวาเปนอยางไร จากนั้นยกตัวอยาง               ทักษะการตีความหมาย
 ใหนักเรียนสังเกต เชน                                                               ทักษะการคิดวิเคราะห
           a(b + c) = ab + ac โดยที่ a, b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ                     ทักษะการคิดคํานวณ
 พรอมทั้งบอกนักเรียนวาลักษณะดังกลาวนี้ เรียกวา สมบัติการแจกแจง
 จากนั้นยกตัวอยางการหาผลบวกของเอกนามโดยใชสมบัติการแจกแจง
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                     58

                            กิจกรรมการเรียนการสอน                             ฝกการคิดแบบ
 ตัวอยางการหาผลบวกของเอกนามโดยใชสมบัติการแจกแจง
      1) 3x + 5x = (3 + 5)x = 8x
      2) 4p2q3r + 7p2 q3r = (4 + 7) p2q3r = 11p2q3r
      3) 6 p2q3r + (-10) p2q3r = {6 + (-10)} p2q3r = -4 p2q3r
 ครูซักถามนักเรียนจากการสังเกต การหาคําตอบของการบวกเอกนามคลาย จน
 ไดขอสรุปดังนี้
 ผลบวกของเอกนามคลายกัน = (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยู     ทักษะการคิดสรุปความ
                                        ในรูปการคูณของตัวแปร)
 6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 โดยครูคอยแนะนําในกรณีที่
          ั                                                               ทักษะการคิดคํานวณ
 มีปญหา ใหนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบกิจกรรมการตรวจสอบความเขาใจ 4
 โดยครูพิจารณาความถูกตอง
 7. ครูกลาวถึงการลบเอกนามคลาย ทําเชนเดียวกับการลบจํานวนจริง กลาวคือ   ทักษะการตีความหมาย
 ให a และ b เปนจํานวนจริงใดๆ a – b = a + (-b)                           ทักษะการคิดวิเคราะห
 นั่นคือ a ลบดวย b เทากับ a บวกดวยจํานวนตรงขามของ b                   ทักษะการคิดคํานวณ
 จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 3 ใหนักเรียนสังเกตวิธีการหาคําตอบ
 ตัวอยางที่ 3
      1) 5 – 7 = 5 + (-7)
      2) -8 -5 = -8 + (-5)
      3) 12 – (-7) = 12 + 7
      4) 5x5y2z4 - 8 x5y2z4 = 5 x5y2z4 + (-8 x5y2z4)
                            = (5 + (-8)) x5y2z4
                            = -3 x5y2z4
      5) -5 x5y2z4 - 8 x5y2z4 = (-5 x5y2z4) + (-8 x5y2z4)
                              = {(-5) + (-8)} x5y2z4
                              = -13 x5y2z4
      6) -5 x5y2z4 – (-8 x5y2z4) = (-5 x5y2z4) + (8 x5y2z4)
                                 = {(-5) + 8} x5y2z4
                                 = 3 x5y2z4
      7) 5 x5y2z4 – (-8 x5y2z4) = (5 x5y2z4) + (8 x5y2z4)
                                 = (5 + 8) x5y2z4
                                 = 13 x5y2z4
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                      59

                         กิจกรรมการเรียนการสอน                               ฝกการคิดแบบ
 ครูซักถามนักเรียนจากการสังเกต การหาคําตอบของการลบเอกนามคลาย จน
 ไดขอสรุปดังนี้
 ผลลบของเอกนามคลายกัน = (ผลลบของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูใน ทักษะการคิดสรุปความ
                                   รูปการคูณของตัวแปร)
 8. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 โดยครูคอยแนะนําในกรณีที่ ทักษะการคิดคํานวณ
 มีปญหา ใหนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบกิจกรรมการตรวจสอบความเขาใจ 5
 โดยครูพิจารณาความถูกตอง
 9. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 4, 5 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันสงงาน ทักษะการคิดคํานวณ

   5.3 ขั้นสรุป
        ชั่วโมงที่ 1 (การบวกและลบเอกนาม)
        นักเรียนสามารถสรุปไดวา
        1) เอกนามสองเอกนามที่มีตัวแปรชุดเดียวกัน และมีเลขชี้กําลังของตัวแปรเทากัน เรียกเอกนามทั้ง
สองวา เอกนามคลาย
        2) ผลบวกของเอกนาม คือ (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร)
        3) ผลลบของเอกนาม คือ (ผลลบของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร)
        และ
         1) สามารถบอกไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลายไดถูกตอง
        2) สามารถบวกและลบเอกนามไดถูกตอง

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
     -
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         60

8. บันทึกหลังการสอน

                                           บันทึกหลังการสอน
                              (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน )
                                                     ี

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน           จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..
                                                                 ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                                 61

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                         แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
  ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                         ระดับการประเมิน
                               หัวขอการประเมิน
                                                                                                 ดีมาก                  ดี              พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                               แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
   ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                ดี            ปานกลาง นอย นอยมาก
   การวางแผน
   การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
   การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
   ความคิดสรางสรรค
   ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                 62

                                  แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 1)
                                            เรื่อง พหุนาม
                                             เวลา 1 ชั่วโมง

1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) นําความรูเกี่ยวกับพหุนามหาผลบวก ลบ คูณ และหารพหุนามได
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถนําความรูเกี่ยวกับพหุนามไปใชแกปญหาไดอยางถูกตอง

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามหรือในรูปการบวกของเอกนามตั้งแตสองเอกนามขึ้นไปเรียกวาพหุนาม
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห
ทักษะการใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
    3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และแบบฝกหัด 2
        2) การทําแบบทดสอบ
    3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                    63

    3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค
        1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม
         2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน
    3.4 ความรูความเขาใจ
        นักเรียนสามารถเขียนพหุนามใหเปนพหุนามในรูปผลสําเร็จ และบอกดีกรีของพหุนามได

4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล
   เกณฑขั้นต่ํา
      1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป
      2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป
      3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป
   การสรุปผลการประเมิน
      ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู
   5.1 ขั้นนํา
        ชั่วโมงที่ 1 (พหุนาม)
        ครูทบทวนเรื่องของเอกนามที่เรียนมาแลวโดยครูซักถามและยกตัวอยางประกอบ จากนั้นแนะนํา
นักเรียนถึง ความหมายของ พหุน าม วาคือ นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามหรือเขียนไดในรูปการบวกของ
เอกนามตั้งแตสองเอกนามขึ้นไป พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ
   5.2 ขั้นสอน
                             กิจกรรมการเรียนการสอน                         ฝกการคิดแบบ
 ชั่วโมงที่ 1 (พหุนาม)
 1. ครูสนทนากับนั กเรียนในเรื่องของเอกนามที่เรียนมาแลวเพื่อเปนการทบ ทักษะการคิดวิเคราะห
 ทวน จากนั้นครูแนะนํานักเรียนวา นิพจนที่เขียนไดในรูปเอกนาม หรือเขียนได
 ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแตสองเอกนามขึ้นไป เรียกวา พหุนาม
 ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1 ใหนักเรียนสังเกต
 ตัวอยางที่ 1
      1) 34x เปนพหุนาม
         เนื่องจาก 34x เปนเอกนาม
      2) 2 + 3x + 4x2 เปนพหุนาม
               เนื่องจากเปนผลบวกของเอกนาม 2, 3x และ 4x2
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                   64

                             กิจกรรมการเรียนการสอน                                       ฝกการคิดแบบ
 2. ครูแนะนํานักเรียนวา เราจะเรียกเอกนามแตละตัวในพหุนามวา พจน และ                ทักษะการคิดวิเคราะห
 ในกรณีที่พหุนามมีพจนที่เปนเอกนามคลายกัน จะเรียกเอกนามที่คลายกันวา              ทักษะการตีความหมาย
 พจนที่คลายกัน เชน                                                                ทักษะการคิดสรุปความ
 4x3 + 3x + 6x2 + (-7x) + 2 เปนพหุนามที่มี 5 พจน คือ 4x3, 3x, 6x2 , (-7x) และ
 2 และมี 3x และ (-7x) เปนพจนที่คลายกัน
 จากนั้นซักถามนักเรียนวา เราสามารถรวมพจนที่คลายกันเขาดวยกันไดหรือไม
 ใหนักเรียนอภิปรายจนไดขอสรุปดังนี้
     พหุนามที่มีพ จนคลายกัน เชน 4x3 + 3x + 6x2 + (-7x) + 2 เราสามารถรวม
 พจนที่คลายกันเขาดวยกันไดดงนี้
                                 ั
        4x + 3x + 6x + (-7x) + 2 = 4x3 + 6x2 + {3 + (-7)}x + 2
           3          2

                                          = 4x3 + 6x2 - 4x + 2
 และเรียกพหุนามที่รวมพจนที่คลายกันเขาดวยกันวา พหุนามในรูปผลสําเร็จ
 และจะกําหนดดีกรีสูงสุดของพจนในพหุนามเปนดีกรีของพหุนามนั้น
 3. ใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางที่ 2 จงเขียนพหุนามในรูปผลสําเร็จและบอก                ทักษะการคิดวิเคราะห
 ดีกรีของพหุนาม                                                                      ทักษะการคิดคํานวณ
 ตัวอยางที่ 2 1) − 4 x 3 + 7 x 2 − 6 x + 7 x 3
                2) x 4 − x 3 − 7 x 2 − 6 x + 7 x 3 + 12 x 2 + 12
                3) 5x 3 − x 2 + 4 x − 5x 3 + 4 x 2 + 5x
                                             2y 2
                  4)    3 − 2 xy 2 − x 2 +           + 2 −1 x 2
                                             3x −1
                 5)    2 x 2 y 4 + 8 y 4 + 7 + 3x 2 y 4 − 9 − 4 x 2 y 4 − 5 y 4

                 6)    x 2 yz 2 + 2 +
                                         3y
                                        −3 − 2
                                                 + 7 − 5 x 3 yz 2 − x 3 y + 2 yz 2
                                        x z
 โดยครูแสดงวิธทําขอ 1 และ 2 ใหนักเรียนดูดังนี้
                  ี
     1) –4x3+7x2–6x+7x3 = {(–4)+7}x3+7x2–6x = 3x3+7x2–6x
          ดังนั้น พหุนามในรูปสําเร็จ คือ 3x3+7x2–6x มีดีกรีเทากับ 3
     2) x4–x3–7x2–6x+7x3+12x2+12 = x4+{(–1)+7}x3+{(–7)+12}x2–6x+12
                                              = x4+6x3+5x2–6x+12
          ดังนั้น พหุนามในรูปสําเร็จ คือ x4+6x3+5x2–6x+12 มีดีกรีเทากับ 4
 ใหนกเรียนทําขออื่นๆ โดยครูคอยแนะนําในกรณีที่นักเรียนมีขอสงสัย
     ั
 3. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ
        ั                                                                            ทักษะการคิดคํานวณ
 ของนักเรียน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                     65

    5.3 ขั้นสรุป
         ชั่วโมงที่ 1 (พหุนาม)
         นักเรียนสามารถสรุปความหมายได ดังนี้
           นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามหรือเขียนไดในรูปการบวกของเอกนามตั้งแตสองเอกนามขึนไป เรียก
                                                                                      ้
วา พหุนาม
         เรียกเอกนามแตละตัวในพหุนามวา พจน และในกรณีที่พหุนามมีพจนที่เปนเอกนามคลายกัน จะ
เรียกเอกนามที่คลายกันวา พจนที่คลายกัน
        และนักเรียนสามารถเขียนพหุนามใหเปนพหุนามในรูปผลสําเร็จ และบอกดีกรีของพหุนามได

6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู
   6.1 สื่อการเรียนรู
        - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
   6.2 แหลงการเรียนรู
        - หองสมุดโรงเรียน
        - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

7. กิจกรรมเสนอแนะ
   7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห
         ขั้นรวบรวมขอมูล
         ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของพหุนาม พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดวา
นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามนั้นเปนพหุนาม มาคนละ 5 ขอ
         ขั้นวิเคราะห
         ใหนกเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา
              ั
         ขั้นสรุป
         ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมด
จัดทําเปนรูปเลมรายงาน
         ขั้นประยุกตใช
         ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
    7.2 กิจกรรมบูรณาการ
         ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวยกัน
เขียนกลอนเกี่ยวกับความหมายของพหุนามได
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                         66

8. บันทึกหลังการสอน

                                           บันทึกหลังการสอน
                              (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน )
                                                     ี

                   ประเด็นการบันทึก                         จุดเดน           จุดที่ควรปรับปรุง

 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

 2. การใชสื่อการเรียนรู

 3. การประเมินผลการเรียนรู

 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน

 บันทึกเพิ่มเติม
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..

 บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………………………………………………………

                                                                 ลงชื่อ………………………………………..
                                                                 ตําแหนง…….……..………………………..
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                                                                                                                 67

9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล
    แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
                         แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร
  ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
  ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                         ระดับการประเมิน
                               หัวขอการประเมิน
                                                                                                 ดีมาก                  ดี              พอใช ควรปรับปรุง
  ความสนใจ
  การตอบคําถาม
  การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน
  การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร
  ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ
  ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง
  คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย

     แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน

                                                               แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน
   ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป ....................
   ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ...............................................................................................
                                                                                                                   ระดับการประเมิน
                        หัวขอการประเมิน
                                                                                      ดีมาก                ดี            ปานกลาง นอย นอยมาก
   การวางแผน
   การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน
   การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด
   ความคิดสรางสรรค
   ผลการทํางาน
แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1                                  68

                                 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 2-3)
                                        เรื่อง การบวกพหุนาม
                                             เวลา 2 ชั่วโมง
1. เปาหมายการเรียนรู
   1.1 ผลการเรียนรู
        1) สามารถหาผลบวกของพหุนามไดอยางถูกตอง
        2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
   1.2 จุดประสงคการเรียนรู
        สามารถหาผลบวกของพหุนามได

2. สาระสําคัญ
   2.1 สาระการเรียนรู
       การนําพจนที่คลายกันมาบวกกัน โดยการนําสัมประสิทธิ์มาบวกกัน แลวคูณดวยสวนที่อยูในรูปของ
ตัวแปร จะเทากับการหาผลบวกของพหุนาม
   2.2 ทักษะ / กระบวนการ
       การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ
   2.3 ทักษะการคิด
       การคิดคํานวณ การคิดสรุปความ การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การใหเหตุผล

3. รองรอยการเรียนรู
   3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน
        1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 – 8
        2) แบบฝกหัด
   3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ
        1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน
        2) เลือกหัวหนากลุม
        3) หัวหนากลุมแบงงาน
        4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
        5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
        6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ
        7) สงงาน
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2
Unit2

More Related Content

What's hot

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำAunop Nop
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51Watcharapon Donpakdee
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfssusera0c3361
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 

What's hot (20)

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
เมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdfเมทริกซ์.pdf
เมทริกซ์.pdf
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1 หน่วยที่ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 

Similar to Unit2

Similar to Unit2 (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง

More from โรงเรียนบ้านสร้างมิ่ง สพปยโสธรเขตสอง (20)

แนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับแนะนำตนเองก่อนนะครับ
แนะนำตนเองก่อนนะครับ
 
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a56dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
6dfaf58369dcbcd321e94220ab97d3a5
 
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
806bcf9d9ff478aecbb8b8ab566b3685
 
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde458ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
58ed6fed2c11a1c6821662303118cde4
 
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173bCfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
Cfef45eb7b5a2dae0f4b140ec545173b
 
เว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอนเว็ปช่วยสอน
เว็ปช่วยสอน
 
กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์กิจกรรมคณิตศาสตร์
กิจกรรมคณิตศาสตร์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
คณิตคิดสนุก เล่ม 2 ผลบวกมหัศจรรย์
 
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจคณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
คณิตคิดสนุก เล่ม 1 นักทายใจ
 
Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 

Unit2

  • 1. หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง พหุนามและเศษสวนของพหุนาม รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และการงานพื้นฐานอาชีพ 1. มาตรฐานการเรียนรู มฐ. ค 6.1 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ ค 6.1 ม.2/1, 2 3. สาระการเรียนรูประจําหนวย 3.1 เอกนาม 3.2 สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม 3.3 การบวกและลบเอกนาม 3.4 พหุนาม 3.5 การบวกพหุนาม 3.6 การลบพหุนาม 3.7 การคูณพหุนาม 3.8 การหารพหุนาม 3.9 การบวก ลบ คูณ หาร เศษสวน 3.10 การคูณและการหารเศษสวนของพหุนาม 3.11 การบวกและการลบเศษสวนของพหุนาม 3.12 การแกสมการเศษสวนของพหุนามอยางงาย 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1-18 2) การทําแบบฝกหัด 3) การทําแบบทดสอบ 4.2 ผลการปฏิบัติงานไดแก 1) การปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนและการใชบริการของโรงเรียนอยางเหมาะสม 2) การมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุม 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนจบหนวยการเรียนรู
  • 2. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 42 5. แนวทางการจัดกิจกรรมในภาพรวม แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู บทบาทครู บทบาทนักเรียน 5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) การทํ า กิ จ กรรมตรวจ - อธิบายเนื้อหาในแตละเรื่อง - ฝก คิดตาม ตอบคําถาม และ สอบความเขาใจ 1-18 รวมทํากิจกรรมในชั้นเรียน 2) การทําแบบฝกหัด - แนะนํ า การทํ า แบบฝ ก หั ด - ทํากิจกรรมตรวจสอบความ และกิ จกรรม ต รวจส อ บ เขาใจและแบบฝกหัด ความเขาใจ 3) การทําแบบทดสอบ - อธิบายสรุปความคิดรวบยอด - ทํ า แบบทดสอบหน ว ยย อ ย ในแตละเรื่อง เปนรายกลุม รายบุคคล 5.2 ผลการปฏิบัตงาน ไดแก ิ 1) การปฏิบั ติกิ จกรรมใน - แนะนํ าวิ ธี ก ารเขี ย นแผนผั ง - ใหนักเรียนเขียนแผนผังความ ชั้ น เรี ย น และก ารใช สรุ ป ความคิ ด รวบยอดเพื่ อ คิดประจําหนวย บริ ก ารของโรงเรี ย น สรุปเนื้อหาประจําหนวย อยางเหมาะสม - แนะนําใหนักเรียนใชบริการ - ให นั ก เรี ย นไปค น คว า โจทย ห อ งสมุ ดของโรงเรียนอยาง ในห อ งสมุ ด โรงเรี ย นและ เหมาะสม หองสมุดกลุมสาระการเรียน รูคณิตศาสตร 2) การมี ส ว นร ว มในการ - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนและ - ให นั ก เรีย นจัด กลุ ม ตามที่ ค รู ปฏิบัติกิจกรรมกลุม แนะนํ า วิ ธี ก ารจั ด กลุ ม และ มอบหมายและช ว ยกั น ทํ า การทํากิจกรรมกลุม กิจกรรมในชั้นเรียน 5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - สรุปเนื้อหาที่สําคัญตามแผน - ทําแบบทดสอบ ทางการเรียน ผั งความคิ ด รวบยอดประจํ า หนวยอีกครั้ง และใหนักเรียน ทําแบบทดสอบ
  • 3. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 43 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 1) เรื่อง เอกนาม เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถบอกไดวานิพจนใดเปนเอกนาม 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถบอกความหมายของเอกนาม และตอบไดวานิพจนใดบางเปนเอกนามไดอยางถูกตอง 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ขอความในรูปสัญลักษณของการบวก การลบ การคูณ หรือการหาร ของคาคงตัวและตัวแปร ตางๆ เรียกวา นิพจน 2) เอกนาม คือนิพจนที่สามารถเขียนไดในรูปการคูณของคาคงตัวและตัวแปรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้นไป โดยที่เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะ การใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 1 และแบบฝกหัด 1 2) แบบทดสอบตามที่ครูกําหนด 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน 2) รวมกันทํากิจกรรมตามที่ครูกําหนด 3) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 4) สงงาน
  • 4. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 44 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนเขาใจและสามารถอธิบายความหมายของเอกนามได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (ความหมายของเอกนาม) ครูสนทนาเกี่ยวกับเรื่องการใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนจํานวน แตบางครั้งเราไมทราบวาจํานวนที่ กําลังกลาวถึงเปนจํานวนใด เชน สามเทาของจํานวนหนึ่ง เปนตน 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องการใชตัวเลขเปนสัญลักษณแทนจํานวน ทักษะการคิดวิเคราะห แตบางครั้งเราไมทราบวาจํานวนที่กลาวถึงเปน จํานวนใดๆ และใหนักเรียน พิจารณาตัวอยางตอไปนี้ - สามเทาของจํานวนหนึ่ง - จํานวนหนึ่งบวกดวย 5 - จํานวนหนึ่งลบดวย 6 - นําสี่เทาของกําลังสองของจํานวนจํานวนหนึ่งไปบวกกับ 2 2. ครูซักถามนักเรียนวาประโยคดังกลาวสามารถเขียนแทนไดอยางไร ถาให ทักษะการตีความหมาย จํานวนจํานวนหนึ่ง คือ x ทักษะการคิดวิเคราะห
  • 5. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 45 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ - 3x หรือ 3 × x - x+5 - x–6 - 4x2 + 2 ครูแนะนําการเรียก x ที่ใชแทน จํานวนจํานวนหนึ่ง นี้วา ตัวแปร และเรียก 2, 3, 4, 5, 6 ในแตละขอความวา คาคงตัว ครูแนะนํานักเรียนตอวาขอความที่เขียนในรูปสัญลักษณของการบวก ลบ คูณ หรื อ หาร ของค า คงตั ว และตั ว แปรต า งๆ เช น 3x, x + 5, x – 6, 4x2 + 2 ว า นิพจน 3. ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางอื่นๆ ที่เปนนิพจน ครูแนะนํานักเรียนตอไปวา ทักษะการคิดวิเคราะห นิพจนที่สามารถเขียนไดในรูปการคูณของคาคงตัวและตัวแปรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้น ไป โดยที่เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก เรียกวา เอกนาม 4. ใหนกเรียนพิจารณานิพจนตอไปนี้วาเปนเอกนามหรือไม เพราะเหตุใด ั ทักษะการคิดวิเคราะห 1) 5x 2 2) 32 3) − 4 x 2 y 2 3 x 4) 6 x y 3 −2 5) 64 5. ครูและนักเรียนชวยกันเฉลยอยางละเอียดไดดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห 1) 5x2 มี 5 เปนคาคงตัว x เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 2 ดังนั้น 5x2 เปน ทักษะการคิดสรุปความ เอกนาม 2) 32 หรือ 3x-2 มี 3 เปนคาคงตัว x เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ -2 ดัง x นั้น 3 ไมเปนเอกนาม x2 3) − 4 x 2 y 2 มี 3 − 4 3 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 2 และ 3 ดังนั้น − 4 x 2 y 2 เปนเอกนาม 3 4) 6x3y-2 มี 6 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 3 และ -2 ดังนั้น 6x3y-2 ไมเปนเอกนาม 5) 64 หรือ 64x0 มี 64 เปนคาคงตัว x เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 0 ดัง นั้น 64 เปนเอกนาม 6. ครูซักถามนักเรียนวาใครมีขอสงสัยอะไรบาง ถาไมมีใหนักเรียนทํากิจกรรม ทักษะการคิดคํานวณ ตรวจสอบความเขาใจ 1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน โดยใหนักเรียน
  • 6. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 46 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ออกมานําเสนอเปนขอๆ โดยครูตรวจสอบความถูกตอง ถามีครูอธิบายเพิ่มเติม หรือยกตัวอยางประกอบ 7. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 1 เปนการบานและกําหนดวันสง ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป นักเรียนชวยกันสรุปความหมายของเอกนาม ดังนี้ เอกนาม คือ นิพจนที่สามารถเขียนไดในรูปการคูณของคาคงตัวและตัวแปรตั้งแตหนึ่งตัวขึ้นไป โดย ที่เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวเปนศูนยหรือจํานวนเต็มบวก 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของเอกนาม พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดวา นิพจนใดเปนเอกนาม มาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนักเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมด จัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวยกัน เขียนกลอนเกี่ยวกับความหมายของเอกนามได
  • 7. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 47 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ี ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 8. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 48 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 9. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 49 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 2) เรื่อง สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) นําความรูเกี่ยวกับเรื่องสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามไปแกปญหาได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถบอกไดวาสวนใดของเอกนาม เรียกวา สัมประสิทธิ์ของเอกนาม และเอกนามนั้นมีดีกรีเทา ใดไดอยางถูกตอง 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) สัมประสิทธิ์ของเอกนาม คือ คาคงตัวในเอกนาม 2) ดีกรีของเอกนาม คือ ผลบวกของเลขชี้กาลังของตัวแปรทุกตัว ํ 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการคิดจัดลําดับ ทักษะการ คิดแปลความและสรุปความ ทักษะการแกปญหา 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 และแบบฝกหัด 1 2) การทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 - 4 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
  • 10. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 50 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม) ครูทบทวนเกี่ยวกับเอกนามที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลววา ประกอบดวยสองสวนที่คูณกันอยู สวนที่ หนึ่งที่เปนคาคงตัว และสวนที่สองเปนการคูณกันของตัวแปรโดยเลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวจะตองมาก กวาหรือเทากับศูนย ดังตัวอยางตอไปนี้ 14x2y5 เปนเอกนาม ที่มี 14 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กาลังเทากับ 2 และ 5 เปนตน ํ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับเอกนามที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลววา ประกอบดวยสองสวนที่ ทักษะการคิดวิเคราะห คูณกันอยู สวนที่หนึ่งที่เปนคาคงตัว และสวนที่สองเปนการคูณกันของตัวแปรโดย เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวจะตองมากกวาหรือเทากับศูนย ดังตัวอยางตอไปนี้ 14x2y5 เปนเอกนาม ที่มี 14 เปนคาคงตัว x และ y เปนตัวแปร มีเลขชี้กําลังเทากับ 2 และ 5 จากนั้นครูแนะนํานักเรียนเกี่ยวกับการเรียกคาคงตัวและผลบวกของเลขชี้กําลังของ
  • 11. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 51 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตัวแปรทุกตัวไดดังนี้ คาคงตัว เรียกวา สัมประสิทธิ์ของเอกนาม ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรทุกตัว เรียกวา ดีกรีของเอกนาม 2. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1 และใหนักเรียนตอบคําถามวาสัมประสิทธิ์ของเอกนาม ทักษะการตีความหมาย คืออะไร และดีกรีของเอกนามเปนเทาไร เขียนกระดานไดดังนี้ ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางที่ 1 − (4) x 6 y 5 z เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ -4 มีดีกรี เทากับ 6 + 5 + 1 = 12 2 x 7 y 64 เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 2 มีดีกรี เทากับ 7 + 64 = 71 xyz เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 1 มีดีกรี เทากับ 1 + 1 + 1 = 3 42 เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 42 มีดีกรี เทากับ 0 3. ใหนักเรียนสังเกตการเขียนสัมประสิทธิ์และดีกรีของ 42 และ 0 ไดดังนี้ ทักษะการสังเกต เนื่องจาก 42 เขียนไดเปน 42x0 ดังนั้น 42 เปนเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 42 มี ทักษะการตีความหมาย ดีกรี เทากับ 0 และเนื่องจาก 0 เขียนไดในรูป 0xn เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย ดังนั้นจึง ไมสามารถบอกดีกรีของ 0 ได เราจึงไมกลาวถึงดีกรีของ 0 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 2 โดยครูคอยแนะนําถานักเรียนมี ทักษะการคิดคํานวณ ขอสงสัย และสุมใหนักเรียนรายงานคําตอบของตัวเอง โดยครูตรวจสอบความถูก ตอง 4. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 2 เปนการบานและกําหนดวันสง ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม) นักเรียนสามารถบอกสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามได และบอกไดวาเอกนามประกอบดวยสอง สวนที่คูณกันอยู สวนที่หนึ่งที่เปนคาคงตัว และสวนที่สองเปนการคูณกันของตัวแปรโดยเลขชี้กําลังของตัว แปรแตละตัวจะตองมากกวาหรือเทากับศูนย เรียก คาคงตัว เรียกวา สัมประสิทธิ์ของเอกนาม ผลบวกของเลขชี้กําลังของตัวแปรทุกตัว เรียกวา ดีกรีของเอกนาม 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
  • 12. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 52 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร - อินเทอรเน็ต 7. กิจกรรมเสนอแนะ ครูใหนักเรียนเลนเกมหาคู โดยครูจะเปนผูกําหนดเอกนามใหบนกระดาน แลวใหนกเรียนออกมาหา ั ตัวเลขที่วางอยูหนาหองใหมีคาตรงกับสัมประสิทธิ์และดีกรี แลวนํามาอธิบายใหเพื่อนฟง กลุมไหนไดคํา ตอบกอนและอธิบายไดถูกตองจะไดรับคะแนน
  • 13. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 53 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ี ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 14. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 54 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 55 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 (ชั่วโมงที่ 3) เรื่อง การบวกและลบเอกนาม เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถบอกไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลายไดถูกตอง 2) สามารถบวกและลบเอกนามไดถูกตอง 3) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถบอกไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลาย และสามารถบวกและลบเอกนามได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) เอกนามสองเอกนามที่มีตัวแปรชุดเดียวกัน และมีเลขชี้กําลังของตัวแปรเทากัน เรียกเอกนามทั้ง สองวา เอกนามคลาย 2) ผลบวกของเอกนาม คือ (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร) 3) ผลลบของเอกนาม คือ (ผลลบของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร) 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 - 5 และแบบฝกหัด 1 2) การทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม
  • 16. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 56 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ 1) นักเรียนสามารถอธิบายไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลาย 2) นักเรียนสามารถหาผลบวก และผลลบของเอกนามได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (การบวกและลบเอกนาม) ครูทบทวนเกี่ยวกับสัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนามที่เรียนมาในชั่วโมงที่แลววา สวนที่เปนคาคง ตัวเรียกวา สัมประสิทธิ์ และผลบวกของของเลขชี้กําลังของตัวแปรทุกตัว เรียกวา ดีกรีของเอกนาม โดยการ ยกตัวอยางโจทยแลวใหนักเรียนชวยกันหาคําตอบ จากนั้นครูนําเสนอตัวอยาง และใหนักเรียนทํากิจกรรม
  • 17. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 57 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (การบวกและลบเอกนาม) 1. ใหนักเรียนพิจารณาเอกนาม 12x3y และ 3x3y วามีอะไรเหมือนและตางกัน ทักษะการตีความหมาย บาง ซึ่งนักเรียนจะเห็นวาเอกนามทั้งสองตางกันเฉพาะสวนที่เปนสัมประสิทธิ์ ทักษะการคิดวิเคราะห สวนที่เปนผลคูณของตัวแปรจะเหมือนกัน นั่นคือ มีตัวแปรเหมือนกัน และเลข ชี้กําลังเทากัน ครูแนะนํานั กเรียนตอไปวา เอกนามทั้งสองเอกนามนี้เรียกวา เอกนามคลาย จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันสรุปเอกนามสองเอกนามคลายกัน ไดดังนี้ เอกนามสองเอกนามคลายกันก็ตอเมื่อ  1) เอกนามทั้งสองมีตัวแปรชุดเดียวกัน 2) เลขชี้กําลังของตัวแปรแตละตัวในเอกนามทั้งสองเทากัน 2. ครูนําเสนอตัวอยางที่ 2 และใหนักเรียนตอบคําถามวาขอใดเปนเอกนาม ทักษะการตีความหมาย คลายบาง โดยครูตรวจสอบความถูกตองจากที่นักเรียนตอบคําถามอีกครั้ง ทักษะการคิดวิเคราะห ตัวอยางที่ 2 1) 5x และ -4x (เปนเอกนามคลาย) 2) 2xy2 และ 4y2x (เปนเอกนามคลาย เนื่องจาก xy2 = y2x) ⎛3⎞ 3) − 3 และ 6 (เปนเอกนามคลาย เนื่องจาก − 3 = ⎜ ⎟x 0 และ 6 = 6x0) 4 4 ⎝4⎠ 4) 35p4q3r2 และ 17p2q3r4 (ไมเปนเอกนามคลาย เนื่องจาก p4q3r2 ≠ p2q3r4) 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 3 และแบบฝกหัด 1 ขอ 3 เพื่อ ทักษะการคิดวิเคราะห ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน พรอมทั้งใหคําชมเชยแกนักเรียนที่ทําเสร็จ กอนและถูกตอง และใหคําอธิบายเพิ่มเติมแกนักเรียนที่ทําผิดและใหแกไขให ถูกตอง 4. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องของการบวกลบจํานวนเต็ม จากนั้นซัก ทักษะการตีความ ถามนักเรียนวา ถาเปนเอกนามเราจะมีวิธีการบวกเอกนามอยางไร ใหนักเรียน ทักษะการคิดวิเคราะห ชวยกันระดมความคิด โดยครูเปนผูซักถามและดําเนินการ 5. ครูซักถามนักเรียนถึงสมบัติการแจกแจงวาเปนอยางไร จากนั้นยกตัวอยาง ทักษะการตีความหมาย ใหนักเรียนสังเกต เชน ทักษะการคิดวิเคราะห a(b + c) = ab + ac โดยที่ a, b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ ทักษะการคิดคํานวณ พรอมทั้งบอกนักเรียนวาลักษณะดังกลาวนี้ เรียกวา สมบัติการแจกแจง จากนั้นยกตัวอยางการหาผลบวกของเอกนามโดยใชสมบัติการแจกแจง
  • 18. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 58 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ตัวอยางการหาผลบวกของเอกนามโดยใชสมบัติการแจกแจง 1) 3x + 5x = (3 + 5)x = 8x 2) 4p2q3r + 7p2 q3r = (4 + 7) p2q3r = 11p2q3r 3) 6 p2q3r + (-10) p2q3r = {6 + (-10)} p2q3r = -4 p2q3r ครูซักถามนักเรียนจากการสังเกต การหาคําตอบของการบวกเอกนามคลาย จน ไดขอสรุปดังนี้ ผลบวกของเอกนามคลายกัน = (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยู ทักษะการคิดสรุปความ ในรูปการคูณของตัวแปร) 6. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 4 โดยครูคอยแนะนําในกรณีที่ ั ทักษะการคิดคํานวณ มีปญหา ใหนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบกิจกรรมการตรวจสอบความเขาใจ 4 โดยครูพิจารณาความถูกตอง 7. ครูกลาวถึงการลบเอกนามคลาย ทําเชนเดียวกับการลบจํานวนจริง กลาวคือ ทักษะการตีความหมาย ให a และ b เปนจํานวนจริงใดๆ a – b = a + (-b) ทักษะการคิดวิเคราะห นั่นคือ a ลบดวย b เทากับ a บวกดวยจํานวนตรงขามของ b ทักษะการคิดคํานวณ จากนั้นครูนําเสนอตัวอยางที่ 3 ใหนักเรียนสังเกตวิธีการหาคําตอบ ตัวอยางที่ 3 1) 5 – 7 = 5 + (-7) 2) -8 -5 = -8 + (-5) 3) 12 – (-7) = 12 + 7 4) 5x5y2z4 - 8 x5y2z4 = 5 x5y2z4 + (-8 x5y2z4) = (5 + (-8)) x5y2z4 = -3 x5y2z4 5) -5 x5y2z4 - 8 x5y2z4 = (-5 x5y2z4) + (-8 x5y2z4) = {(-5) + (-8)} x5y2z4 = -13 x5y2z4 6) -5 x5y2z4 – (-8 x5y2z4) = (-5 x5y2z4) + (8 x5y2z4) = {(-5) + 8} x5y2z4 = 3 x5y2z4 7) 5 x5y2z4 – (-8 x5y2z4) = (5 x5y2z4) + (8 x5y2z4) = (5 + 8) x5y2z4 = 13 x5y2z4
  • 19. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 59 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ครูซักถามนักเรียนจากการสังเกต การหาคําตอบของการลบเอกนามคลาย จน ไดขอสรุปดังนี้ ผลลบของเอกนามคลายกัน = (ผลลบของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูใน ทักษะการคิดสรุปความ รูปการคูณของตัวแปร) 8. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 5 โดยครูคอยแนะนําในกรณีที่ ทักษะการคิดคํานวณ มีปญหา ใหนักเรียนชวยกันเฉลยคําตอบกิจกรรมการตรวจสอบความเขาใจ 5 โดยครูพิจารณาความถูกตอง 9. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด 1 ขอ 4, 5 เปนการบาน โดยครูกําหนดวันสงงาน ทักษะการคิดคํานวณ 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (การบวกและลบเอกนาม) นักเรียนสามารถสรุปไดวา 1) เอกนามสองเอกนามที่มีตัวแปรชุดเดียวกัน และมีเลขชี้กําลังของตัวแปรเทากัน เรียกเอกนามทั้ง สองวา เอกนามคลาย 2) ผลบวกของเอกนาม คือ (ผลบวกของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร) 3) ผลลบของเอกนาม คือ (ผลลบของสัมประสิทธิ์) คูณดวย (สวนที่อยูในรูปการคูณของตัวแปร) และ 1) สามารถบอกไดวาเอกนามคูใดเปนเอกนามคลายไดถูกตอง 2) สามารถบวกและลบเอกนามไดถูกตอง 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ -
  • 20. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 60 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ี ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 21. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 61 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 22. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 62 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 1) เรื่อง พหุนาม เวลา 1 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) นําความรูเกี่ยวกับพหุนามหาผลบวก ลบ คูณ และหารพหุนามได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถนําความรูเกี่ยวกับพหุนามไปใชแกปญหาไดอยางถูกตอง 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามหรือในรูปการบวกของเอกนามตั้งแตสองเอกนามขึ้นไปเรียกวาพหุนาม 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดคํานวณ ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดแปลความ ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 และแบบฝกหัด 2 2) การทําแบบทดสอบ 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน
  • 23. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 63 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค 1) ใหความรวมมือในการทํางานกลุม 2) มีความละเอียดรอบคอบและรับผิดชอบในการทํางาน 3.4 ความรูความเขาใจ นักเรียนสามารถเขียนพหุนามใหเปนพหุนามในรูปผลสําเร็จ และบอกดีกรีของพหุนามได 4. แนวทางการวัดผลและประเมินผล เกณฑขั้นต่ํา 1) ไดระดับ “พอใช” ขึ้นไป 2) ไดระดับ “ดี” ขึ้นไป 3) ทําไดถูกตอง 80% ขึ้นไป การสรุปผลการประเมิน ตองผานเกณฑขั้นต่ําทั้ง 3 รายการ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา ชั่วโมงที่ 1 (พหุนาม) ครูทบทวนเรื่องของเอกนามที่เรียนมาแลวโดยครูซักถามและยกตัวอยางประกอบ จากนั้นแนะนํา นักเรียนถึง ความหมายของ พหุน าม วาคือ นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามหรือเขียนไดในรูปการบวกของ เอกนามตั้งแตสองเอกนามขึ้นไป พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ 5.2 ขั้นสอน กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ ชั่วโมงที่ 1 (พหุนาม) 1. ครูสนทนากับนั กเรียนในเรื่องของเอกนามที่เรียนมาแลวเพื่อเปนการทบ ทักษะการคิดวิเคราะห ทวน จากนั้นครูแนะนํานักเรียนวา นิพจนที่เขียนไดในรูปเอกนาม หรือเขียนได ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแตสองเอกนามขึ้นไป เรียกวา พหุนาม ครูนําเสนอตัวอยางที่ 1 ใหนักเรียนสังเกต ตัวอยางที่ 1 1) 34x เปนพหุนาม เนื่องจาก 34x เปนเอกนาม 2) 2 + 3x + 4x2 เปนพหุนาม เนื่องจากเปนผลบวกของเอกนาม 2, 3x และ 4x2
  • 24. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 64 กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกการคิดแบบ 2. ครูแนะนํานักเรียนวา เราจะเรียกเอกนามแตละตัวในพหุนามวา พจน และ ทักษะการคิดวิเคราะห ในกรณีที่พหุนามมีพจนที่เปนเอกนามคลายกัน จะเรียกเอกนามที่คลายกันวา ทักษะการตีความหมาย พจนที่คลายกัน เชน ทักษะการคิดสรุปความ 4x3 + 3x + 6x2 + (-7x) + 2 เปนพหุนามที่มี 5 พจน คือ 4x3, 3x, 6x2 , (-7x) และ 2 และมี 3x และ (-7x) เปนพจนที่คลายกัน จากนั้นซักถามนักเรียนวา เราสามารถรวมพจนที่คลายกันเขาดวยกันไดหรือไม ใหนักเรียนอภิปรายจนไดขอสรุปดังนี้ พหุนามที่มีพ จนคลายกัน เชน 4x3 + 3x + 6x2 + (-7x) + 2 เราสามารถรวม พจนที่คลายกันเขาดวยกันไดดงนี้ ั 4x + 3x + 6x + (-7x) + 2 = 4x3 + 6x2 + {3 + (-7)}x + 2 3 2 = 4x3 + 6x2 - 4x + 2 และเรียกพหุนามที่รวมพจนที่คลายกันเขาดวยกันวา พหุนามในรูปผลสําเร็จ และจะกําหนดดีกรีสูงสุดของพจนในพหุนามเปนดีกรีของพหุนามนั้น 3. ใหนักเรียนพิจารณาตัวอยางที่ 2 จงเขียนพหุนามในรูปผลสําเร็จและบอก ทักษะการคิดวิเคราะห ดีกรีของพหุนาม ทักษะการคิดคํานวณ ตัวอยางที่ 2 1) − 4 x 3 + 7 x 2 − 6 x + 7 x 3 2) x 4 − x 3 − 7 x 2 − 6 x + 7 x 3 + 12 x 2 + 12 3) 5x 3 − x 2 + 4 x − 5x 3 + 4 x 2 + 5x 2y 2 4) 3 − 2 xy 2 − x 2 + + 2 −1 x 2 3x −1 5) 2 x 2 y 4 + 8 y 4 + 7 + 3x 2 y 4 − 9 − 4 x 2 y 4 − 5 y 4 6) x 2 yz 2 + 2 + 3y −3 − 2 + 7 − 5 x 3 yz 2 − x 3 y + 2 yz 2 x z โดยครูแสดงวิธทําขอ 1 และ 2 ใหนักเรียนดูดังนี้ ี 1) –4x3+7x2–6x+7x3 = {(–4)+7}x3+7x2–6x = 3x3+7x2–6x ดังนั้น พหุนามในรูปสําเร็จ คือ 3x3+7x2–6x มีดีกรีเทากับ 3 2) x4–x3–7x2–6x+7x3+12x2+12 = x4+{(–1)+7}x3+{(–7)+12}x2–6x+12 = x4+6x3+5x2–6x+12 ดังนั้น พหุนามในรูปสําเร็จ คือ x4+6x3+5x2–6x+12 มีดีกรีเทากับ 4 ใหนกเรียนทําขออื่นๆ โดยครูคอยแนะนําในกรณีที่นักเรียนมีขอสงสัย ั 3. ใหนกเรียนทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 6 เพื่อตรวจสอบความเขาใจ ั ทักษะการคิดคํานวณ ของนักเรียน
  • 25. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 65 5.3 ขั้นสรุป ชั่วโมงที่ 1 (พหุนาม) นักเรียนสามารถสรุปความหมายได ดังนี้ นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามหรือเขียนไดในรูปการบวกของเอกนามตั้งแตสองเอกนามขึนไป เรียก ้ วา พหุนาม เรียกเอกนามแตละตัวในพหุนามวา พจน และในกรณีที่พหุนามมีพจนที่เปนเอกนามคลายกัน จะ เรียกเอกนามที่คลายกันวา พจนที่คลายกัน และนักเรียนสามารถเขียนพหุนามใหเปนพหุนามในรูปผลสําเร็จ และบอกดีกรีของพหุนามได 6. สื่อการเรียนรู / แหลงการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู - หนังสือเรียนแม็ค คณิตศาสตรเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 6.2 แหลงการเรียนรู - หองสมุดโรงเรียน - หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมสงเสริมการคิดเชิงวิเคราะห ขั้นรวบรวมขอมูล ครูมอบหมายใหนักเรียนไปศึกษาเรื่องของพหุนาม พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบอยางละเอียดวา นิพจนที่เขียนในรูปเอกนามนั้นเปนพหุนาม มาคนละ 5 ขอ ขั้นวิเคราะห ใหนกเรียนแตละคนวิเคราะหเรื่องที่ตัวเองไปศึกษาคนความา ั ขั้นสรุป ครูตรวจผลงานนักเรียนแตละคน พรอมใหขอเสนอแนะแลวใหหัวหนาหองรวบรวมงานทั้งหมด จัดทําเปนรูปเลมรายงาน ขั้นประยุกตใช ครูใหนักเรียนชวยกันเลือกขอที่นาสนใจแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน 7.2 กิจกรรมบูรณาการ ครูสามารถบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยกําหนดภาระงานใหนักเรียนชวยกัน เขียนกลอนเกี่ยวกับความหมายของพหุนามได
  • 26. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 66 8. บันทึกหลังการสอน บันทึกหลังการสอน (บันทึกเฉพาะประเด็นที่มขอมูลสารสนเทศชัดเจน ) ี ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดที่ควรปรับปรุง 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2. การใชสื่อการเรียนรู 3. การประเมินผลการเรียนรู 4. การบรรลุผลการเรียนรูของนักเรียน บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………….. ตําแหนง…….……..………………………..
  • 27. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 67 9. ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือวัดผล แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคลวิชาคณิตศาสตร ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรุง ความสนใจ การตอบคําถาม การทํากิจกรรมหนาชั้นเรียน การใชความรูทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร ในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ความสามารถในการใชภาษาและสื่อลักษณทาง คณิตศาสตรในการสื่อสารสื่อความหมาย แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน แบบประเมินพฤติกรรมการทํางาน ชื่อนักเรียน ....................................................... ชั้น ........... วันที่ ................ เดือน ............................. ป .................... ครั้งที่ .................................................................. ผูสังเกต ............................................................................................... ระดับการประเมิน หัวขอการประเมิน ดีมาก ดี ปานกลาง นอย นอยมาก การวางแผน การกําหนดการปฏิบัติงานมีขั้นตอนชัดเจน การปฏิบัติตามขั้นตอนที่กําหนด ความคิดสรางสรรค ผลการทํางาน
  • 28. แผนการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติม ม.2 ภาคเรียนที่ 1 68 แผนการจัดการเรียนรูที่ 2 (ชั่วโมงที่ 2-3) เรื่อง การบวกพหุนาม เวลา 2 ชั่วโมง 1. เปาหมายการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู 1) สามารถหาผลบวกของพหุนามไดอยางถูกตอง 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได 1.2 จุดประสงคการเรียนรู สามารถหาผลบวกของพหุนามได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การนําพจนที่คลายกันมาบวกกัน โดยการนําสัมประสิทธิ์มาบวกกัน แลวคูณดวยสวนที่อยูในรูปของ ตัวแปร จะเทากับการหาผลบวกของพหุนาม 2.2 ทักษะ / กระบวนการ การคิดวิเคราะห การตีความหมาย การคิดคํานวณ 2.3 ทักษะการคิด การคิดคํานวณ การคิดสรุปความ การคิดแปลความ การคิดวิเคราะห การใหเหตุผล 3. รองรอยการเรียนรู 3.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) การทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7 – 8 2) แบบฝกหัด 3.2 กระบวนการขั้นตอนการปฏิบัตงาน ิ 1) จัดกลุม กลุมละ 3 คน 2) เลือกหัวหนากลุม 3) หัวหนากลุมแบงงาน 4) รวมกันจัดทําบัตรกิจกรรม 5) นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 6) รวมกันทํากิจกรรมตรวจสอบความเขาใจ 7) สงงาน