SlideShare a Scribd company logo
1
ทัพภปุปผชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๕. ทัพภปุปผชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๐)
ว่าด้วยสุนัขจิ้งจอกชื่อทัพภปุปผะ
(นากที่เที่ยวไปในน้าลึกพูดกับนากที่เที่ยวไปตามริมฝั่งว่า)
[๒๙] เพื่อนผู้เจริญ เพื่อนผู้เที่ยวไปตามริมฝั่ง จงวิ่งตามเรามาเถิด
เราจับปลาใหญ่ได้แล้ว มันพาเราไปอย่างรวดเร็ว
(นากที่เที่ยวไปตามริมฝั่งพูดว่า)
[๓๐] เพื่อนผู้เจริญ เพื่อนผู้เที่ยวไปในน้าลึก
จงจับมันไว้ให้มั่นคงด้วยกาลัง เราจะยกมันขึ้นมาเหมือนนกครุฑโฉบงูขึ้น
(นากทั้ง ๒ พูดกับสุนัขจิ้งจอกว่า)
[๓๑] พวกเราเกิดวิวาทกันขึ้น พ่อทัพภปุปผะจงฟังเรา
เพื่อนจงระงับความทะเลาะกัน ขอความวิวาทจงสงบไป
(สุนัขจิ้งจอกกล่าวว่า)
[๓๒] เมื่อก่อนเราเป็ นผู้ตั้งอยู่ในธรรม พิจารณาคดีมาแล้วมากมาย
เพื่อน เราจะระงับความทะเลาะกัน ความวิวาทจงสงบไป
[๓๓] นากตัวที่เที่ยวไปตามริมฝั่งจงเอาหางไป
ตัวที่เที่ยวไปในน้าลึกจงเอาหัวไป ส่วนท่อนกลางนี้ตกเป็ นของเราผู้ตั้งอยู่ในธรรม
(นากทั้ง ๒ พูดกันว่า)
[๓๔] ถ้าเราไม่ทะเลาะกัน จักมีอาหารไปนานวัน
สุนัขจิ้งจอกคาบเอาปลาตะเพียนที่ไม่ใช่ท่อนหัวท่อนหางไปเสียแล้ว
(เมียสุนัขจิ้งจอกถามว่า)
[๓๕] วันนี้เรายินดีเพราะเห็นผัวมีหน้าเบิกบาน
เหมือนขัตติยราชทรงยินดีเพราะได้ราชสมบัติ
[๓๖] ทาไมหนอ ท่านเกิดอยู่บนบกจึงจับปลาในน้าได้ นี่ท่านผู้ร่วมชีวิต
ฉันถามแล้วโปรดบอก ท่านได้มาอย่างไร
(สุนัขจิ้งจอกตอบว่า)
[๓๗] เพราะการทะเลาะกัน สัตว์จึงผ่ายผอม ทรัพย์จึงสิ้นไป
พวกนากเสื่อมเพราะการทะเลาะกัน แม่มายาวี เธอจงกินปลาตะเพียนเถิด
[๓๘] ในหมู่มนุษย์ก็เช่นเดียวกัน เกิดการทะเลาะในที่ใด
ก็จะพากันไปหาผู้ตั้งอยู่ในธรรมในที่นั้น ผู้วินิจฉัยคดีนั้นเป็ นผู้ตัดสินให้พวกเขา
ในการทะเลาะนั้นก็จะพากันหมดสิ้นทรัพย์ไป พระคลังหลวงก็จะเพิ่มพูน
ทัพภปุปผชาดกที่ ๕ จบ
-------------------------------
2
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ทัพพปุปผกชาดก
ว่าด้วย โทษของการโต้เถียงกัน
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภพระอุปนันทศากยบุตร แล้วจึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ดังจะกล่าวโดยย่อ
ท่านบวชในพระศาสนาแล้ว ละคุณธรรมมีความปรารถนาน้อยเป็นต้น
ได้เป็นผู้มีความทะยานอยากมาก. ในวันเข้าพรรษาท่านยึดครองวัดไว้ ๒,๓ วัด
คือวางร่มหรือรองเท้าไว้วัดหนึ่ง ไม้เท้าคนแก่หรือหม้อน้าไว้อีกวัดหนึ่ง
ตนเองก็อยู่วัดหนึ่ง.
ท่านจาพรรษาที่วัดในชนบทวัดหนึ่ง
สอนปฏิปทาอันเป็นวงศ์ของพระอริยเจ้า
ที่แสดงถึงความสันโดษในปัจจัยแก่ภิกษุทั้งหลายแจ่มชัด
เหมือนยกพระจันทร์ขึ้นในอากาศ ก็ปานกันว่า ธรรมดาภิกษุควรเป็ นผู้มักน้อย.
ภิกษุทั้งหลายได้ฟังคานั้นแล้ว พากันทิ้งบาตรและจีวรที่น่าชอบใจ
รับเอาบาตรดินเหนียวและผ้าบังสุกุล. ท่านให้ภิกษุทั้งหลายวางของเหล่านั้นไว้ ณ
ที่อยู่ท่าน ออกพรรษาปวารณาแล้ว บรรทุกเต็มเกวียนไปพระเชตวันมหาวิหาร
ถูกเถาวัลย์เกี่ยวเท้า ที่ด้านหลังวัดป่าแห่งหนึ่ง ในระหว่างทาง เข้าใจว่า
จักต้องมีของอะไรที่เราควรได้ในวัดนี้แน่นอน แล้วจึงแวะวัดนั้น.
ในวัดนั้น ภิกษุแก่คือหลวงตา จาพรรษาอยู่ ๒ รูป.
ท่านได้ผ้าสาฎกเนื้อหยาบ ๒ ผืนและผ้ากัมพล
เนื้อละเอียดผืนหนึ่งไม่อาจจะแบ่งกันได้ เห็นท่านมาดีใจว่า
พระเถระจักแบ่งให้พวกเราได้แน่ จึงพากันเรียนท่านว่า ใต้เท้าขอรับ
พวกกระผมไม่สามารถแบ่งผ้าจานาพรรษานี้ได้ พวกกระผมจะมีการวิวาทกัน
เพราะผ้าจานาพรรษานี้ ขอใต้เท้า จงแบ่งผ้านี้ให้แก่พวกกระผม. ท่านรับปากว่า
ดีแล้ว ผมจักแบ่งให้แล้วได้แบ่งผ้าสาฎกเนื้อหยาบให้ภิกษุ ๒ รูป บอกว่า
ผืนนี้คือผ้ากัมพลตกแก่ผมผู้เป็นพระวินัยธร แล้วก็หยิบเอาผ้ากัมพล หลีกไป.
พระเถระแม้เหล่านั้น ยังมีความอาลัยในผ้ากัมพล
จึงพากันไปเชตวันมหาวิหารพร้อมกับท่านอุปนันทะนั้นนั่นแหละ
ได้บอกเนื้อความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลายผู้เป็นพระวินัยธร แล้วกล่าวว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ มีหรือไม่หนอ
การที่พระวินัยธรทั้งหลายกินของที่ริบมาได้อย่างนี้.
ภิกษุทั้งหลายเห็นกองบาตรและจีวร ที่พระอุปนันทะนามาแล้ว พูดว่า
ท่านผู้มีอายุ ท่านมีบุญมากหรือ? ท่านจึงได้บาตรและจีวรมาก.
ท่านบอกทุกอย่างว่า ท่านผู้มีอายุ ผมจักมีบุญแต่ที่ไหน?
3
บาตรและจีวรนี้ผมได้มาด้วยอุบายนี้.
ภิกษุทั้งหลายพากันตั้งเรื่องขึ้นในธรรมสภาว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ
ท่านอุปนันทศากยบุตรมีตัณหามาก มีความโลภมาก.
พระศาสดาเสด็จมาถึงแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร?
เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่าด้วยเรื่องชื่อนี้ ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย
พระอุปนันทะไม่ทาสิ่งที่เหมาะสมแก่ปฏิปทา ธรรมดาว่าภิกษุ
เมื่อจะบอกปฏิปทาแก่ผู้อื่น ควรจะทาให้เหมาะสมแก่ตนก่อน
แล้วจึงให้โอวาทผู้อื่นในภายหลัง.
ครั้นทรงแสดงธรรม ด้วยคาถาในธรรมบทนี้ว่า :-
คนควรตั้งตนเองไว้ในที่เหมาะสมก่อน ภายหลังจึงพร่าสอนผู้อื่น
ผู้ฉลาดไม่ควรจะมัวหมอง.
แล้วตรัสว่า พระอุปนันทะไม่ใช่มีความโลภมากแต่ในบัดนี้เท่านั้น
แม้เมื่อแต่ก่อน เธอก็มีความโลภมากเหมือนกัน และก็ไม่ใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น
แม้เมื่อก่อน เธอก็ริบสิ่งของของภิกษุเหล่านี้เหมือนกัน
แล้วได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์ได้เป็ นรุกขเทวดาที่ฝั่งแม่น้า.
ครั้งนั้น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งชื่อมายาวี คือเจ้าเล่ห์ พาเมียไปอยู่ ณ
ที่แห่งหนึ่งใกล้ฝั่งแม่น้า. อยู่มาวันหนึ่ง สุนัขจิ้งจอกตัวเมียพูดกับตัวผู้ว่า
พี่ฉันเกิดแพ้ท้องแล้ว ฉันอยากกินเนื้อที่ยังมีเลือดสดๆ อยู่.
สุนัขจิ้งจอกตัวผู้บอกว่า น้องอย่าท้อใจ พี่จักนามาให้น้องให้ได้
จึงเดินไปริมฝั่งน้า.
ขณะนั้น นาก ๒ ตัวคือตัวหนึ่งเที่ยวหากินน้าลึกเป็ นปกติ
ส่วนตัวหนึ่งเที่ยวหากินตามฝั่งเป็นปกติ กาลังเสาะแสวงหาปลา
ได้หยุดยืนอยู่ที่ตลิ่ง. บรรดานาก ๒ ตัวนั้น ตัวเที่ยวหากินน้าลึก
เห็นปลาตะเพียนแดงตัวใหญ่ จึงดาน้าไปโดยเร็วคาบหางปลาไว้ได้.
แต่ปลาแรงมากฉุดนากไป.
นากตัวที่เที่ยวหากินน้าลึกจึงเจรจาตกลงกับนากอีกตัวหนึ่งว่า
ปลาตัวใหญ่จักพอกินสาหรับเราทั้ง ๒ มาเถอะ จงเป็ นสหายผู้ร่วมงานของเรา.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
ดูก่อนสหายนาก ผู้เที่ยวหากินตามฝั่ง ขอท่านจงมีความเจริญ
จงตามฉันมาเถิด ฉันคาบปลาตัวใหญ่ไว้ แล้วมันลากฉันไปด้วยกาลังเร็ว.
นากอีกตัวหนึ่ง ได้ยินคานั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
ดูก่อนนากผู้เที่ยวหากินในน้าลึก ขอท่านจงมีความเจริญ
4
ท่านจงคาบไว้ให้มั่นด้วยกาลัง เราจักยกปลานั้นขึ้นเหมือนครุฑยกนาคขึ้น ฉะนั้น.
ลาดับนั้น นากทั้ง ๒ ตัวนั้นร่วมกันนาปลาตะเพียนแดงออกมาได้
วางให้ตายอยู่บนบกเกิดการทะเลาะกันว่า แบ่งสิ แกแบ่งสิ แล้วไม่อาจแบ่งกันได้
จึงหยุดนั่งกันอยู่. ขณะนั้น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งเข้ามาถึงที่นั้น.
นากเหล่านั้นเห็นแล้ว ทั้ง ๒ ตัวจึงพากันต้อนรับแล้ว พูดว่า สหายทรรพบุบผา
ปลาตัวนี้ พวกเราจับได้ร่วมกัน เมื่อพวกเราไม่สามารถจะแบ่งกันได้
จึงเกิดขัดแย้งกันขึ้น ขอเชิญท่านแบ่งปลาให้พวกเราเท่าๆ กันเถิด
แล้วได้กล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
สหายทรรพบุบผา พวกเราเกิดทะเลาะกันขึ้น ขอท่านจงฟังเรา
ดูก่อนสหาย ขอจงระงับความบาดหมางกัน ขอให้ข้อพิพาทจงสงบลง.
สุนัขจิ้งจอกได้ยินถ้อยคาของนากเหล่านั้นแล้ว
เมื่อจะแสดงถึงปรีชาสามารถของตน จึงกล่าวคาถานี้ว่า :-
เราเป็นผู้พิพากษามาก่อน ได้พิจารณาคดีมาแล้วมากมายสหาย
เราจะระงับความบาดหมางกัน ข้อพิพาทจงสงบลง.
สุนัขจิ้งจอกครั้นกล่าวคาถานี้แล้ว เมื่อจะแบ่งปลา จึงกล่าวคาถานี้ว่า :-
สหายผู้เที่ยวหากินตามฝั่ง ท่อนหางจักเป็นของเจ้า
แต่ท่อนหัวจักเป็ นของผู้เที่ยวหากินในน้าลึก
ส่วนอีกท่อนกลางนี้จักเป็นของผู้ตัดสิน.
บรรดาคาถาทั้ง ๒ นั้น คาถาที่ ๑ มีเนื้อความดังนี้.
เราเคยเป็นผู้พิพากษาของพระราชาทั้งหลายมาก่อน
เรานั้นนั่งในศาลพิจารณาคดีมามากทีเดียว คือคดีมากมาย
ของพราหมณ์และคหบดีทั้งหลายเหล่านั้นๆ เราพิจารณา คือวินิจฉัยมาแล้ว
เรานั้นจักไม่อาจพิจารณาคดีของสัตว์ ๔ เท้าทั้งหลาย ผู้มีชาติเสมอกัน
เช่นท่านทั้งหลายได้อย่างไร เราจะระงับความร้าวราญของท่านทั้งหลาย สหาย
ความวิวาทบาดหมางกัน จงสงบคือระงับไป เพราะอาศัยเรา. ก็แหละ
ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว มันก็แบ่งปลาเป็น ๓ ส่วนแล้วบอกว่า
ดูก่อนนากตัวเที่ยวหากินตามฝั่ง เจ้าจงคาบเอาท่อนหาง
ท่อนหัวจงเป็ นของตัวเที่ยวหากินในน้าลึก. ท่อนกลางนี้จักเป็นของผู้พิพากษา
คือนายผู้วินิจฉัยคดี.
สุนัขจิ้งจอกครั้นแบ่งปลาอย่างนี้แล้ว ก็บอกว่า
เจ้าทั้งหลายอย่าทะเลาะกัน แล้วพากันกินท่อนหางและท่อนหัวเถิด
แล้วก็เอาปากคาบเอาท่อนกลางหนีไป ทั้งๆ ที่นาก ๒ ตัวนั้นเห็นอยู่นั่นแหละ.
นาก ๒ ตัวนั้นนั่งหน้าเสียเหมือนแพ้ตั้งพันครั้ง แล้วได้กล่าวคาถาที่ ๖
ว่า :-
ถ้าเราไม่วิวาทกันไซร้ ท่อนกลางก็จักเป็ นอาหารไปได้นานวัน
5
แต่เพราะวิวาทกัน สุนัขจิ้งจอกจึงนาเอาปลาตะเพียนแดงที่ไม่ใช่หัวไม่ใช่หางไป
คือท่อนกลาง.
ฝ่ายสุนัขจิ้งจอกดีใจว่า วันนี้ เราจักให้เมียกินปลาตะเพียนแดง
แล้วได้มาที่สานักของเมียนั้น. นางเมียเห็นผัวกาลังมาดีใจเป็ นอย่างยิ่ง
จึงได้กล่าวคาถานี้ว่า :-
วันนี้ ฉันเห็นผัวมีอาหารเต็มปาก จึงชื่นใจ
เหมือนกษัตริย์ได้ราชสมบัติเป็นพระราชาแล้วพึงทรงชื่นพระทัย ก็ปานกัน.
ครั้นกล่าวคาถานี้แล้ว เมื่อถามถึงอุบายที่ได้อาหารมา
จึงกล่าวคาถานี้ว่า :-
พี่เป็นสัตว์เกิดบนบก ไฉนหนอ จึงจับปลาในน้าได้ ดูก่อนพี่ร่วมชีวิต
พี่ถูกฉันถามแล้ว ขอจงบอกฉันว่า พี่ได้มาอย่างไร?
สุนัขจิ้งจอกตัวเป็นผัว เมื่อจะบอกอุบายที่ได้ปลานั้นมา
จึงกล่าวคาถาติดต่อกันไปว่า :-
คนทั้งหลายผ่ายผอม เพราะวิวาทกัน มีความสิ้นทรัพย์
ก็เพราะวิวาทกัน นาก ๒ ตัวพลาดปลาชิ้นนี้ เพราะทะเลาะกัน
แม่งามงอนเจ้าจงกินปลาตะเพียนแดงเถิด.
คาถานอกนี้ เป็ นคาถาของพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ตรัสรู้ยิ่งแล้วว่า ดังนี้
:-
ในหมู่มนุษย์ ข้อพิพาทกันเกิดขึ้น ณ ที่ใด พวกเขาจะวิ่งหาผู้พิพากษา
เพราะผู้พิพากษาเป็นผู้แนะนาพวกเขา ฝ่ายพวกเขาก็จะเสียทรัพย์ ณ ที่นั้น
เหมือนนาก ๒ ตัวนั้นเอง แต่คลังหลวงเจริญขึ้น.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
ทรงประชุมชาดกไว้ว่า
สุนัขจิ้งจอกในครั้งนั้น ได้แก่ พระอุปนันทะ ในบัดนี้
นาก ๒ ตัวได้แก่ ภิกษุแก่ ๒ รูป
ส่วนรุกขเทวาผู้ทาเหตุนั้นให้เห็นประจักษ์ ได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาทัพพปุปผชาดกที่ ๕
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๕. ทัพภปุปผชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๐) ว่าด้วยสุนัขจิ้งจอกชื่อทัพภปุปผะ (นากที่เที่ยวไปในน้าลึกพูดกับนากที่เที่ยวไปตามริมฝั่งว่า) [๒๙] เพื่อนผู้เจริญ เพื่อนผู้เที่ยวไปตามริมฝั่ง จงวิ่งตามเรามาเถิด เราจับปลาใหญ่ได้แล้ว มันพาเราไปอย่างรวดเร็ว (นากที่เที่ยวไปตามริมฝั่งพูดว่า) [๓๐] เพื่อนผู้เจริญ เพื่อนผู้เที่ยวไปในน้าลึก จงจับมันไว้ให้มั่นคงด้วยกาลัง เราจะยกมันขึ้นมาเหมือนนกครุฑโฉบงูขึ้น (นากทั้ง ๒ พูดกับสุนัขจิ้งจอกว่า) [๓๑] พวกเราเกิดวิวาทกันขึ้น พ่อทัพภปุปผะจงฟังเรา เพื่อนจงระงับความทะเลาะกัน ขอความวิวาทจงสงบไป (สุนัขจิ้งจอกกล่าวว่า) [๓๒] เมื่อก่อนเราเป็ นผู้ตั้งอยู่ในธรรม พิจารณาคดีมาแล้วมากมาย เพื่อน เราจะระงับความทะเลาะกัน ความวิวาทจงสงบไป [๓๓] นากตัวที่เที่ยวไปตามริมฝั่งจงเอาหางไป ตัวที่เที่ยวไปในน้าลึกจงเอาหัวไป ส่วนท่อนกลางนี้ตกเป็ นของเราผู้ตั้งอยู่ในธรรม (นากทั้ง ๒ พูดกันว่า) [๓๔] ถ้าเราไม่ทะเลาะกัน จักมีอาหารไปนานวัน สุนัขจิ้งจอกคาบเอาปลาตะเพียนที่ไม่ใช่ท่อนหัวท่อนหางไปเสียแล้ว (เมียสุนัขจิ้งจอกถามว่า) [๓๕] วันนี้เรายินดีเพราะเห็นผัวมีหน้าเบิกบาน เหมือนขัตติยราชทรงยินดีเพราะได้ราชสมบัติ [๓๖] ทาไมหนอ ท่านเกิดอยู่บนบกจึงจับปลาในน้าได้ นี่ท่านผู้ร่วมชีวิต ฉันถามแล้วโปรดบอก ท่านได้มาอย่างไร (สุนัขจิ้งจอกตอบว่า) [๓๗] เพราะการทะเลาะกัน สัตว์จึงผ่ายผอม ทรัพย์จึงสิ้นไป พวกนากเสื่อมเพราะการทะเลาะกัน แม่มายาวี เธอจงกินปลาตะเพียนเถิด [๓๘] ในหมู่มนุษย์ก็เช่นเดียวกัน เกิดการทะเลาะในที่ใด ก็จะพากันไปหาผู้ตั้งอยู่ในธรรมในที่นั้น ผู้วินิจฉัยคดีนั้นเป็ นผู้ตัดสินให้พวกเขา ในการทะเลาะนั้นก็จะพากันหมดสิ้นทรัพย์ไป พระคลังหลวงก็จะเพิ่มพูน ทัพภปุปผชาดกที่ ๕ จบ -------------------------------
  • 2. 2 คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ทัพพปุปผกชาดก ว่าด้วย โทษของการโต้เถียงกัน พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภพระอุปนันทศากยบุตร แล้วจึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ดังจะกล่าวโดยย่อ ท่านบวชในพระศาสนาแล้ว ละคุณธรรมมีความปรารถนาน้อยเป็นต้น ได้เป็นผู้มีความทะยานอยากมาก. ในวันเข้าพรรษาท่านยึดครองวัดไว้ ๒,๓ วัด คือวางร่มหรือรองเท้าไว้วัดหนึ่ง ไม้เท้าคนแก่หรือหม้อน้าไว้อีกวัดหนึ่ง ตนเองก็อยู่วัดหนึ่ง. ท่านจาพรรษาที่วัดในชนบทวัดหนึ่ง สอนปฏิปทาอันเป็นวงศ์ของพระอริยเจ้า ที่แสดงถึงความสันโดษในปัจจัยแก่ภิกษุทั้งหลายแจ่มชัด เหมือนยกพระจันทร์ขึ้นในอากาศ ก็ปานกันว่า ธรรมดาภิกษุควรเป็ นผู้มักน้อย. ภิกษุทั้งหลายได้ฟังคานั้นแล้ว พากันทิ้งบาตรและจีวรที่น่าชอบใจ รับเอาบาตรดินเหนียวและผ้าบังสุกุล. ท่านให้ภิกษุทั้งหลายวางของเหล่านั้นไว้ ณ ที่อยู่ท่าน ออกพรรษาปวารณาแล้ว บรรทุกเต็มเกวียนไปพระเชตวันมหาวิหาร ถูกเถาวัลย์เกี่ยวเท้า ที่ด้านหลังวัดป่าแห่งหนึ่ง ในระหว่างทาง เข้าใจว่า จักต้องมีของอะไรที่เราควรได้ในวัดนี้แน่นอน แล้วจึงแวะวัดนั้น. ในวัดนั้น ภิกษุแก่คือหลวงตา จาพรรษาอยู่ ๒ รูป. ท่านได้ผ้าสาฎกเนื้อหยาบ ๒ ผืนและผ้ากัมพล เนื้อละเอียดผืนหนึ่งไม่อาจจะแบ่งกันได้ เห็นท่านมาดีใจว่า พระเถระจักแบ่งให้พวกเราได้แน่ จึงพากันเรียนท่านว่า ใต้เท้าขอรับ พวกกระผมไม่สามารถแบ่งผ้าจานาพรรษานี้ได้ พวกกระผมจะมีการวิวาทกัน เพราะผ้าจานาพรรษานี้ ขอใต้เท้า จงแบ่งผ้านี้ให้แก่พวกกระผม. ท่านรับปากว่า ดีแล้ว ผมจักแบ่งให้แล้วได้แบ่งผ้าสาฎกเนื้อหยาบให้ภิกษุ ๒ รูป บอกว่า ผืนนี้คือผ้ากัมพลตกแก่ผมผู้เป็นพระวินัยธร แล้วก็หยิบเอาผ้ากัมพล หลีกไป. พระเถระแม้เหล่านั้น ยังมีความอาลัยในผ้ากัมพล จึงพากันไปเชตวันมหาวิหารพร้อมกับท่านอุปนันทะนั้นนั่นแหละ ได้บอกเนื้อความนั้นแก่ภิกษุทั้งหลายผู้เป็นพระวินัยธร แล้วกล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ มีหรือไม่หนอ การที่พระวินัยธรทั้งหลายกินของที่ริบมาได้อย่างนี้. ภิกษุทั้งหลายเห็นกองบาตรและจีวร ที่พระอุปนันทะนามาแล้ว พูดว่า ท่านผู้มีอายุ ท่านมีบุญมากหรือ? ท่านจึงได้บาตรและจีวรมาก. ท่านบอกทุกอย่างว่า ท่านผู้มีอายุ ผมจักมีบุญแต่ที่ไหน?
  • 3. 3 บาตรและจีวรนี้ผมได้มาด้วยอุบายนี้. ภิกษุทั้งหลายพากันตั้งเรื่องขึ้นในธรรมสภาว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท่านอุปนันทศากยบุตรมีตัณหามาก มีความโลภมาก. พระศาสดาเสด็จมาถึงแล้วตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เธอทั้งหลายนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่าด้วยเรื่องชื่อนี้ ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย พระอุปนันทะไม่ทาสิ่งที่เหมาะสมแก่ปฏิปทา ธรรมดาว่าภิกษุ เมื่อจะบอกปฏิปทาแก่ผู้อื่น ควรจะทาให้เหมาะสมแก่ตนก่อน แล้วจึงให้โอวาทผู้อื่นในภายหลัง. ครั้นทรงแสดงธรรม ด้วยคาถาในธรรมบทนี้ว่า :- คนควรตั้งตนเองไว้ในที่เหมาะสมก่อน ภายหลังจึงพร่าสอนผู้อื่น ผู้ฉลาดไม่ควรจะมัวหมอง. แล้วตรัสว่า พระอุปนันทะไม่ใช่มีความโลภมากแต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อแต่ก่อน เธอก็มีความโลภมากเหมือนกัน และก็ไม่ใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อก่อน เธอก็ริบสิ่งของของภิกษุเหล่านี้เหมือนกัน แล้วได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้เป็ นรุกขเทวดาที่ฝั่งแม่น้า. ครั้งนั้น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งชื่อมายาวี คือเจ้าเล่ห์ พาเมียไปอยู่ ณ ที่แห่งหนึ่งใกล้ฝั่งแม่น้า. อยู่มาวันหนึ่ง สุนัขจิ้งจอกตัวเมียพูดกับตัวผู้ว่า พี่ฉันเกิดแพ้ท้องแล้ว ฉันอยากกินเนื้อที่ยังมีเลือดสดๆ อยู่. สุนัขจิ้งจอกตัวผู้บอกว่า น้องอย่าท้อใจ พี่จักนามาให้น้องให้ได้ จึงเดินไปริมฝั่งน้า. ขณะนั้น นาก ๒ ตัวคือตัวหนึ่งเที่ยวหากินน้าลึกเป็ นปกติ ส่วนตัวหนึ่งเที่ยวหากินตามฝั่งเป็นปกติ กาลังเสาะแสวงหาปลา ได้หยุดยืนอยู่ที่ตลิ่ง. บรรดานาก ๒ ตัวนั้น ตัวเที่ยวหากินน้าลึก เห็นปลาตะเพียนแดงตัวใหญ่ จึงดาน้าไปโดยเร็วคาบหางปลาไว้ได้. แต่ปลาแรงมากฉุดนากไป. นากตัวที่เที่ยวหากินน้าลึกจึงเจรจาตกลงกับนากอีกตัวหนึ่งว่า ปลาตัวใหญ่จักพอกินสาหรับเราทั้ง ๒ มาเถอะ จงเป็ นสหายผู้ร่วมงานของเรา. แล้วกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :- ดูก่อนสหายนาก ผู้เที่ยวหากินตามฝั่ง ขอท่านจงมีความเจริญ จงตามฉันมาเถิด ฉันคาบปลาตัวใหญ่ไว้ แล้วมันลากฉันไปด้วยกาลังเร็ว. นากอีกตัวหนึ่ง ได้ยินคานั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- ดูก่อนนากผู้เที่ยวหากินในน้าลึก ขอท่านจงมีความเจริญ
  • 4. 4 ท่านจงคาบไว้ให้มั่นด้วยกาลัง เราจักยกปลานั้นขึ้นเหมือนครุฑยกนาคขึ้น ฉะนั้น. ลาดับนั้น นากทั้ง ๒ ตัวนั้นร่วมกันนาปลาตะเพียนแดงออกมาได้ วางให้ตายอยู่บนบกเกิดการทะเลาะกันว่า แบ่งสิ แกแบ่งสิ แล้วไม่อาจแบ่งกันได้ จึงหยุดนั่งกันอยู่. ขณะนั้น สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งเข้ามาถึงที่นั้น. นากเหล่านั้นเห็นแล้ว ทั้ง ๒ ตัวจึงพากันต้อนรับแล้ว พูดว่า สหายทรรพบุบผา ปลาตัวนี้ พวกเราจับได้ร่วมกัน เมื่อพวกเราไม่สามารถจะแบ่งกันได้ จึงเกิดขัดแย้งกันขึ้น ขอเชิญท่านแบ่งปลาให้พวกเราเท่าๆ กันเถิด แล้วได้กล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :- สหายทรรพบุบผา พวกเราเกิดทะเลาะกันขึ้น ขอท่านจงฟังเรา ดูก่อนสหาย ขอจงระงับความบาดหมางกัน ขอให้ข้อพิพาทจงสงบลง. สุนัขจิ้งจอกได้ยินถ้อยคาของนากเหล่านั้นแล้ว เมื่อจะแสดงถึงปรีชาสามารถของตน จึงกล่าวคาถานี้ว่า :- เราเป็นผู้พิพากษามาก่อน ได้พิจารณาคดีมาแล้วมากมายสหาย เราจะระงับความบาดหมางกัน ข้อพิพาทจงสงบลง. สุนัขจิ้งจอกครั้นกล่าวคาถานี้แล้ว เมื่อจะแบ่งปลา จึงกล่าวคาถานี้ว่า :- สหายผู้เที่ยวหากินตามฝั่ง ท่อนหางจักเป็นของเจ้า แต่ท่อนหัวจักเป็ นของผู้เที่ยวหากินในน้าลึก ส่วนอีกท่อนกลางนี้จักเป็นของผู้ตัดสิน. บรรดาคาถาทั้ง ๒ นั้น คาถาที่ ๑ มีเนื้อความดังนี้. เราเคยเป็นผู้พิพากษาของพระราชาทั้งหลายมาก่อน เรานั้นนั่งในศาลพิจารณาคดีมามากทีเดียว คือคดีมากมาย ของพราหมณ์และคหบดีทั้งหลายเหล่านั้นๆ เราพิจารณา คือวินิจฉัยมาแล้ว เรานั้นจักไม่อาจพิจารณาคดีของสัตว์ ๔ เท้าทั้งหลาย ผู้มีชาติเสมอกัน เช่นท่านทั้งหลายได้อย่างไร เราจะระงับความร้าวราญของท่านทั้งหลาย สหาย ความวิวาทบาดหมางกัน จงสงบคือระงับไป เพราะอาศัยเรา. ก็แหละ ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว มันก็แบ่งปลาเป็น ๓ ส่วนแล้วบอกว่า ดูก่อนนากตัวเที่ยวหากินตามฝั่ง เจ้าจงคาบเอาท่อนหาง ท่อนหัวจงเป็ นของตัวเที่ยวหากินในน้าลึก. ท่อนกลางนี้จักเป็นของผู้พิพากษา คือนายผู้วินิจฉัยคดี. สุนัขจิ้งจอกครั้นแบ่งปลาอย่างนี้แล้ว ก็บอกว่า เจ้าทั้งหลายอย่าทะเลาะกัน แล้วพากันกินท่อนหางและท่อนหัวเถิด แล้วก็เอาปากคาบเอาท่อนกลางหนีไป ทั้งๆ ที่นาก ๒ ตัวนั้นเห็นอยู่นั่นแหละ. นาก ๒ ตัวนั้นนั่งหน้าเสียเหมือนแพ้ตั้งพันครั้ง แล้วได้กล่าวคาถาที่ ๖ ว่า :- ถ้าเราไม่วิวาทกันไซร้ ท่อนกลางก็จักเป็ นอาหารไปได้นานวัน
  • 5. 5 แต่เพราะวิวาทกัน สุนัขจิ้งจอกจึงนาเอาปลาตะเพียนแดงที่ไม่ใช่หัวไม่ใช่หางไป คือท่อนกลาง. ฝ่ายสุนัขจิ้งจอกดีใจว่า วันนี้ เราจักให้เมียกินปลาตะเพียนแดง แล้วได้มาที่สานักของเมียนั้น. นางเมียเห็นผัวกาลังมาดีใจเป็ นอย่างยิ่ง จึงได้กล่าวคาถานี้ว่า :- วันนี้ ฉันเห็นผัวมีอาหารเต็มปาก จึงชื่นใจ เหมือนกษัตริย์ได้ราชสมบัติเป็นพระราชาแล้วพึงทรงชื่นพระทัย ก็ปานกัน. ครั้นกล่าวคาถานี้แล้ว เมื่อถามถึงอุบายที่ได้อาหารมา จึงกล่าวคาถานี้ว่า :- พี่เป็นสัตว์เกิดบนบก ไฉนหนอ จึงจับปลาในน้าได้ ดูก่อนพี่ร่วมชีวิต พี่ถูกฉันถามแล้ว ขอจงบอกฉันว่า พี่ได้มาอย่างไร? สุนัขจิ้งจอกตัวเป็นผัว เมื่อจะบอกอุบายที่ได้ปลานั้นมา จึงกล่าวคาถาติดต่อกันไปว่า :- คนทั้งหลายผ่ายผอม เพราะวิวาทกัน มีความสิ้นทรัพย์ ก็เพราะวิวาทกัน นาก ๒ ตัวพลาดปลาชิ้นนี้ เพราะทะเลาะกัน แม่งามงอนเจ้าจงกินปลาตะเพียนแดงเถิด. คาถานอกนี้ เป็ นคาถาของพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ตรัสรู้ยิ่งแล้วว่า ดังนี้ :- ในหมู่มนุษย์ ข้อพิพาทกันเกิดขึ้น ณ ที่ใด พวกเขาจะวิ่งหาผู้พิพากษา เพราะผู้พิพากษาเป็นผู้แนะนาพวกเขา ฝ่ายพวกเขาก็จะเสียทรัพย์ ณ ที่นั้น เหมือนนาก ๒ ตัวนั้นเอง แต่คลังหลวงเจริญขึ้น. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกไว้ว่า สุนัขจิ้งจอกในครั้งนั้น ได้แก่ พระอุปนันทะ ในบัดนี้ นาก ๒ ตัวได้แก่ ภิกษุแก่ ๒ รูป ส่วนรุกขเทวาผู้ทาเหตุนั้นให้เห็นประจักษ์ ได้แก่ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาทัพพปุปผชาดกที่ ๕ -----------------------------------------------------