SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
1
เรวตีวิมาน
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒. เรวตีวิมาน
ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่นันทิยะอุบาสกผู้เป็ นสามีของนางเรวดี
(พระผู้มีพระภาคตรัสว่า)
[๘๖๑] ญาติมิตรและสหายผู้มีใจดี
ย่อมยินดีต้อนรับบุคคลผู้ร้างแรมไปนาน แล้วกลับมาจากที่ไกลโดยสวัสดีว่า
“มาแล้ว” ฉันใด
[๘๖๒] บุญทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน
ย่อมต้อนรับเฉพาะบุคคลผู้ทาบุญไว้แล้ว ซึ่งจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้า
เหมือนญาติต้อนรับญาติที่รักผู้กลับมา
(ยักษ์บริวารของท้าวเวสวัณปรารถนาจะจับนางเรวดีโยนลงไปในอุสสทนรกจึงกล่
าวว่า)
[๘๖๓] จงลุกขึ้น นางเรวดีผู้แสนจะชั่วช้า มีปกติไม่ให้ทาน
ประตู(นรก)เปิดแล้ว พวกเราจะนาเจ้าไปโยนลงนรก
อันเป็นสถานที่ทอดถอนใจของเหล่าสัตว์นรก ผู้มีความทุกข์ทรมานทนทุกข์อยู่
(พระธรรมสังคีติกาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า)
[๘๖๔] ยักษ์ใหญ่ตาแดงสองตนดังทูตพญายมนั้น ครั้นกล่าวดังนี้แล้ว
ก็จับแขนนางเรวดีคนละข้าง พาไปใกล้หมู่เทวดา
(นางเรวดีถามยักษ์สองตนว่า)
[๘๖๕] นั่นวิมานของใคร มีรัศมีดังแสงอาทิตย์ น่าพอใจ เรืองรอง
งดงาม น่าอยู่อาศัย ปกคลุมด้วยตาข่ายทอง
เนืองแน่นไปด้วยเทพบุตรและเทพธิดา รุ่งโรจน์ดังแสงอาทิตย์
[๘๖๖] หมู่เทพนารีลูบไล้กายด้วยแก่นจันทน์หอม
ช่วยทาวิมานทั้งภายในและภายนอกให้งดงาม
วิมานนั้นมีรัศมีปรากฏเสมอด้วยแสงอาทิตย์
คนที่ขึ้นสวรรค์บันเทิงอยู่ในวิมานเป็ นใครกัน
(ยักษ์สองตนจึงบอกแก่นางเรวดีว่า)
[๘๖๗] ที่กรุงพาราณสี มีอุบาสกชื่อนันทิยะ เป็นคนไม่ตระหนี่
เป็นทานบดี รู้ความประสงค์ของผู้ขอ
วิมานที่เนืองแน่นไปด้วยเทพบุตรและเทพธิดา รุ่งโรจน์ดังแสงอาทิตย์
นั้นเป็ นของนันทิยอุบาสก
2
[๘๖๘] หมู่เทพนารีลูบไล้กายด้วยแก่นจันทน์หอม
ช่วยทาวิมานทั้งภายในและภายนอกให้งดงาม
วิมานนั้นมีรัศมีปรากฏเสมอด้วยแสงอาทิตย์ คนที่ขึ้นสวรรค์ บันเทิงอยู่ในวิมาน
คือนันทิยอุบาสก
(นางเรวดีกล่าวว่า)
[๘๖๙] ฉันเป็นภรรยาของนันทิยอุบาสก เป็นใหญ่ในเรือน
เป็นใหญ่ในทรัพย์สินทั้งหมดของสามี บัดนี้ ฉันจะรื่นรมย์ในวิมานของสามี
ไม่ปรารถนาจะเห็นนรก
(ยักษ์สองตนนั้นไม่ยอมเชื่อจึงพาตัวนางลงไปใกล้อุสสทนรกแล้วกล่าวว่า)
[๘๗๐] นางผู้แสนจะชั่วช้า นี่แหละนรกสาหรับเจ้า
บุญเจ้าไม่ได้ทาไว้ในมนุษยโลก เพราะคนตระหนี่ มักโกรธ มีบาปธรรม
ย่อมไม่ได้อยู่ร่วมกับผู้เกิดในสวรรค์
(นางเรวดีเห็นนายนิรยบาลสองตนพากันมาฉุดคร่าตน
เพื่อจะโยนลงไปในคูถนรก ชื่อว่า สังสวกะ จึงถามถึงนรกนั้นว่า)
[๘๗๑] ทาไมหนอจึงปรากฏแต่อุจจาระ ปัสสาวะ สิ่งสกปรก เหตุไฉน
อุจจาระนี้จึงมีกลิ่นเหม็นร้ายกาจ คละคลุ้งไปเล่า
(นายนิรยบาลตอบว่า)
[๘๗๒] นางเรวดี นรกที่เจ้าจะหมกไหม้อยู่หลายพันปีนี้ มีชื่อว่า
สังสวกนรก ลึกร้อยชั่วคน
(นางเรวดีจึงถามว่า)
[๘๗๓] ฉันทากรรมชั่วทางกายวาจาใจอะไรหรือหนอ
จึงตกสังสวกนรกที่ลึกร้อยชั่วคน
(นายนิรยบาลตอบว่า)
[๘๗๔] เจ้าลวงสมณพราหมณ์และวณิพกพวกอื่น
ด้วยการกล่าวเท็จนั่นแหละบาปที่เจ้าทาไว้
[๘๗๕] เพราะบาปนั้นเจ้าจึงตกสังสวกนรกที่ลึก ๑๐๐ ชั่วคน นางเรวดี
เจ้าจะต้องหมกไหม้อยู่ในนรกนั้นหลายพันปี
[๘๗๖] นายนิรยบาลทั้งหลาย จะตัดมือ เท้า หู แม้กระทั่งจมูก อนึ่ง
แม้ฝูงนกกาก็จะพากันมารุมจิกกินเจ้าที่ดิ้นทุรนทุรายอยู่
(นางเรวดีกล่าวว่า)
[๘๗๗] โปรดเถิดพ่อคุณ ขอท่านทั้งหลายช่วยนาดิฉันกลับไปเถิด
ดิฉันจักสร้างกุศลกรรม ที่คนทาแล้วได้รับความสุข
และไม่เดือดร้อนในภายหลังนั้นให้มาก ด้วยการให้ทาน ประพฤติธรรมสม่าเสมอ
การสารวม และการฝึกอินทรีย์
3
(นายนิรยบาลกล่าวว่า)
[๘๗๘] เมื่อก่อน เจ้าประมาทมัวเมา บัดนี้จะมาร่าไห้ทาไมเล่า
เจ้าจักต้องเสวยผลกรรมทั้งหลายที่เจ้าทาไว้เอง
(นางเรวดีกล่าวว่า)
[๘๗๙] ใครจากเทวโลกไปยังมนุษยโลก เมื่อถูกถาม
พึงกล่าวถ้อยคาของดิฉันอย่างนี้ว่า ขอท่านทั้งหลายจงถวายทาน คือผ้านุ่ง ผ้าห่ม
ที่นอน ที่นั่ง ข้าวและน้า ในสมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ปล่อยวางอาชญา
เพราะว่าคนตระหนี่ มักโกรธ มีบาปธรรม ย่อมไม่ได้เกิดร่วมกับผู้ไปสวรรค์
[๘๘๐] ถ้าดิฉันนั้นจากที่นี้ไป ได้เกิดเป็นมนุษย์แล้ว
จักรู้ความประสงค์ของผู้ขอ สมบูรณ์ด้วยศีล จักสร้างกุศลให้มากด้วยการให้ทาน
ประพฤติธรรมสม่าเสมอ การสารวม และการฝึกอินทรีย์
[๘๘๑] ดิฉันจักปลูกสวนไม้ดอกไม้ผล
จักตัดทางเข้าไปในสถานที่ที่เดินลาบาก
ขุดบ่อน้าและตั้งน้าดื่มไว้ด้วยใจที่ผ่องแผ้ว
[๘๘๒] จักเข้าจาอุโบสถศีลซึ่งประกอบด้วยองค์ ๘ ทุกวัน ๑๔ ค่า ๑๕
ค่าและ ๘ ค่าแห่งปักษ์ และตลอดวันปาฏิหาริยปักษ์
[๘๘๓] ดิฉันจักสารวมระวังในศีลตลอดเวลา
และจักไม่ละเลยในการให้ทาน เพราะผลกรรมนี้ ดิฉันได้เห็นเองแล้ว
(พระสังคีติกาจารย์กล่าวไว้ว่า)
[๘๘๔] นายนิรยบาลทั้งหลายช่วยกันโยนนางเรวดี
ที่กาลังพร่าเพ้อดิ้นรนไปมาอยู่อย่างนี้ ให้เท้าชี้หัวดิ่งลงไปในนรกอันน่ากลัว
(นางเรวดีได้กล่าวคาถาสุดท้ายอีกว่า)
[๘๘๕] ชาติก่อน ฉันเป็นคนตระหนี่ ด่าว่าสมณพราหมณ์
และลวงสามีด้วยเรื่องไม่จริง จึงหมกไหม้ในนรกที่น่ากลัว
เรวตีวิมานที่ ๒ จบ
-------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ
อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ มหารถวรรคที่ ๕
๒. เรวดีวิมาน
อรรถกถาเรวตีวิมาน
เรวตีวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
กรุงพาราณสี.
สมัยนั้น ตระกูลที่สมบูรณ์ด้วยศรัทธาในกรุงพาราณสี
มีบุตรชื่อนันทิยะ เป็ นอุบาสก ถึงพร้อมด้วยศรัทธา เป็นทายก เป็นทานบดี
4
เป็นผู้บารุงพระสงฆ์.
ครั้งนั้น บิดามารดาของเขามีความประสงค์จะนาหญิงสาวชื่อเรวดี
ธิดาของลุงมาแต่เรือนที่พวกญาติอยู่กันพร้อมหน้า แต่นางเป็ นคนไม่มีศรัทธา
มีปกติไม่ให้ทาน.
นันทิยะจึงไม่ต้องการนาง.
มารดาของนันทิยะพูดกะเรวดีว่า แม่หนู เจ้ามาเรือนนี้แล้ว
จงเอาโคมัยสดไล้ทาที่นั่งของภิกษุสงฆ์ ปูลาดอาสนะ ตั้งเชิงรองบาตร
เวลาภิกษุทั้งหลายมา จงไหว้ รับบาตร นิมนต์ให้นั่ง เอาที่กรองน้ากรองน้าดื่ม
แล้วล้างบาตรเวลาพระฉันเสร็จแล้ว อย่างนี้จักเป็ นที่ยินดีของลูกฉัน.
นางก็ได้ทาตามคาสั่งสอน.
ลาดับนั้น บิดามารดาบอกนันทิยะว่า เรวดีเป็นหญิงที่พอสั่งสอนได้.
เมื่อนันทิยะรับว่า ดีแล้ว จึงกาหนดวันแล้วทาพิธีอาวาหมงคล.
ครั้งนั้น นันทิยะกล่าวกะนางว่า
ถ้าเธอจักบารุงภิกษุสงฆ์และบิดามารดาของฉัน เมื่อเป็นอย่างนี้
เธอก็อยู่ในเรือนนี้ได้ อย่าประมาทนะ. นางรับคาว่า ดีแล้ว
เป็นเหมือนมีศรัทธาอยู่ตลอดเวลา อนุวัตรตามสามี คลอดบุตร ๒ คน.
บิดามารดาของนันทิยะได้ทากาละตายแล้ว
ความเป็นใหญ่ทุกอย่างในเรือนได้ตกอยู่แก่นางคนเดียว.
แม้นันทิยะก็ได้เป็นมหาทานบดี เริ่มตั้งทานถวายภิกษุสงฆ์
เริ่มตั้งปากวัตร (หุงข้าวเป็นประจา)
ที่ประตูเรือนไว้สาหรับคนยากไร้และคนเดินทางเป็นต้น เขาสร้างศาลา ๔ หลัง
ประดับด้วยห้อง ๔ ห้อง ที่อิสิปตนมหาวิหาร ให้จัดตั้งเตียงตั่งเป็นต้น
ถวายมหาทานแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
แล้วหลั่งน้าทักษิโณทกลงในพระหัตถ์ของพระตถาคต มอบถวาย.
พร้อมกับการถวายน้าทักษิโณทก ได้มีปราสาททิพย์
ล้วนแล้วไปด้วยรัตนะ ๗ ประการ ทั้งยาวและกว้าง ๑๒ โยชน์โดยรอบ
สูงร้อยโยชน์ เอิกเกริกไปด้วยหมู่นางอัปสรพันหนึ่ง ได้ผุดขึ้น ณ
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะไปเที่ยวเทวจาริกเห็นปราสาทนั้น
ถามพวกเทพบุตรที่มาไหว้ว่า นี้ปราสาทของใคร.
เทพบุตรทั้งหลายกล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เจ้าของปราสาทหลังนี้
ชื่อนันทิยะ เป็ นบุตรของกุฎุมพี กรุงพาราณสี ในโลกมนุษย์ ได้สร้างศาลา ๔ หลัง
ที่อิสิปตนมหาวิหาร ถวายสงฆ์ ปราสาทหลังนี้บังเกิดขึ้นสาหรับนันทิยะนั้น.
แม้เหล่าเทพอัปสรที่บังเกิดในปราสาทก็ไหว้พระเถระ กล่าวว่า
ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ
5
พวกดีฉันบังเกิดในปราสาทนี้เพื่อเป็นบริจาริกาของอุบาสกชื่อนันทิยะ
กรุงพาราณสี ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกแก่เขาอย่างนี้ว่า
เหล่าเทพธิดาที่บังเกิดเพื่อเป็นบริจาริกาของท่าน เมื่อท่านชักช้าอยู่ ก็งุ่นง่าน
ชื่อว่าสมบัติในเทวโลก ย่อมเป็นที่พอใจยิ่ง
เหมือนทุบภาชนะดินแล้วรับเอาภาชนะทองฉะนั้น แล้วกล่าวว่า
ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกแก่เขา เพื่อให้เขามาในที่นี้.
พระเถระรับคาว่าดีแล้ว. รีบมาจากเทวโลก
ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าท่ามกลางบริษัทว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ทิพยสมบัติย่อมบังเกิดคอยท่าคนที่ทาบุญแล้วแต่ยังอยู่ในมนุษยโลกนี้หรือ
พระเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ
ทิพยสมบัติที่บังเกิดคอยท่านันทิยะในเทวโลก เธอได้เห็นเองแล้วมิใช่หรือ
เหตุไรเธอจึงถามเรา. พระโมคคัลลานเถระกราบทูลว่า
ทิพยสมบัติบังเกิดขึ้นคอยท่าอยู่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
ครั้งนั้น พระศาสดาเมื่อทรงแสดงแก่พระเถระนั้นว่า
มิตรและพวกพ้องทั้งหลายย่อมยินดีต้อนรับคนที่จากไปนานแล้วกลับมาฉันใด
บุญทั้งหลายของตนๆ ย่อมต้อนรับประคับประคองบุคคลที่ทาบุญไว้
ผู้จากโลกนี้ไปปรโลก ฉันนั้น.
ได้ทรงภาษิตพระคาถาทั้งหลายว่า
ญาติมิตรและสหายผู้มีใจดี ย่อมยินดีต้อนรับบุคคลผู้ร้างแรมไปนาน
แล้วกลับมาโดยสวัสดีจากที่ไกลฉันใด แม้บุญที่ทาแล้วก็ฉันนั้น
บุญทั้งหลายย่อมต้อนรับบุคคลผู้ทาบุญ ผู้ไปจากโลกนี้สู่โลกอื่น
เหมือนญาติต้อนรับญาติที่รักผู้กลับมาฉะนั้น.
นันทิยะได้ฟังดังนั้นแล้ว ถวายทานทั้งหลาย
กระทาบุญทั้งหลายมากมายยิ่งขึ้น เมื่อเขาไปค้าขายได้บอกกะเรวดีว่า ที่รัก
สังฆทานก็ดี ปากวัตรเพื่อคนอนาถาก็ดีที่ฉันตั้งไว้ เธออย่าลืมเสีย จงให้ดาเนินไป.
นางรับคาว่า ดีแล้ว.
แม้เขาเดินทางไปพักอยู่ในที่ใดๆ ก็คงถวายทานแก่ภิกษุทั้งหลาย
และให้ทานแก่คนอนาถาตามสมควรแก่ทรัพย์ในที่นั้นๆ เหมือนเดิม
พระขีณาสพทั้งหลายมารับทานแม้แต่ที่ไกล เพื่ออนุเคราะห์เขา.
ฝ่ายนางเรวดี เมื่อนันทิยะไปแล้ว นางให้ทานอยู่สองสามวันเท่านั้น
แล้วงดอาหารสาหรับคนอนาถา แม้สาหรับภิกษุทั้งหลาย
นางได้ถวายข้าวต้มผสมน้าตาลเป็นภัตตาหาร มีน้าส้มเป็ นที่สอง.
นางได้โปรยเมล็ดข้าวสุกซึ่งเหลือจากที่ตนบริโภค มีชิ้นปลาชิ้นเนื้อปนอยู่
มีกระดูกเกลื่อนกลาด ในสถานที่ฉันอาหารของภิกษุทั้งหลาย
6
แล้วแสดงแก่คนทั้งหลายว่า ท่านทั้งหลายจงดูการกระทาของพวกสมณะ
พวกสมณะทิ้งขว้างของที่เขาถวายด้วยศรัทธากันอย่างนี้.
ลาดับนั้น นันทิยะเสร็จการค้าขายได้กาไรแล้วกลับมา
ได้ทราบความเป็นไปดังนั้น จึงไล่นางเรวดีออกจากเรือนแล้วตนเข้าเรือน.
ในวันที่สอง
นันทิยะได้ถวายทานเป็นอันมากแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็ นประมุข
ได้ให้นิจภัตรและอนาถภัตรดาเนินไปโดยชอบอย่างเดิม.
เขาตั้งนางเรวดีที่พวกสหายของเขานากลับมา ให้เป็นใหญ่ในการดูแลอาหาร.
สมัยต่อมา
เขาทากาละบังเกิดในวิมานของตนนั่นเองในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์.
ฝ่ายนางเรวดีเลิกทานทุกอย่างแล้วเที่ยวด่าบริภาษภิกษุสงฆ์
ด้วยเข้าใจว่า เพราะสมณะเหล่านี้ ฉันจึงเสื่อมลาภสักการะ.
ครั้งนั้น ท้าวเวสวัณมีบัญชากะยักษ์สองตนว่า พนาย
ท่านทั้งสองจงไปป่าวประกาศในนครพาราณสีว่า จากวันนี้ไปเจ็ดวัน
นางเรวดีจะถูกโยนใส่นรกทั้งเป็ น มหาชนได้ฟังดังนั้นเกิดสลดใจ
ทั้งกลัวและหวาดสะดุ้ง.
ครั้งนั้น นางเรวดีขึ้นปราสาท ปิดประตูแล้วนั่งอยู่ ในวันที่เจ็ด
ท้าวเวสวัณซึ่งถูกบาปกรรมของนางเรวดีเตือนบัญชาสั่งยักษ์สองตนผู้มีผมและหน
วดสีดาปนแดงแสงเรือง มีจมูกเบี้ยวบิดผิดปกติ มีเขี้ยวโง้ง นัยน์ตาแดง
มีผิวพรรณเสมอด้วยยางสน มีรูปร่างน่ากลัวเหลือเกิน เข้าไปกล่าวเป็ นต้นว่า
ลุกขึ้น แม่เรวดีผู้ชั่วร้าย. จับแขนทั้งสองประกาศว่า มหาชนจงดู.
ทาให้ล้มลุกคลุกคลานไปจากถนนหนึ่งไปอีกถนนหนึ่งทั่วพระนคร
และเหาะขึ้นนาไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
แสดงวิมานและสมบัติของนันทิยะให้นางได้เห็น
แล้วส่งนางซึ่งกาลังเพ้อราพันอยู่นั่นแลไปใกล้อุสสทนรก
บุรุษของพระยายมได้โยนนางลงอุสสทนรก.
เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
ลุกขึ้น แม่เรวดี ตัวชั่วร้าย ผู้ไม่ปิดประตู (นรก) ผู้มีปกติไม่ให้ทาน
เราจักนาเจ้าไปในที่ที่พวกสัตว์นรกผู้ตกยาก เพียบด้วยทุกข์ ต้องถอนใจอยู่.
เมื่อยักษ์เหล่านั้นนาไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์แล้วพักไว้ใกล้ๆ
วิมานของนันทิยะอย่างนี้ นางเรวดีเห็นวิมานนั้นสว่างจ้าเหลือเกิน
เหมือนดวงอาทิตย์ จึงถามยักษ์เหล่านั้นว่า
วิมานงามมีรัศมีดังดวงอาทิตย์งามสว่างจ้า
คลุมด้วยข่ายทองมีเทพอัปสรเกลื่อนกลาด นั่นเป็ นวิมานของใคร
รุ่งเรืองเพียงแสงอาทิตย์ หมู่เทพนารีไล้ทาด้วยแก่นจันทน์
7
ทาวิมานให้งดงามทั้งสองด้าน วิมานนั้นปรากฏมีรัศมีเสมอดวงอาทิตย์
ใครขึ้นสวรรค์ บันเทิงอยู่ในวิมาน.
แม้ยักษ์เหล่านั้นก็ได้บอกแก่นางเรวดีว่า
ในกรุงพาราณสี มีอุบาสกชื่อนันทิยะ เป็นคนไม่ตระหนี่ เป็ นทานบดี
เป็นผู้รู้ถ้อยคา วิมานที่มีอัปสรเกลื่อนกลาด รุ่งเรืองเพียงแสงอาทิตย์
นี้เป็นของอุบาสกนั้น. หมู่เทพนารีไล้ทาด้วยแก่นจันทน์
ทาวิมานให้งดงามทั้งสองด้าน วิมานนั้นปรากฏมีรัศมีเสมอดวงอาทิตย์
นันทิยะอุบาสกนั้นขึ้นสวรรค์ บันเทิงอยู่ในวิมาน.
ลาดับนั้น นางเรวดีกล่าวว่า
ดีฉันเป็ นภรรยาของนันทิยะ เป็นเจ้าของเรือน
เป็นใหญ่ของตระกูลทั้งหมด บัดนี้ ดีฉันจักยินดีในวิมานของสามี
ไม่ปรารถนาเห็นนรก.
ยักษ์ทั้งสองนานางผู้กาลังกล่าวอยู่อย่างนั้นแหละไปใกล้นรก
โดยกล่าวว่า เจ้าจะปรารถนาหรือไม่ปรารถนาก็ตาม
ไม่มีประโยชน์อะไรด้วยการปรารถนาของเจ้า แล้วกล่าวคาถาว่า
แน่ะนางตัวชั่วร้าย นี้แหละนรกของเจ้า เจ้าไม่ทาบุญในมนุษยโลก
ด้วยว่าคนตระหนี่ โกรธเคือง
มีบาปธรรมย่อมไม่ได้ความเป็ นสหายของผู้ขึ้นสวรรค์.
นี้แหละนรกของเจ้า
คือเป็นสถานที่เจ้าจะพึงเสวยทุกข์ใหญ่ตลอดกาลนาน เพราะเหตุไร
เพราะเจ้าไม่ทาบุญในมนุษยโลก. ประกอบความว่า
เพราะชื่อว่าบุญแม้มีประมาณน้อย เจ้ามิได้ทาไว้ในมนุษยโลก.
อนึ่ง สัตว์เช่นเจ้าไม่ทาบุญอย่างนี้แล้วยังตระหนี่
คือประกอบด้วยความตระหนี่ซึ่งมีลักษณะหวงแหนสมบัติของตน
เป็ นผู้โกรธเคือง ด้วยการให้ความโกรธเคืองเกิดขึ้นแก่ผู้อื่น เป็ นผู้มีบาปธรรม
เพราะพรั่งพร้อมด้วยบาปธรรมมีความโลภเป็นต้น ย่อมไม่ได้ความเป็นสหาย
คือภาวะร่วมกันของเทวดาทั้งหลายผู้เข้าถึงสวรรค์.
ก็แหละครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว
ยักษ์สองตนนั้นได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง
ฝ่ายนางเรวดีเห็นนิรยบาลสองนายคล้ายๆ กัน
กาลังฉุดคร่านางเพื่อใส่ในคูถนรกชื่อสังสวกะ จึงถามถึงนรกนั้นว่า
คูถมูตรและของไม่สะอาด เห็นกันได้เฉพาะหรือหนอ
อุจจาระนี้มีกลิ่นเหม็นหรือมันฟุ้ งไปได้หรือ.
เมื่อนิรยบาลกล่าวคานั้นว่า
นรกนี้ชื่อสังสวกะ ลึกชั่วร้อยบุรุษ
8
เป็นนรกที่เจ้าจะต้องหมกไหม้อยู่หลายพันปี นะเรวดี.
นางถามถึงกรรมที่เป็ นเหตุให้ตนบังเกิดในนรกนั้นว่า
ดีฉันทากรรมชั่วด้วยกายวาจาใจหรือหนอ ดีฉันได้นรกสังสวกะ
ลึกชั่วร้อยบุรุษ เพราะบาปกรรมอะไร.
นิรยบาลบอกกรรมนั้นของเธอว่า
เจ้าหลอกลวงสมณะ พราหมณ์และวณิพกทั้งหลาย ด้วยมุสาวาท
เจ้าทาบาปนั้นไว้.
แล้วกล่าวอีกว่า
เพราะบาปกรรมนั้น เจ้าจึงได้นรกสังสวกะลึกชั่วร้อยบุรุษ
เจ้าจะต้องหมกไหม้อยู่ในนรกนั้นหลายพันปี นะเรวดี.
นางเรวดีได้ราพันเพ้อต่อไปถึงเรื่องนั้นๆ
เช่นขอกลับมนุษยโลกเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
โปรดเถิด ขอท่านทั้งหลายช่วยนาดีฉันกลับ ดีฉันจักกระทาบุญให้มาก
ด้วยทาน สมจริยา สัญญมะและทมะที่คนทั้งหลายทาแล้วจะมีความสุข
และไม่ต้องเดือดร้อนภายหลัง.
พวกนิรยบาลกล่าวอีกว่า
เมื่อก่อนเจ้าประมาทแล้ว บัดนี้คร่าครวญอยู่
เจ้าจักเสวยวิบากแห่งกรรมทั้งหลายที่เจ้าทาไว้เอง.
นางเรวดีกล่าวอีกว่า
ใครจากเทวโลกไปสู่มนุษยโลก ถูกถามแล้ว
พึงกล่าวคาของดีฉันอย่างนี้ว่า ขอท่านทั้งหลายจงถวายทาน ผ้านุ่งห่ม ที่นอน ข้าว
น้า ในสมณพราหมณ์ผู้วางอาชญาแล้ว ด้วยว่าคนตระหนี่ โกรธเคือง มีบาปธรรม
ย่อมไม่ได้ความเป็ นสหายของผู้ขึ้นสวรรค์.
ดีฉันนั้นไปจากที่นี้ ได้กาเนิดเป็นมนุษย์แล้ว
จักเป็นผู้รู้ถ้อยคาของผู้ขอทานสมบูรณ์ด้วยศีล จักกระทากุศลให้มากด้วยทาน
สมจริยา สัญญมะและทมะแน่.
ดีฉันจักปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่น จักตัดทางเข้าไปในที่ที่เดินไปลาบาก
จักขุดบ่อและตั้งน้าดื่มไว้ด้วยใจที่ผ่องใส.
ดีฉันจักเข้าจาอุโบสถประกอบด้วยองค์ ๘ ตลอด ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า ๘
ค่าแห่งปักษ์ และตลอดปาฏิหาริยปักษ์ สารวมในศีลทุกเมื่อ
และจักไม่ประมาทในทาน ผลกรรมนี้ ดีฉันเห็นแล้วด้วยตนเอง
ลาดับนั้น
พวกนิรยบาลได้โยนนางเรวดีผู้กาลังราพันเพ้อดิ้นรนอยู่อย่างนั้น
จากที่นั้นลงนรกที่น่ากลัว หัวลงดินตีนชี้ฟ้ าด้วยประการฉะนี้
นี้เป็ นคาของพระสังคีติกาจารย์.
9
นางเรวดีได้กล่าวคาถาสุดท้ายอีกว่า
เมื่อก่อน ดีฉันได้เป็นคนตระหนี่ บริภาษสมณพราหมณ์
และหลอกลวงสามีด้วยเรื่องไม่จริง จึงหมกไหม้ในนรกที่น่ากลัว ดังนี้.
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนางเรวดีถูกพวกยักษ์จับนาไป
แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสดับดังนั้นแล้ว ตรัสเรื่องนี้ตั้งแต่ต้น
ทรงแสดงพระธรรมโดยพิสดารยิ่งขึ้น จบเทศนา
ชนเป็นอันมากได้บรรลุโสดาปัตติผลเป็ นต้น.
เรื่องนี้เรียกว่าเรวตีวิมาน
เพราะโดยมากเป็นเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกับนางเรวดีโดยแท้
แต่เพราะนางเรวดีไม่ใช่เทวดาที่มีวิมาน
ทั้งเรื่องนี้ก็ประกอบด้วยสมบัติมีวิมานของนันทิยเทพบุตรเป็นต้น ฉะนั้น
พระสังคีติกาจารย์จึงยกขึ้นสู่สังคายนาไว้ในฝ่ายปุริสวิมานนั่นแล
บัณฑิตพึงทราบดังนี้.
จบอรรถกถาเรวตีวิมาน
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๕๒. เรวตีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
Rose Banioki
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
Panda Jing
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
watpadongyai
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to ๕๒. เรวตีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx (19)

พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๑.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๑.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๑.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๑.pdf
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
2 บทสวดมนต์ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๕
 
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
(๕) มหากัสสปเถราปทาน มจร.pdf
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
บทพระคำข้าว
บทพระคำข้าวบทพระคำข้าว
บทพระคำข้าว
 
พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์พลังแห่งบุญฤทธิ์
พลังแห่งบุญฤทธิ์
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๓๒. ลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า๐๐๖.๐๔.  สุดยอด วัตร  ๑๔  หน้าแรกมีตาราง      มี ๓๔  หน้า
๐๐๖.๐๔. สุดยอด วัตร ๑๔ หน้าแรกมีตาราง มี ๓๔ หน้า
 
26 โสณนันทปัณฑิตจริยา มจร.pdf
26 โสณนันทปัณฑิตจริยา มจร.pdf26 โสณนันทปัณฑิตจริยา มจร.pdf
26 โสณนันทปัณฑิตจริยา มจร.pdf
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๑๕ อานาปานัสสติสูตร มจร.pdf
๑๕ อานาปานัสสติสูตร มจร.pdf๑๕ อานาปานัสสติสูตร มจร.pdf
๑๕ อานาปานัสสติสูตร มจร.pdf
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

Recently uploaded

440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Recently uploaded (16)

440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
431 หริตจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
427 คิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
429 มหาสุวราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
403 อัฏฐิเสนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
301 จูฬกาลิงคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
369 มิตตวินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
369 มิตตวินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...369 มิตตวินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
369 มิตตวินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
500 สิรีมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
354 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

๕๒. เรวตีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

  • 1. 1 เรวตีวิมาน พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา ๒. เรวตีวิมาน ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่นันทิยะอุบาสกผู้เป็ นสามีของนางเรวดี (พระผู้มีพระภาคตรัสว่า) [๘๖๑] ญาติมิตรและสหายผู้มีใจดี ย่อมยินดีต้อนรับบุคคลผู้ร้างแรมไปนาน แล้วกลับมาจากที่ไกลโดยสวัสดีว่า “มาแล้ว” ฉันใด [๘๖๒] บุญทั้งหลายก็เช่นเดียวกัน ย่อมต้อนรับเฉพาะบุคคลผู้ทาบุญไว้แล้ว ซึ่งจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้า เหมือนญาติต้อนรับญาติที่รักผู้กลับมา (ยักษ์บริวารของท้าวเวสวัณปรารถนาจะจับนางเรวดีโยนลงไปในอุสสทนรกจึงกล่ าวว่า) [๘๖๓] จงลุกขึ้น นางเรวดีผู้แสนจะชั่วช้า มีปกติไม่ให้ทาน ประตู(นรก)เปิดแล้ว พวกเราจะนาเจ้าไปโยนลงนรก อันเป็นสถานที่ทอดถอนใจของเหล่าสัตว์นรก ผู้มีความทุกข์ทรมานทนทุกข์อยู่ (พระธรรมสังคีติกาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า) [๘๖๔] ยักษ์ใหญ่ตาแดงสองตนดังทูตพญายมนั้น ครั้นกล่าวดังนี้แล้ว ก็จับแขนนางเรวดีคนละข้าง พาไปใกล้หมู่เทวดา (นางเรวดีถามยักษ์สองตนว่า) [๘๖๕] นั่นวิมานของใคร มีรัศมีดังแสงอาทิตย์ น่าพอใจ เรืองรอง งดงาม น่าอยู่อาศัย ปกคลุมด้วยตาข่ายทอง เนืองแน่นไปด้วยเทพบุตรและเทพธิดา รุ่งโรจน์ดังแสงอาทิตย์ [๘๖๖] หมู่เทพนารีลูบไล้กายด้วยแก่นจันทน์หอม ช่วยทาวิมานทั้งภายในและภายนอกให้งดงาม วิมานนั้นมีรัศมีปรากฏเสมอด้วยแสงอาทิตย์ คนที่ขึ้นสวรรค์บันเทิงอยู่ในวิมานเป็ นใครกัน (ยักษ์สองตนจึงบอกแก่นางเรวดีว่า) [๘๖๗] ที่กรุงพาราณสี มีอุบาสกชื่อนันทิยะ เป็นคนไม่ตระหนี่ เป็นทานบดี รู้ความประสงค์ของผู้ขอ วิมานที่เนืองแน่นไปด้วยเทพบุตรและเทพธิดา รุ่งโรจน์ดังแสงอาทิตย์ นั้นเป็ นของนันทิยอุบาสก
  • 2. 2 [๘๖๘] หมู่เทพนารีลูบไล้กายด้วยแก่นจันทน์หอม ช่วยทาวิมานทั้งภายในและภายนอกให้งดงาม วิมานนั้นมีรัศมีปรากฏเสมอด้วยแสงอาทิตย์ คนที่ขึ้นสวรรค์ บันเทิงอยู่ในวิมาน คือนันทิยอุบาสก (นางเรวดีกล่าวว่า) [๘๖๙] ฉันเป็นภรรยาของนันทิยอุบาสก เป็นใหญ่ในเรือน เป็นใหญ่ในทรัพย์สินทั้งหมดของสามี บัดนี้ ฉันจะรื่นรมย์ในวิมานของสามี ไม่ปรารถนาจะเห็นนรก (ยักษ์สองตนนั้นไม่ยอมเชื่อจึงพาตัวนางลงไปใกล้อุสสทนรกแล้วกล่าวว่า) [๘๗๐] นางผู้แสนจะชั่วช้า นี่แหละนรกสาหรับเจ้า บุญเจ้าไม่ได้ทาไว้ในมนุษยโลก เพราะคนตระหนี่ มักโกรธ มีบาปธรรม ย่อมไม่ได้อยู่ร่วมกับผู้เกิดในสวรรค์ (นางเรวดีเห็นนายนิรยบาลสองตนพากันมาฉุดคร่าตน เพื่อจะโยนลงไปในคูถนรก ชื่อว่า สังสวกะ จึงถามถึงนรกนั้นว่า) [๘๗๑] ทาไมหนอจึงปรากฏแต่อุจจาระ ปัสสาวะ สิ่งสกปรก เหตุไฉน อุจจาระนี้จึงมีกลิ่นเหม็นร้ายกาจ คละคลุ้งไปเล่า (นายนิรยบาลตอบว่า) [๘๗๒] นางเรวดี นรกที่เจ้าจะหมกไหม้อยู่หลายพันปีนี้ มีชื่อว่า สังสวกนรก ลึกร้อยชั่วคน (นางเรวดีจึงถามว่า) [๘๗๓] ฉันทากรรมชั่วทางกายวาจาใจอะไรหรือหนอ จึงตกสังสวกนรกที่ลึกร้อยชั่วคน (นายนิรยบาลตอบว่า) [๘๗๔] เจ้าลวงสมณพราหมณ์และวณิพกพวกอื่น ด้วยการกล่าวเท็จนั่นแหละบาปที่เจ้าทาไว้ [๘๗๕] เพราะบาปนั้นเจ้าจึงตกสังสวกนรกที่ลึก ๑๐๐ ชั่วคน นางเรวดี เจ้าจะต้องหมกไหม้อยู่ในนรกนั้นหลายพันปี [๘๗๖] นายนิรยบาลทั้งหลาย จะตัดมือ เท้า หู แม้กระทั่งจมูก อนึ่ง แม้ฝูงนกกาก็จะพากันมารุมจิกกินเจ้าที่ดิ้นทุรนทุรายอยู่ (นางเรวดีกล่าวว่า) [๘๗๗] โปรดเถิดพ่อคุณ ขอท่านทั้งหลายช่วยนาดิฉันกลับไปเถิด ดิฉันจักสร้างกุศลกรรม ที่คนทาแล้วได้รับความสุข และไม่เดือดร้อนในภายหลังนั้นให้มาก ด้วยการให้ทาน ประพฤติธรรมสม่าเสมอ การสารวม และการฝึกอินทรีย์
  • 3. 3 (นายนิรยบาลกล่าวว่า) [๘๗๘] เมื่อก่อน เจ้าประมาทมัวเมา บัดนี้จะมาร่าไห้ทาไมเล่า เจ้าจักต้องเสวยผลกรรมทั้งหลายที่เจ้าทาไว้เอง (นางเรวดีกล่าวว่า) [๘๗๙] ใครจากเทวโลกไปยังมนุษยโลก เมื่อถูกถาม พึงกล่าวถ้อยคาของดิฉันอย่างนี้ว่า ขอท่านทั้งหลายจงถวายทาน คือผ้านุ่ง ผ้าห่ม ที่นอน ที่นั่ง ข้าวและน้า ในสมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ปล่อยวางอาชญา เพราะว่าคนตระหนี่ มักโกรธ มีบาปธรรม ย่อมไม่ได้เกิดร่วมกับผู้ไปสวรรค์ [๘๘๐] ถ้าดิฉันนั้นจากที่นี้ไป ได้เกิดเป็นมนุษย์แล้ว จักรู้ความประสงค์ของผู้ขอ สมบูรณ์ด้วยศีล จักสร้างกุศลให้มากด้วยการให้ทาน ประพฤติธรรมสม่าเสมอ การสารวม และการฝึกอินทรีย์ [๘๘๑] ดิฉันจักปลูกสวนไม้ดอกไม้ผล จักตัดทางเข้าไปในสถานที่ที่เดินลาบาก ขุดบ่อน้าและตั้งน้าดื่มไว้ด้วยใจที่ผ่องแผ้ว [๘๘๒] จักเข้าจาอุโบสถศีลซึ่งประกอบด้วยองค์ ๘ ทุกวัน ๑๔ ค่า ๑๕ ค่าและ ๘ ค่าแห่งปักษ์ และตลอดวันปาฏิหาริยปักษ์ [๘๘๓] ดิฉันจักสารวมระวังในศีลตลอดเวลา และจักไม่ละเลยในการให้ทาน เพราะผลกรรมนี้ ดิฉันได้เห็นเองแล้ว (พระสังคีติกาจารย์กล่าวไว้ว่า) [๘๘๔] นายนิรยบาลทั้งหลายช่วยกันโยนนางเรวดี ที่กาลังพร่าเพ้อดิ้นรนไปมาอยู่อย่างนี้ ให้เท้าชี้หัวดิ่งลงไปในนรกอันน่ากลัว (นางเรวดีได้กล่าวคาถาสุดท้ายอีกว่า) [๘๘๕] ชาติก่อน ฉันเป็นคนตระหนี่ ด่าว่าสมณพราหมณ์ และลวงสามีด้วยเรื่องไม่จริง จึงหมกไหม้ในนรกที่น่ากลัว เรวตีวิมานที่ ๒ จบ ------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ มหารถวรรคที่ ๕ ๒. เรวดีวิมาน อรรถกถาเรวตีวิมาน เรวตีวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร ? พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน กรุงพาราณสี. สมัยนั้น ตระกูลที่สมบูรณ์ด้วยศรัทธาในกรุงพาราณสี มีบุตรชื่อนันทิยะ เป็ นอุบาสก ถึงพร้อมด้วยศรัทธา เป็นทายก เป็นทานบดี
  • 4. 4 เป็นผู้บารุงพระสงฆ์. ครั้งนั้น บิดามารดาของเขามีความประสงค์จะนาหญิงสาวชื่อเรวดี ธิดาของลุงมาแต่เรือนที่พวกญาติอยู่กันพร้อมหน้า แต่นางเป็ นคนไม่มีศรัทธา มีปกติไม่ให้ทาน. นันทิยะจึงไม่ต้องการนาง. มารดาของนันทิยะพูดกะเรวดีว่า แม่หนู เจ้ามาเรือนนี้แล้ว จงเอาโคมัยสดไล้ทาที่นั่งของภิกษุสงฆ์ ปูลาดอาสนะ ตั้งเชิงรองบาตร เวลาภิกษุทั้งหลายมา จงไหว้ รับบาตร นิมนต์ให้นั่ง เอาที่กรองน้ากรองน้าดื่ม แล้วล้างบาตรเวลาพระฉันเสร็จแล้ว อย่างนี้จักเป็ นที่ยินดีของลูกฉัน. นางก็ได้ทาตามคาสั่งสอน. ลาดับนั้น บิดามารดาบอกนันทิยะว่า เรวดีเป็นหญิงที่พอสั่งสอนได้. เมื่อนันทิยะรับว่า ดีแล้ว จึงกาหนดวันแล้วทาพิธีอาวาหมงคล. ครั้งนั้น นันทิยะกล่าวกะนางว่า ถ้าเธอจักบารุงภิกษุสงฆ์และบิดามารดาของฉัน เมื่อเป็นอย่างนี้ เธอก็อยู่ในเรือนนี้ได้ อย่าประมาทนะ. นางรับคาว่า ดีแล้ว เป็นเหมือนมีศรัทธาอยู่ตลอดเวลา อนุวัตรตามสามี คลอดบุตร ๒ คน. บิดามารดาของนันทิยะได้ทากาละตายแล้ว ความเป็นใหญ่ทุกอย่างในเรือนได้ตกอยู่แก่นางคนเดียว. แม้นันทิยะก็ได้เป็นมหาทานบดี เริ่มตั้งทานถวายภิกษุสงฆ์ เริ่มตั้งปากวัตร (หุงข้าวเป็นประจา) ที่ประตูเรือนไว้สาหรับคนยากไร้และคนเดินทางเป็นต้น เขาสร้างศาลา ๔ หลัง ประดับด้วยห้อง ๔ ห้อง ที่อิสิปตนมหาวิหาร ให้จัดตั้งเตียงตั่งเป็นต้น ถวายมหาทานแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข แล้วหลั่งน้าทักษิโณทกลงในพระหัตถ์ของพระตถาคต มอบถวาย. พร้อมกับการถวายน้าทักษิโณทก ได้มีปราสาททิพย์ ล้วนแล้วไปด้วยรัตนะ ๗ ประการ ทั้งยาวและกว้าง ๑๒ โยชน์โดยรอบ สูงร้อยโยชน์ เอิกเกริกไปด้วยหมู่นางอัปสรพันหนึ่ง ได้ผุดขึ้น ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้งนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะไปเที่ยวเทวจาริกเห็นปราสาทนั้น ถามพวกเทพบุตรที่มาไหว้ว่า นี้ปราสาทของใคร. เทพบุตรทั้งหลายกล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ เจ้าของปราสาทหลังนี้ ชื่อนันทิยะ เป็ นบุตรของกุฎุมพี กรุงพาราณสี ในโลกมนุษย์ ได้สร้างศาลา ๔ หลัง ที่อิสิปตนมหาวิหาร ถวายสงฆ์ ปราสาทหลังนี้บังเกิดขึ้นสาหรับนันทิยะนั้น. แม้เหล่าเทพอัปสรที่บังเกิดในปราสาทก็ไหว้พระเถระ กล่าวว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ
  • 5. 5 พวกดีฉันบังเกิดในปราสาทนี้เพื่อเป็นบริจาริกาของอุบาสกชื่อนันทิยะ กรุงพาราณสี ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกแก่เขาอย่างนี้ว่า เหล่าเทพธิดาที่บังเกิดเพื่อเป็นบริจาริกาของท่าน เมื่อท่านชักช้าอยู่ ก็งุ่นง่าน ชื่อว่าสมบัติในเทวโลก ย่อมเป็นที่พอใจยิ่ง เหมือนทุบภาชนะดินแล้วรับเอาภาชนะทองฉะนั้น แล้วกล่าวว่า ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกแก่เขา เพื่อให้เขามาในที่นี้. พระเถระรับคาว่าดีแล้ว. รีบมาจากเทวโลก ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าท่ามกลางบริษัทว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทิพยสมบัติย่อมบังเกิดคอยท่าคนที่ทาบุญแล้วแต่ยังอยู่ในมนุษยโลกนี้หรือ พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ ทิพยสมบัติที่บังเกิดคอยท่านันทิยะในเทวโลก เธอได้เห็นเองแล้วมิใช่หรือ เหตุไรเธอจึงถามเรา. พระโมคคัลลานเถระกราบทูลว่า ทิพยสมบัติบังเกิดขึ้นคอยท่าอยู่อย่างนั้น พระเจ้าข้า. ครั้งนั้น พระศาสดาเมื่อทรงแสดงแก่พระเถระนั้นว่า มิตรและพวกพ้องทั้งหลายย่อมยินดีต้อนรับคนที่จากไปนานแล้วกลับมาฉันใด บุญทั้งหลายของตนๆ ย่อมต้อนรับประคับประคองบุคคลที่ทาบุญไว้ ผู้จากโลกนี้ไปปรโลก ฉันนั้น. ได้ทรงภาษิตพระคาถาทั้งหลายว่า ญาติมิตรและสหายผู้มีใจดี ย่อมยินดีต้อนรับบุคคลผู้ร้างแรมไปนาน แล้วกลับมาโดยสวัสดีจากที่ไกลฉันใด แม้บุญที่ทาแล้วก็ฉันนั้น บุญทั้งหลายย่อมต้อนรับบุคคลผู้ทาบุญ ผู้ไปจากโลกนี้สู่โลกอื่น เหมือนญาติต้อนรับญาติที่รักผู้กลับมาฉะนั้น. นันทิยะได้ฟังดังนั้นแล้ว ถวายทานทั้งหลาย กระทาบุญทั้งหลายมากมายยิ่งขึ้น เมื่อเขาไปค้าขายได้บอกกะเรวดีว่า ที่รัก สังฆทานก็ดี ปากวัตรเพื่อคนอนาถาก็ดีที่ฉันตั้งไว้ เธออย่าลืมเสีย จงให้ดาเนินไป. นางรับคาว่า ดีแล้ว. แม้เขาเดินทางไปพักอยู่ในที่ใดๆ ก็คงถวายทานแก่ภิกษุทั้งหลาย และให้ทานแก่คนอนาถาตามสมควรแก่ทรัพย์ในที่นั้นๆ เหมือนเดิม พระขีณาสพทั้งหลายมารับทานแม้แต่ที่ไกล เพื่ออนุเคราะห์เขา. ฝ่ายนางเรวดี เมื่อนันทิยะไปแล้ว นางให้ทานอยู่สองสามวันเท่านั้น แล้วงดอาหารสาหรับคนอนาถา แม้สาหรับภิกษุทั้งหลาย นางได้ถวายข้าวต้มผสมน้าตาลเป็นภัตตาหาร มีน้าส้มเป็ นที่สอง. นางได้โปรยเมล็ดข้าวสุกซึ่งเหลือจากที่ตนบริโภค มีชิ้นปลาชิ้นเนื้อปนอยู่ มีกระดูกเกลื่อนกลาด ในสถานที่ฉันอาหารของภิกษุทั้งหลาย
  • 6. 6 แล้วแสดงแก่คนทั้งหลายว่า ท่านทั้งหลายจงดูการกระทาของพวกสมณะ พวกสมณะทิ้งขว้างของที่เขาถวายด้วยศรัทธากันอย่างนี้. ลาดับนั้น นันทิยะเสร็จการค้าขายได้กาไรแล้วกลับมา ได้ทราบความเป็นไปดังนั้น จึงไล่นางเรวดีออกจากเรือนแล้วตนเข้าเรือน. ในวันที่สอง นันทิยะได้ถวายทานเป็นอันมากแด่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็ นประมุข ได้ให้นิจภัตรและอนาถภัตรดาเนินไปโดยชอบอย่างเดิม. เขาตั้งนางเรวดีที่พวกสหายของเขานากลับมา ให้เป็นใหญ่ในการดูแลอาหาร. สมัยต่อมา เขาทากาละบังเกิดในวิมานของตนนั่นเองในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์. ฝ่ายนางเรวดีเลิกทานทุกอย่างแล้วเที่ยวด่าบริภาษภิกษุสงฆ์ ด้วยเข้าใจว่า เพราะสมณะเหล่านี้ ฉันจึงเสื่อมลาภสักการะ. ครั้งนั้น ท้าวเวสวัณมีบัญชากะยักษ์สองตนว่า พนาย ท่านทั้งสองจงไปป่าวประกาศในนครพาราณสีว่า จากวันนี้ไปเจ็ดวัน นางเรวดีจะถูกโยนใส่นรกทั้งเป็ น มหาชนได้ฟังดังนั้นเกิดสลดใจ ทั้งกลัวและหวาดสะดุ้ง. ครั้งนั้น นางเรวดีขึ้นปราสาท ปิดประตูแล้วนั่งอยู่ ในวันที่เจ็ด ท้าวเวสวัณซึ่งถูกบาปกรรมของนางเรวดีเตือนบัญชาสั่งยักษ์สองตนผู้มีผมและหน วดสีดาปนแดงแสงเรือง มีจมูกเบี้ยวบิดผิดปกติ มีเขี้ยวโง้ง นัยน์ตาแดง มีผิวพรรณเสมอด้วยยางสน มีรูปร่างน่ากลัวเหลือเกิน เข้าไปกล่าวเป็ นต้นว่า ลุกขึ้น แม่เรวดีผู้ชั่วร้าย. จับแขนทั้งสองประกาศว่า มหาชนจงดู. ทาให้ล้มลุกคลุกคลานไปจากถนนหนึ่งไปอีกถนนหนึ่งทั่วพระนคร และเหาะขึ้นนาไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ แสดงวิมานและสมบัติของนันทิยะให้นางได้เห็น แล้วส่งนางซึ่งกาลังเพ้อราพันอยู่นั่นแลไปใกล้อุสสทนรก บุรุษของพระยายมได้โยนนางลงอุสสทนรก. เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ลุกขึ้น แม่เรวดี ตัวชั่วร้าย ผู้ไม่ปิดประตู (นรก) ผู้มีปกติไม่ให้ทาน เราจักนาเจ้าไปในที่ที่พวกสัตว์นรกผู้ตกยาก เพียบด้วยทุกข์ ต้องถอนใจอยู่. เมื่อยักษ์เหล่านั้นนาไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์แล้วพักไว้ใกล้ๆ วิมานของนันทิยะอย่างนี้ นางเรวดีเห็นวิมานนั้นสว่างจ้าเหลือเกิน เหมือนดวงอาทิตย์ จึงถามยักษ์เหล่านั้นว่า วิมานงามมีรัศมีดังดวงอาทิตย์งามสว่างจ้า คลุมด้วยข่ายทองมีเทพอัปสรเกลื่อนกลาด นั่นเป็ นวิมานของใคร รุ่งเรืองเพียงแสงอาทิตย์ หมู่เทพนารีไล้ทาด้วยแก่นจันทน์
  • 7. 7 ทาวิมานให้งดงามทั้งสองด้าน วิมานนั้นปรากฏมีรัศมีเสมอดวงอาทิตย์ ใครขึ้นสวรรค์ บันเทิงอยู่ในวิมาน. แม้ยักษ์เหล่านั้นก็ได้บอกแก่นางเรวดีว่า ในกรุงพาราณสี มีอุบาสกชื่อนันทิยะ เป็นคนไม่ตระหนี่ เป็ นทานบดี เป็นผู้รู้ถ้อยคา วิมานที่มีอัปสรเกลื่อนกลาด รุ่งเรืองเพียงแสงอาทิตย์ นี้เป็นของอุบาสกนั้น. หมู่เทพนารีไล้ทาด้วยแก่นจันทน์ ทาวิมานให้งดงามทั้งสองด้าน วิมานนั้นปรากฏมีรัศมีเสมอดวงอาทิตย์ นันทิยะอุบาสกนั้นขึ้นสวรรค์ บันเทิงอยู่ในวิมาน. ลาดับนั้น นางเรวดีกล่าวว่า ดีฉันเป็ นภรรยาของนันทิยะ เป็นเจ้าของเรือน เป็นใหญ่ของตระกูลทั้งหมด บัดนี้ ดีฉันจักยินดีในวิมานของสามี ไม่ปรารถนาเห็นนรก. ยักษ์ทั้งสองนานางผู้กาลังกล่าวอยู่อย่างนั้นแหละไปใกล้นรก โดยกล่าวว่า เจ้าจะปรารถนาหรือไม่ปรารถนาก็ตาม ไม่มีประโยชน์อะไรด้วยการปรารถนาของเจ้า แล้วกล่าวคาถาว่า แน่ะนางตัวชั่วร้าย นี้แหละนรกของเจ้า เจ้าไม่ทาบุญในมนุษยโลก ด้วยว่าคนตระหนี่ โกรธเคือง มีบาปธรรมย่อมไม่ได้ความเป็ นสหายของผู้ขึ้นสวรรค์. นี้แหละนรกของเจ้า คือเป็นสถานที่เจ้าจะพึงเสวยทุกข์ใหญ่ตลอดกาลนาน เพราะเหตุไร เพราะเจ้าไม่ทาบุญในมนุษยโลก. ประกอบความว่า เพราะชื่อว่าบุญแม้มีประมาณน้อย เจ้ามิได้ทาไว้ในมนุษยโลก. อนึ่ง สัตว์เช่นเจ้าไม่ทาบุญอย่างนี้แล้วยังตระหนี่ คือประกอบด้วยความตระหนี่ซึ่งมีลักษณะหวงแหนสมบัติของตน เป็ นผู้โกรธเคือง ด้วยการให้ความโกรธเคืองเกิดขึ้นแก่ผู้อื่น เป็ นผู้มีบาปธรรม เพราะพรั่งพร้อมด้วยบาปธรรมมีความโลภเป็นต้น ย่อมไม่ได้ความเป็นสหาย คือภาวะร่วมกันของเทวดาทั้งหลายผู้เข้าถึงสวรรค์. ก็แหละครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ยักษ์สองตนนั้นได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง ฝ่ายนางเรวดีเห็นนิรยบาลสองนายคล้ายๆ กัน กาลังฉุดคร่านางเพื่อใส่ในคูถนรกชื่อสังสวกะ จึงถามถึงนรกนั้นว่า คูถมูตรและของไม่สะอาด เห็นกันได้เฉพาะหรือหนอ อุจจาระนี้มีกลิ่นเหม็นหรือมันฟุ้ งไปได้หรือ. เมื่อนิรยบาลกล่าวคานั้นว่า นรกนี้ชื่อสังสวกะ ลึกชั่วร้อยบุรุษ
  • 8. 8 เป็นนรกที่เจ้าจะต้องหมกไหม้อยู่หลายพันปี นะเรวดี. นางถามถึงกรรมที่เป็ นเหตุให้ตนบังเกิดในนรกนั้นว่า ดีฉันทากรรมชั่วด้วยกายวาจาใจหรือหนอ ดีฉันได้นรกสังสวกะ ลึกชั่วร้อยบุรุษ เพราะบาปกรรมอะไร. นิรยบาลบอกกรรมนั้นของเธอว่า เจ้าหลอกลวงสมณะ พราหมณ์และวณิพกทั้งหลาย ด้วยมุสาวาท เจ้าทาบาปนั้นไว้. แล้วกล่าวอีกว่า เพราะบาปกรรมนั้น เจ้าจึงได้นรกสังสวกะลึกชั่วร้อยบุรุษ เจ้าจะต้องหมกไหม้อยู่ในนรกนั้นหลายพันปี นะเรวดี. นางเรวดีได้ราพันเพ้อต่อไปถึงเรื่องนั้นๆ เช่นขอกลับมนุษยโลกเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า โปรดเถิด ขอท่านทั้งหลายช่วยนาดีฉันกลับ ดีฉันจักกระทาบุญให้มาก ด้วยทาน สมจริยา สัญญมะและทมะที่คนทั้งหลายทาแล้วจะมีความสุข และไม่ต้องเดือดร้อนภายหลัง. พวกนิรยบาลกล่าวอีกว่า เมื่อก่อนเจ้าประมาทแล้ว บัดนี้คร่าครวญอยู่ เจ้าจักเสวยวิบากแห่งกรรมทั้งหลายที่เจ้าทาไว้เอง. นางเรวดีกล่าวอีกว่า ใครจากเทวโลกไปสู่มนุษยโลก ถูกถามแล้ว พึงกล่าวคาของดีฉันอย่างนี้ว่า ขอท่านทั้งหลายจงถวายทาน ผ้านุ่งห่ม ที่นอน ข้าว น้า ในสมณพราหมณ์ผู้วางอาชญาแล้ว ด้วยว่าคนตระหนี่ โกรธเคือง มีบาปธรรม ย่อมไม่ได้ความเป็ นสหายของผู้ขึ้นสวรรค์. ดีฉันนั้นไปจากที่นี้ ได้กาเนิดเป็นมนุษย์แล้ว จักเป็นผู้รู้ถ้อยคาของผู้ขอทานสมบูรณ์ด้วยศีล จักกระทากุศลให้มากด้วยทาน สมจริยา สัญญมะและทมะแน่. ดีฉันจักปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่น จักตัดทางเข้าไปในที่ที่เดินไปลาบาก จักขุดบ่อและตั้งน้าดื่มไว้ด้วยใจที่ผ่องใส. ดีฉันจักเข้าจาอุโบสถประกอบด้วยองค์ ๘ ตลอด ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า ๘ ค่าแห่งปักษ์ และตลอดปาฏิหาริยปักษ์ สารวมในศีลทุกเมื่อ และจักไม่ประมาทในทาน ผลกรรมนี้ ดีฉันเห็นแล้วด้วยตนเอง ลาดับนั้น พวกนิรยบาลได้โยนนางเรวดีผู้กาลังราพันเพ้อดิ้นรนอยู่อย่างนั้น จากที่นั้นลงนรกที่น่ากลัว หัวลงดินตีนชี้ฟ้ าด้วยประการฉะนี้ นี้เป็ นคาของพระสังคีติกาจารย์.
  • 9. 9 นางเรวดีได้กล่าวคาถาสุดท้ายอีกว่า เมื่อก่อน ดีฉันได้เป็นคนตระหนี่ บริภาษสมณพราหมณ์ และหลอกลวงสามีด้วยเรื่องไม่จริง จึงหมกไหม้ในนรกที่น่ากลัว ดังนี้. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนางเรวดีถูกพวกยักษ์จับนาไป แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสดับดังนั้นแล้ว ตรัสเรื่องนี้ตั้งแต่ต้น ทรงแสดงพระธรรมโดยพิสดารยิ่งขึ้น จบเทศนา ชนเป็นอันมากได้บรรลุโสดาปัตติผลเป็ นต้น. เรื่องนี้เรียกว่าเรวตีวิมาน เพราะโดยมากเป็นเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกับนางเรวดีโดยแท้ แต่เพราะนางเรวดีไม่ใช่เทวดาที่มีวิมาน ทั้งเรื่องนี้ก็ประกอบด้วยสมบัติมีวิมานของนันทิยเทพบุตรเป็นต้น ฉะนั้น พระสังคีติกาจารย์จึงยกขึ้นสู่สังคายนาไว้ในฝ่ายปุริสวิมานนั่นแล บัณฑิตพึงทราบดังนี้. จบอรรถกถาเรวตีวิมาน -----------------------------------------------------