SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
หน้า    |0




หนังสือสวดมนต์แปล




       รวบรวมโดย ครูนรภัทร สิงห์นวล

ที่มา : เว็บไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
         รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |1




                               สวดมนต์แปล
คาบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
      วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฎฐาเน สุปะติฎฐิตัง สารีริกะธาตุมะหาโพธิง พุทธะรูปัง
สะกะลัง สะทา ข้าพเจ้าขอวันทา ซึ่งพระเจดีย์ทั้งปวงที่ประดิษฐานไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง
กับพระบรมสารีริกธาตุ พระมหาโพธิ์พระพุทธรูป ทั้งสิ้น ในกาลทุกเมื่อ
      ปุริสุตตะเม วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน ฐาเน
คะมะเน จาปิ สัพพะทาข้าพเจ้า ขอวันทา ซึ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นผู้เป็นอุดมบุรุษ
ผู้เป็นพระตถาคต ด้วยวาจาและใจทั้งในที่นอน ที่นั่ง ที่ยืน และแม้ในที่เดิน ในกาลทุกเมื่อ
      อะหัง วันทามิ ธาตุโย ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุ
ทั้งหลาย ที่สถิตอยู่ในจักรวาลทั้งหลาย ทั้งพรหมโลกและดาวดึงส์
      อะหัง วันทามิ สัพพะโส ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระ
อรหันตสาวกทั้งหลายทั้งปวงด้วยเทอญ

พุทธัง ธัมมัง สังฆัง เอ วังธาตุโย จัตตารี สะ สะ มาทันตา เกสา โลมา นะขา ขีจะ อะหัง
วันทามิธาตุโย

คาบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามิ
- ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี้
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามิ
- ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี้

                              รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |2


อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามิ
- ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้

บทบูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส
เพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ.
ข้าพเจ้าขออภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว
ธัมมังนะมัสสามิ. ข้าพเจ้าขอนมัสการ พระธรรม (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว
สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ)

บทนมัสการพระรัตนตรัย
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์เจ้าพระองค์นั้น
อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (๓ ครั้ง)




                                รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |3



บทขอขมาพระรัตนตรัย
วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
      ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง
ขอพระองค์จงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
      ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรมเพื่อขอขมาโทษทั้ง
ปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
      ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอ
พระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

      ไตรสรณคมณ์
      พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ                          ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า เป็นสรณะ
      ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ                          ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระธรรม เป็นสรณะ
      สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ                          ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระสงฆ์ เป็นสรณะ
      ทุติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ                แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่ง
      พระพุทธเจ้า เป็นสรณะ
      ทุติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ                แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระ
      ธรรม เป็นสรณะ
      ทุติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ                แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระสงฆ์


                               รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |4


        เป็นสรณะ
        ตะติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ               แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่ง
        พระพุทธเจ้า เป็นสรณะ
        ตะติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ               แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระ
        ธรรม เป็นสรณะ
        ตะติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ               แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระ
        พระสงฆ์ เป็นสรณะ

ศีล ๕
        ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ
เว้นจากการฆ่าสัตว์ด้วยตนเองและไม่ใช่ให้ผู้อื่นฆ่า)
        อทินนาทานา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้น
จากการลัก ,ฉ้อ ของผู้อื่นด้วยตนเอง และไม่ใช่ให้ผู้อื่นลัก ฉ้อ)
        กาเมสุมิจฺฉานารา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ
เว้นจากการประพฤติผิดในกาม)

        มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้น
จากการพูดเท็จ คาไม่เป็นจริง และคาล่อลวง อาพรางผู้อื่น)
        สุราเมรยมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าขอสมาทาน
ซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการดื่มสุรา เมรัย เครื่องดองของทาใจให้คลั่งไคล้ต่าง ๆ )




                                รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |5




บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา ( แม้เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น )
อะระหัง ( เป็นผู้ไกลจากกิเลส ) สัมมาสัมพุทโธ ( เป็นผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง )
วิชชาจะระณะสัมปันโน ( เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ )
สุคะโต ( เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ) โลกะวิทู ( เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง )
อะนุตตะโร ปุริสสะธัมมะสาระถิ ( เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่ง
กว่า ) สัตถาเทวะมนุสสานัง ( เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย )
พุทโธ ( เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ) ภะคะวาติ. ( เป็นผู้มีความเจริญจาแนกธรรม
สั่งสอนสัตว์ ดังนี้ )


บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม ( พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว )
สันทิฏฐิโก ( เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง )
อะกาลิโก ( เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จากัดกาล )
เอหิปัสสิโก ( เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด )
โอปะนะยิโก ( เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว )
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ( เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ )




                                   รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |6



บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด
ปฏิบัติดีแล้ว )
อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด
ปฏิบัติตรงแล้ว )
ญายะปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด
ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว )
สามีจิปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด
ปฏิบัติสมควรแล้ว )
ยะทิทัง ( ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ )
จัตตาริ ปุริสสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา (คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้แปดบุรุษ )
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า )
อาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา )
ปาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่จัดไว้ต้อนรับ )
ทักขิเนยโย ( เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน )
อัญชะลีกะระณีโย ( เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทาอัญชลี )
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. (เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้)




                                รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |7



                       พาหุงมหากา(ไม่แปล)
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง            ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง            วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิงปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธีนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท              ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ



                       รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |8


เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ

      มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง                        ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัต
โต สัมโพธิมุตตะมังเอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม ชะยะมังคะลังฯ

      ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ
ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล.อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปขะเร อะภิเสเก สัพพะ
พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ.
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ
จาริส.ุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง
ปะณิธิ เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.
      ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะ
ทา โสตถี ภะวันตุเม ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตาสัพพะธัมมานุ
ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม


                          พาหุงมหากา(แปล)
      พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะ
มารังทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบมือ ขี่ช้างค


                        รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า    |9


รีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึ่งโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี
เป็นต้น, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
อนึ่งพระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผู้มีจิตหยาบกระด้าง ผู้ไม่มีความ
อดทน มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึ่งได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิ่งยวดจนตลอดคืน
ยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี คือ ขันติ ความอดทน, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่
ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐ ชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุร้าย
ประดุจไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยน้า คือ ความมีพระทัยเมตตา
, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

อุกขิตตะขัคคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิมาล ผู้
แสนจะดุร้าย มีฝีมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์, ขอชัยมงคล
ทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด

กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท             ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ

                       รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 10


พระจอมมุนี ได้เอาชนะคากล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึ่งทาอาการเหมือน
ดั่งตั้งครรภ์ เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือ
ความกระทาพระทัยให้ตั้งมั่นนิ่งเฉย ในท่ามกลางหมู่ชน, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมี
แด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
พระจอมมุนี ผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่าง คือ ปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผู้มี
ความคิดมุ่งหมายในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคาของตนให้สูง
ประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการแสดงเทศนาให้ถูกใจ, ขอชัยมงคล
ทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิงปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธีนา ชิตะวา มุนินโท               ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราช ชื่อ นันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก
ด้วยวิธีบอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็น
นาคราช ไปทรมานพญานาค ชื่อ นันโทปนันทะ นั้น, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่
ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท               ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ
พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวผกาพรหม ผู้มีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็น
ผู้รุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจิตคิดถือเอา

                        รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 11


ความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยา คือ ทรงแสดงเทศนาให้ถูกใจ, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมี
แด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ
บุคคลใดมีปัญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถา
เหล่านี้ทุกๆ วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทั้งหลายทุกอย่างเสียได้
และเข้าถึงความหลุดพ้น คือ พระนิพพานอันบรมสุข นั้นแลฯ

มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง                      ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต
สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลังฯ
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ทรงประกอบด้วย
พระมหากรุณา ทรงบาเพ็ญพระบารมีทั้งปวง เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์
ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยการกล่าวสัจจวาจานี้ ขอชัยมงคล
ทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า

      ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ
ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล.
ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะ เหมือนพระพุทธเจ้าผู้เป้นที่เคารพรักของเจ้าศายะทรงชนะ
มาร ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะได้รับชัยมงคลเถิด
      อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง
อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ.
(ขอให้ข้าพเจ้าบรรลุถึงความเป็นเลิศเบิกบานใจ) เหมือนพระพุทธเจ้าบรรลุธรรม

                          รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 12


อันประเสริฐ เบิกบานพระทัย เหนือบัลลังก์แห่งชัยชนะ ณ พ่างพื้นปฐพีอัน
ประเสริฐเลิศแผ่นดิน เป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์
      สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตังสุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง
พรัหมะจาริสุ.
วันที่ทาความดีทางกาย วาจา ใจ (เวลาที่ประพฤติชอบ) ชื่อว่า ฤกษ์ดี มงคลดี ยามรุ่ง
ดี ยามตื่นดี ขณะดี ครู่ดี ทานที่ถวายแก่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์(ในวันนั้นเวลานั้น)
เป็นทานดี
      ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง
ปะณิธิ เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ.
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม และความตั้งใจ (ที่ทาในวันนั้น เวลานั้น) เป็นสิ่งที่ดี
เมื่อทาความดีแล้วย่อมได้รับผลดี
      ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา
โสตถี ภะวันตุ เม
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วย
อานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ
      ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตาสัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา
โสตถี ภะวันตุ เม
ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วย
อานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ
      ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา
โสตถี ภะวันตุ เม

                       รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 13


ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วย
อานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ



                    บทสวดชินบัญชร(ไม่แปล)
            ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
      อัตถิกาเยกายะ ญายะ                               เทวานังปิยะตังสุตตะวา
      อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน              ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุ
      คะโตนะโมพุทธายะ

๑. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวามารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิง
  สุ นะราสะภา
๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก
  เต มุนิสสะรา
๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร
  สัพพะคุณากะโร
๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกษฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัล
  ลาโน จะ วามะเก
๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง
  วามะโสตะเก
๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สัมปันโน โสภีโต มุนิปุง
  คะโว

                      รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 14


๗.กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐา
  สิ คุณากะโร
๘.ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละ
  กา มะมะ
๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระ
 สา ชะลันตา สีละเตเช
 นะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อัง
  คุลิมาละกัง
๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปา
  การะสัณฐิตา
๑๒.ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิ
  รัชฌัตตุปัททะวา
๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา
  สัมพุทธะปัญชะเร
๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหา
  ปุริสาสะภา
๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตา
  ริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตาริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุ
ภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติฯ



                       รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 15




                           บทสวดชินบัญชร(แปล)
                   ปุตตะกาโมละเภปุตตัง                       ธะนะกาโมละเภธะนัง
            อัตถิกาเยกายะ ญายะ                               เทวานังปิยะตังสุตตะวา
            อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน              ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุ
            คะโตนะโมพุทธายะ


๑. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวามารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะ
ราสะภา
พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยา
มาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยสัจธรรมทั้งสี่
ประการ เป็นผู้นาสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์


๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต
มุนิสสะรา
มี ๒๘ พระองค์ คือ พระผู้ทรงนามว่า ตันหังกร เป็นอาทิ พระพุทธเจ้าจอมมุนีทั้งหมดนั้น


๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะ
คุณากะโรข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระ


                            รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 16


สัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่บนศรีษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็น
อากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก


๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกษฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน
จะ วามะเก
พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญา
โกณฑัญญะอยู่เบื้องหลัง

๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง
วามะโสตะเก
พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย

๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สัมปันโน โสภีโต มุนิปุงคะโว
มุนีผู้ประเสริฐ คือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน
ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง

๗.กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณา
กะโร
พระเถระกุมาระกัสสปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากประจา

๘.ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ
พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จง
ปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก


                              รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 17


๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลัน
ตา สีละเตเชนะ อัง คะมังเคสุ สัณฐิตา
ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือ ผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้
ทรงชัย แต่ละองค์ล้วนรุ่งโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดารงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่

๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมา
ละกัง
พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย
พระธชัคคสูตรอยู่เบื้องหลัง

๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปากา
ระสัณฐิตา
พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตรเป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บน
นภากาศ



๑๒.ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัท
ทะวา
อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกาลังนานา
ชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง คือ สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกาแพงคุ้มครองเจ็ด
ชั้น




                              รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 18


๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา
สัมพุทธะปัญชะเร
ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้า ไม่ว่าจะทากิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัย
อยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวทุกข์ทั้งภายนอก
และภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐาน จงกาจัดให้
พินาศอย่าให้เหลือ

๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสา
สะภา
ขอพระมหาบุรุษ ผู้ทรงพระคุณอันล้าเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ใน
ภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายใน
เป็นอันดี ฉะนี้แล

๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโค
สังฆานุภาเวนะ ชิตา
      ริสังโค สังฆานุภาเวลานะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเร
ติฯ
ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทว
อันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระ
ธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และ
รักษาดาเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ



                              รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 19



                               กะระณียะเมตตะสูตร
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ               ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ            สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
ภิกษุผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ประสงค์จะบรรลุแดนสงบ พึงอบรมสิกขาสาม ภิกษุ
นั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นคนตรง แน่วแน่ ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่ถือตัว

สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ            อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ            อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
พึงเป็นผู้สันโดษเลี้ยงง่าย มีกิจธุระน้อย ดาเนินชีวิตเรียบง่าย มีอินทรีย์สงบ มีปัญญารักษา
ตน มีการสารวมกาย วาจาใจ ไม่พัวพันกับสกุลทั้งหลาย(ชาวบ้าน)

นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ         เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ              สัพพะ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
ไม่พึงประพฤติสิ่งเล็กน้อยอะไรที่จะเป็นเหตุให้ผู้รู้ตาหนิ(พึงแผ่เมตตาว่า) ขอสัตว์ทั้งปวง
จงเป็นผู้มีความสุขกาย สุขใจ ปลอดจากภัยทั้งปวงเถิด

เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ                  ตะสา วา ถาวะรา วะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา                  มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
สัตว์ทั้งหลายที่มีความหวาดกลัวก็ดี ที่มั่นคงก็ดีทั้งหมด ทั้งที่มีกาย ยาว ใหญ่ ปานกลาง
สั้น ละเอียด หรือหยาบ

ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา               เย วะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภูตา วะ สัมภะเวสี วะ        สัพพะ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา


                               รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 20


ทั้งที่เคยเห็นหรือไม่เคยเห็น อยู่ไกลหรือใกล้ ที่เกิดแล้ว หรือที่กาลังแสวงหาที่เกิด สัตว์ทั้ง
ปวงเหล่านั้น จงมีความสุขกาย สุขใจเถิด

นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ              นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กัญจิ
พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญะ               นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
บุคคลไม่พึงหลอกลวงกัน ไม่พึงดูหมิ่นใครในที่ไหน ไม่พึงปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน
ด้วยการเบียดเบียน หรือด้วยใจมุ่งร้าย

มาตา ยะถา นิยัง ปุตตะ                มายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข
เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ         มานะสังภาวะเย อะปะริมาณัง
มารดาถนอมบุตรคนเดียวของตนด้วยชีวิต ฉันใด บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตไม่มีประมาณ
ในสัตว์โลกทั้งปวง ฉันนั้น

เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสังภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ            อะสัมพาธัง อะเวระมะสะปัตตัง
บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตอันไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ในสัตว์โลก
ทั้งหมด ทั้งในอรูปภูมิเบื้องบน รูปภูมิเบื้องกลาง และกามาวจรภูมิเบื้องต่า

ติฎฐัง จะรัง นิสินโน วะ สะยาโน ยาวะตัสสะ วิตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ              พรัหมะเมตัง วิหาระ มิธะมาหุ
ท่านจะอยู่ในอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง หรือนอนก็ตาม พึงเป็นผู้ปราศจากความง่วงและความ
ท้อแท้ ตั้งสติอย่างนี้ไว้ พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสการปฏิบัติเช่นนี้ ว่าเป็นความประพฤติ
อันประเสริฐในพระศาสนานี้


                                รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 21


ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ                    สีสะวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง           นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรติฯ
บุคคลผู้นั้นจะไม่กล้ากลายความเห็นผิด เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยความเห็นชอบ
เมื่อขจัดความยินดีในกามได้แล้ว ย่อมไม่เข้าถึงการเกิดในครรภ์อีกอย่างแน่แท้


                                       ขันธะปะริตตัง
วิรูปักเขหิ เม เมตตัง         เมตตัง เอราปะเถหิ เม
ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง        เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในงูตระกูลวิรูปักษ์ ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตใจงูตระกูลเอราบถ
ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในงูตระกูลฉัพยาบุตร ข้าเจ้าขอแผ่เมตตาจิตใจงูตระกูลกัณหาโคดม

อะปาทะเกหิ เม เมตตัง                   เมตตัง ทวิปาทะเกหิ เม
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง                  เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์ไม่มีเท้า ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์สองเท้า ข้าพเจ้าขอ
แผ่เมตตาจิตในสัตว์สี่เท้า ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์ที่มีเท้ามาก

มา มัง อะปาทะโก หิงสิ                  มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ               มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
สัตว์ไม่มีเท้า อย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า สัตว์ที่มีสองเท้า อย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า สัวต์ที่มี
สี่เท้าอย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า และสัตว์ที่มีเท้ามาก อย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า




                                 รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 22


สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา             สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ            มา กัญจิ ปาปะมาคะมา
ขอสัตว์ทั้งปวง ปราณชาติทั้งปวง สัตว์ที่เกิดแล้วทั้งปวงทั้งหมด จงประสบความเจริญทุก
ผู้ ขอความทุกข์อย่าได้เข้าถึงใคร ๆ เลย

อัปปะมาโณ พุทโธ            อัปปะมาโณ ธัมโม
อัปปะมาโณ สังโฆ            ปะมาณะวันตานิ สะรีสะปานิ
อะหิ วิจฉิกะ สะตะปะที             อุณณะนาภิ สะระพู มูสิกา
พระพุทธเจ้าทรงพระคุณหาประมาณมิได้ พระธรรมทรงพระคุณหาประมาณมิได้
พระสงฆ์ทรงพระคุณหาประมาณมิได้ แต่สัตว์เลื้อยคลาน คือ งู แมงป่อง ตะขาบ แมงมุม
ตุ๊กแก และหนู เป็นสัตว์ที่ประมาณได้

กะตา เม รักขา                     กะตา เม ปะริตตัง
ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ               โสหัง นะโม ภะคะวะโต
นะโม สัตตันนัง                    สัมมาสัมพุทธานังฯ
ข้าพเจ้าได้คุ้มครองตนแล้ว ข้าพเจ้าได้ป้องกันตนแล้ว เหล่าสัตว์จงหลีกไป ข้าพเจ้าขอ
นอบน้อมพระผู้มีพระภาค ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้าทั้ง ๗ พระองค์




                              รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 23



คาแผ่เมตตาให้แก่ตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุข
อะหัง นิททุกโข โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากทุกข์
อะหัง อเวโร โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากเวร
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากความลาบาก
อะหัง อะนีโฆ โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากอุปสรรค
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ - จงรักษาตนให้มีความสุขตลอดกาลนานเทอญ


คาแผ่เมตตาให้แก่ผู้อื่น
สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียน ซึ่งกันและกันเลย
อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิดอย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจรักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยสิ้นเถิด




                                รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 24



                                มงคล ๓๘ ประการ
มงคลที่ ๑.ไม่คบคนพาล
               อย่าคบมิตร ที่พาล สันดานชั่ว                    จะพาตัว เน่าดิบ จนฉิบหาย
แม้ความคิด ชั่วช้า อย่ากล้ากราย                                เป็นมิตรร้าย ภายใน ทุกข์ใจครัน

มงคลที่ ๒.การคบบัณฑิต
       ควรคบหา บัณฑิต เป็นมิตรไว้                              จะช่วยให้ พ้นทุกข์ สบสุขสันต์
ความคิดดี เลิศล้า ยิ่งสาคัญ                                     ควรคบกัน อย่าเขว ทุกเวลา

มงคลที่ ๓.การบูชาบุคคลที่ควรบูชา
       ควรบูชา ไตรรัตน์ ขัตติเยศร์                             ผู้วิเศษ ก่อเกื้อ เหนือเกศา
ครูอาจารย์ เจดีย์ ที่สักการ์                                   ด้วยบุปผา ปฏิบัติ สวัสดิ์การ

มงคลที่ ๔.การอยู่ในถิ่นอันสมควร
       เป็นเมืองกรุง ทุ่งนา หรือป่าใหญ่                        ทางมา-ไป ครบครัน ธัญญาหาร
มีคนดี ที่ศึกษา พยาบาล                                        ปลอดภัยพาล ควรอยู่กิน ถิ่นนั้นแล

มงคลที่ ๕.เคยทาบุญมาก่อน
       กุศลบุญ คุณล้า เคยทาไว้                                จะส่งให้ สวยเด่น เช่นดวงแข
ทั้งทรัพย์ยศ ไมตรี มีเย็นแด                                   เพราะกระแส บุญเลิศ ประเสริฐนัก

มงคลที่ ๖. การตั้งตนชอบ
       ต้องตั้งตน กายใจ ในทางถูก                               เร่งฝังปลูก ตนไว้ ให้ถูกหลัก
เมื่อตัวตน ยังมี เป็นที่รัก                                    ควรพิทักษ์ ให้งาม ตามเวลา

                              รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 25


มงคลที่ ๗. ความเป็นพหูสูต
       การสนใจ ใฝ่คว้า หาความรู้                             ให้เป็นผู้ แก่เรียน เพียรศึกษา
มีศีลดี สติมั่น เกิดปัญญา                                    ย่อมนาพา ตัวรอด เป็นยอดดี

มงคลที่ ๘. การรอบรู้ในศิลปะ

       ศิลปะ ต่างอย่าง ทางอาชีพ                              ควรเร่งรีบ เรียนรู้ ชูศักดิ์ศรี
มีบางคน จนอับ กลับมั่งมี                                     ฉลาดดี มีศิลป์ หากินพอ

มงคลที่ ๙. มีวินัยที่ดี
       อันวินัย นาระเบียบ สู่เรียบร้อย                       คนใหญ่น้อย เปรมปรีดิ์ ดีนักหนา
วินัยสร้าง กระจ่างข้อ ก่อศรัทธา                              เพราะรักษา กติกา พาร่วมมือ
ไม่พูดเท็จ พูดสอดเสียด และพูดมาก                            ละความยาก สร้างวิบาก ฝากยึดถือ
คนหมู่มาก มักถางถาก ปากข่าวลือ                               ต้องสัตย์ซื่อ ถือวินัย ใช้ร่วมกัน

มงคลที่ ๑๐. กล่าววาจาอันเป็นสุภาษิต
       เปล่งวจี สัจจะ นวลละม่อม                       กล่าวเลลี้ยกล่อม ไพเราะ กาลเหมาะสม
เจือประโยชน์ เมตตา ค่านิยม                                   รื่นอารมณ์ ผู้ฟัง ดังเสียงทอง

มงคลที่ ๑๑. การบารุงบิดามารดา
       คนที่หา ได้ยาก มากไฉน                                 เพราะว่าใน โลกนี้ มีเพียงสอง
คือพ่อแม่ เกิดเกล้า เหล่าลูกต้อง                             ตอบสนอง พระคุณ ได้บุญแรง




                            รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 26


มงคลที่ ๑๒. การสงเคราะห์บุตร
      เป็นมารดา บิดา ทาหน้าที่                           ให้บุตรมี พานัก เป็นหลักแหล่ง
ส่งเสริมบุตร ธิดาตน กุศลแรง                              ย่อมส่องแสง เพิ่มพูน ตระกูลวงศ์

มงคลที่ ๑๓.การสงเคราะห์ภรรยา
      มีคู่ครอง ต้องไม่ทา ให้ช้าจิต                      จะพาผิด ไปข้าง ทงผุยผง
ต้องสงเคราะห์ แก่กัน ให้มั่นคง                           รักยืนยง ด้วยกัน ถึงวันตาย

มงคลที่ ๑๔.ทางานไม่คั่งค้าง
      จะทางาน การใด ตั้งใจมั่น                             อย่าผลัดวัน ทาเล่น เช้า เย็น สาย
ไม่ทิ้งคา อากูล มากมูลมาย                                  เร่งคลี่คลาย ให้เสร็จ สาเร็จการ

มงคลที่ ๑๕.การให้ทาน
      ควรบาเพ็ญ ซึ่งทาน คือการให้                        ท่านว่าไว้ สวยงาม สามสถาน
หนึ่งให้ของ สองธรรมะ ขนะมาร                              อภัยทาน ที่สาม งามเหลือเกิน

มงคลที่ ๑๖.การประพฤติธรรม
      การประพฤติ ตามธรรม คาพระสอน ไม่เดือดร้อน ถอนทุกข์ ยามฉุกเฉิน
คนรักธรรม ธรรมรักษ์คน ผลเจริญ                            นั่ง,ยืน,เดิน นอน,สุข ทุกข์ไม่มี

มงคลที่ ๑๗.การสงเคราะห์ญาติ
      เมื่อยามญาติ อัตคัด เกินขัดข้อง                    ควรหาช่อง สงเคราะห์ ไม่เลาะหนี
เขาซาบซึ้ง ถึงคุณ อบอุ่นดี                               หากถึงที เราจน ญาติสนใจ



                        รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 27


มงคลที่ ๑๘. ทางานไม่มีโทษ
      งานรับจ้าง ล้างชาม ก็ตามเถิด                       หากไม่เกิด โทษทัณฑ์ นั่นสดใส
เมื่อได้ช่อง ต้องจา กระทาไป                              ได้กาไร ทุกทาง ไม่ว่างงาน

มงคลที่ ๑๙. ละเว้นจากบาป
      กรรมชั่วช้า ลามก ต้องยกเว้น                      หากขืนเล่น ด้วยกัน ถูกมันผลาญ
งดเว้นบาป การาบให้ ไกลสันดาน                           ในดวงมาลย์ ไม่ร้อน และอ่อนเพลีย

มงคลที่ ๒๐. สารวมจากการดื่มน้าเม
      ของมึนเมา ทุกชนิด พิษคล้ายเหล้า                    ใครเสพเข้า น่าตาหนิ สติเสีย
เกิดโรคร้าย แรงร้อน กายอ่อนเพลีย                         ใครงดเสีย เป็นสุข ไปทุกวัน

มงคลที่ ๒๑. ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย
      ไม่ประมาท คือมี สติพร้อม                 คอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ ไม่ผลุนผลัน
ธรรมอันใด ไม่ดี หลีกหนีพลัน                    ธรรมดีนั้น ยึดแน่น ไม่แคลนคลอน

มงคลที่ ๒๒. มีความเคารพ
      ความเคารพ นับถือ คือเสน่ห์                   ไม่โลเล เหมือนลิง วิ่งหลอกหลอน
ทั้งต่อหน้า ลับหลัง พึงสังวร                       ย่อมงามงอน สวยสง่า ราคาแพง

มงคลที่ ๒๓. มีความถ่อมตน
      ไม่พองลม ก้มหัว เจียมตัวด้วย                       มรรยาทสวย นิ่มนวล สิ้นส่วนแข็ง
เหมือนงูพิษ ถอดเขี้ยว หมดเรี่ยวแรง                       ยามแถลง นอบน้อม พร้อมใจกาย



                        รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 28


มงคลที่ ๒๔. มีความสันโดษ
       ความสันโดษ พอใจ ในสิ่งของ                          เช่นเงินทอง ของตน แม้ล้นหลาย
เมื่อมีน้อย จ่ายน้อย ค่อยสบาย                             ความจนหาย เลยลับ กลับมั่งมี

มงคลที่ ๒๕. มีความกตัญญู
       กตัญญู รู้บุญ คุณพ่อแม่                            คนเฒ่าแก่ แลอาจารย์ ท่านทรงศีล
จอมมุนินทร์ ปิ่นเกล้า เจ้าธานี                            หาวิธี แทนคุณ สมดุลกัน

มงคลที่ ๒๖. การฟังธรรมตามกาล
       การฟังธรรม ตามกาล ผ่านมาถึง                        ควรคานึง นิ่งนั่ง ฟังขยัน
ย่อมจะเกิด ปัญญา สารพัน                                   ตั้งใจมั่น ฟังดี นี่สมควร

มงคลที่ ๒๗. มีความอดทน
       ความอดทน ตรากตรา ยามลาบาก                          เจ็บไข้มาก ทนได้ ไม่โหยหวน
ถูกเขาด่า ให้ฟัง นั่งหน้านวล                              ยิ้มเสสรวล ด้วยขันติ งามวิไล

มงคลที่ ๒๘. เป็นผู้ว่าง่าย
       ควรเป็นคน สอนง่าย ไม่ตายด้าน                       ก่อราคาญ ค่าเช้า ไม่เข้าไหน
ไม่ซัดโทษ ของตน ให้คนใด                                   เมื่อมีใคร สอนพร่า ให้นามา

มงคลที่ ๒๙. การได้เห็นสมณะ
       การพบเห็น สมณะ ผู้สงบ                              แล้วนอบนบ ถามไถ่ ไตรสิกขา
หมั่นฝึกหัด ทุกวัน ด้วยปัญญา                              ย่อมชักพา จิตตรง มงคลมี



                         รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 29


มงคลที่ ๓๐. การสนทนาธรรมตามกาล
       ยามหดหู่ ฟุ้งซ่าน กาลสงสัย                         เป็นสมัย ไต่ถาม ตามเหตุผล
เพื่อบรรเทา คลี่คลาย หายกังวล                             ควรจะสน- ทนาธรรม ตามที่ควร

มงคลที่ ๓๑. การบาเพ็ญตบะ
       พึงบาเพ็ญ ตบะ ละกิเลส                              อันเป็นเหตุ หักห้าม กามฉันท์
มุ่งทาลาย ถ่ายบาป สาบสูญพันธุ์                            เข้าสู่ขั้น สุโข ฌาณโกลีย์

มงคลที่ ๓๒. การประพฤติพรหมจรรย์
       เร่งประพฤติ พรหมจรรย์ อันประเสริฐ์ เพื่อให้เกิด สุขล้วน โดยถ้วนถี่
ตั้งแต่ทาน ถึงสิกขา บรรดามี                               สมบูรณ์ดี พรหมจรรย์ ย่อมมั่นคล

มงคลที่ ๓๓. การเห็นอริยสัจ
       การรู้เห็น ความจริง สิ่งเที่ยงแท้                  ไม่ผันแปร สี่ชนิด ไม่ผิดหลง
ตัดตัณหา มูลราก พรากทุกข์ลง                               เป็นการส่ง ข้ามฟาก จากสาคร

มงคลที่ ๓๔. การทาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
       ทาให้แจ้ง นิพพาน ผลาญสังโยชน์ ตรวจตราโทษ ธาตุ ขันธ์ หมั่นฝึกถอน
เอาอรหัต มรรคญาณ เผาราญรอน                                ดับทุกข์ร้อน นิพพาน สาราญนัก

มงคลที่ ๓๕. การมีจิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม
       ท่านผู้ใด ใจดารง อยู่คงที่                         ในเมื่อมี โลกธรรม ครอบงาหนัก
เช่น ลาภ ยศ สุข เศร้า เข้าง้างชัก                         มิอาจยัก โยกท่าน ให้หวั่นใจ



                         รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
หน้า   | 30


มงคลที่ ๓๖. การมีจิตไม่โศกเศร้า
       คราวพลักพราก จากญาติ ขาดชีวิต                        ถูกพิชิต จองจา ทาโทษใหญ่
มีสติ คุมจิต เป็นนิตย์ไป                                    ไม่เสียใจ โศกเศร้า เฝ้าประคอง

มงคลที่ ๓๗. มีจิตปราศจากกิเลส
       หมดราคะ โทสะ โมหะแล้ว                                จิตผ่องแผ้ว เลิศดี ไม่มีสอง
ย่อมมีค่า สูงจริง ยิ่งเงินทอง                              เหมือนสูริย์ส่อง ท้องฟ้า สง่างาม

มงคลที่ ๓๘. มีจิตเกษม
       จิตเกษม เปรมปรีดิ์ ดีตลอด                           เป็นจิตปลอด จากโอฆ ในโลกสาม
เครื่องผูกมัด สลัดหมด แสนงดงาม                              เข้าถึงความ สุขสันต์ นิรันดร




                                “สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ”

                        “การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง”


                           รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์

More Related Content

What's hot

ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกTheeraphisith Candasaro
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์Anchalee BuddhaBucha
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 

What's hot (20)

ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์ภาษาบาลี ชุดที่ ๔   การันต์
ภาษาบาลี ชุดที่ ๔ การันต์
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 

Similar to สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)

บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงานvanchai899
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdfPUise Thitalampoon
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลีkannika2264
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิnuom131219
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชlemonleafgreen
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 4722.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472dhammer
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชniralai
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา
6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา
6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนาTongsamut vorasan
 
บาลี 54 80
บาลี 54 80บาลี 54 80
บาลี 54 80Rose Banioki
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี Panuwat Beforetwo
 

Similar to สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่) (20)

บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
บทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัลบทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัล
 
1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน1 ปกรายงาน
1 ปกรายงาน
 
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdftext บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
text บทสวดสอนเจ้ากรรมนายเวร.pdf
 
พระสีวลี
พระสีวลีพระสีวลี
พระสีวลี
 
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิบทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
บทสวดพระบรมมหาจักรพรรดิ
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 4722.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
2.เพิ่มวินัยที่มาในฯเล่มอื่นภาคผนวกหน้า407 472
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา
6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา
6 54++ปัญจมสมันตปาสาทิกา+อรรถกถาพระวินัย+ปริวาร+วัณณนา
 
บาลี 54 80
บาลี 54 80บาลี 54 80
บาลี 54 80
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
บทสวดมนต์ ก่อนนอน ฝึกสมาธิ สร้างความโชคดี
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 

More from บุญเจ้าไม่เคย ใครไหนเล่าจะช่วยเจ้าได้ (6)

Save
SaveSave
Save
 
Save
SaveSave
Save
 
Com_law2550
Com_law2550Com_law2550
Com_law2550
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
Formatt
FormattFormatt
Formatt
 
Start_word
Start_wordStart_word
Start_word
 

สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)

  • 1. หน้า |0 หนังสือสวดมนต์แปล รวบรวมโดย ครูนรภัทร สิงห์นวล ที่มา : เว็บไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 2. หน้า |1 สวดมนต์แปล คาบูชาพระบรมสารีริกธาตุ วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฎฐาเน สุปะติฎฐิตัง สารีริกะธาตุมะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ข้าพเจ้าขอวันทา ซึ่งพระเจดีย์ทั้งปวงที่ประดิษฐานไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง กับพระบรมสารีริกธาตุ พระมหาโพธิ์พระพุทธรูป ทั้งสิ้น ในกาลทุกเมื่อ ปุริสุตตะเม วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทาข้าพเจ้า ขอวันทา ซึ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นผู้เป็นอุดมบุรุษ ผู้เป็นพระตถาคต ด้วยวาจาและใจทั้งในที่นอน ที่นั่ง ที่ยืน และแม้ในที่เดิน ในกาลทุกเมื่อ อะหัง วันทามิ ธาตุโย ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระบรมสารีริกธาตุและพระธาตุ ทั้งหลาย ที่สถิตอยู่ในจักรวาลทั้งหลาย ทั้งพรหมโลกและดาวดึงส์ อะหัง วันทามิ สัพพะโส ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระ อรหันตสาวกทั้งหลายทั้งปวงด้วยเทอญ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง เอ วังธาตุโย จัตตารี สะ สะ มาทันตา เกสา โลมา นะขา ขีจะ อะหัง วันทามิธาตุโย คาบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชะยามิ - ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี้ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชะยามิ - ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี้ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 3. หน้า |2 อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชะยามิ - ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้ บทบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ. ข้าพเจ้าขออภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ธัมมังนะมัสสามิ. ข้าพเจ้าขอนมัสการ พระธรรม (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ) บทนมัสการพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์เจ้าพระองค์นั้น อะระหะโต ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (๓ ครั้ง) รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 4. หน้า |3 บทขอขมาพระรัตนตรัย วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระองค์จงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรมเพื่อขอขมาโทษทั้ง ปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอ พระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ไตรสรณคมณ์ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระพุทธเจ้า เป็นสรณะ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระธรรม เป็นสรณะ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระสงฆ์ เป็นสรณะ ทุติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่ง พระพุทธเจ้า เป็นสรณะ ทุติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระ ธรรม เป็นสรณะ ทุติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แม้ครั้งที่สอง ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระสงฆ์ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 5. หน้า |4 เป็นสรณะ ตะติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่ง พระพุทธเจ้า เป็นสรณะ ตะติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระ ธรรม เป็นสรณะ ตะติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ ฯ แม้ครั้งที่สาม ข้าพเจ้า ขอถึง ซึ่งพระ พระสงฆ์ เป็นสรณะ ศีล ๕ ปาณาติปาตา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการฆ่าสัตว์ด้วยตนเองและไม่ใช่ให้ผู้อื่นฆ่า) อทินนาทานา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้น จากการลัก ,ฉ้อ ของผู้อื่นด้วยตนเอง และไม่ใช่ให้ผู้อื่นลัก ฉ้อ) กาเมสุมิจฺฉานารา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม) มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เว้น จากการพูดเท็จ คาไม่เป็นจริง และคาล่อลวง อาพรางผู้อื่น) สุราเมรยมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ (ข้าพเจ้าขอสมาทาน ซึ่งสิกขาบท คือ เว้นจากการดื่มสุรา เมรัย เครื่องดองของทาใจให้คลั่งไคล้ต่าง ๆ ) รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 6. หน้า |5 บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ อิติปิ โส ภะคะวา ( แม้เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ) อะระหัง ( เป็นผู้ไกลจากกิเลส ) สัมมาสัมพุทโธ ( เป็นผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง ) วิชชาจะระณะสัมปันโน ( เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ) สุคะโต ( เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ) โลกะวิทู ( เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ) อะนุตตะโร ปุริสสะธัมมะสาระถิ ( เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่ง กว่า ) สัตถาเทวะมนุสสานัง ( เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ) พุทโธ ( เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ) ภะคะวาติ. ( เป็นผู้มีความเจริญจาแนกธรรม สั่งสอนสัตว์ ดังนี้ ) บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ สวากขาโต ภะคะวา ธัมโม ( พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว ) สันทิฏฐิโก ( เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง ) อะกาลิโก ( เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จากัดกาล ) เอหิปัสสิโก ( เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่าท่านจงมาดูเถิด ) โอปะนะยิโก ( เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว ) ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ( เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ ) รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 7. หน้า |6 บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว ) อุชุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว ) ญายะปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว ) สามีจิปฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว ) ยะทิทัง ( ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ ) จัตตาริ ปุริสสะ ยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา (คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวบุรุษได้แปดบุรุษ ) เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ) อาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาบูชา ) ปาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่จัดไว้ต้อนรับ ) ทักขิเนยโย ( เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน ) อัญชะลีกะระณีโย ( เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทาอัญชลี ) อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. (เป็นเนื้อนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้) รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 8. หน้า |7 พาหุงมหากา(ไม่แปล) พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิงปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธีนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 9. หน้า |8 เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัต โต สัมโพธิมุตตะมังเอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล.อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จาริส.ุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธิ เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ. ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะ ทา โสตถี ภะวันตุเม ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตาสัพพะธัมมานุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม พาหุงมหากา(แปล) พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะ มารังทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบมือ ขี่ช้างค รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 10. หน้า |9 รีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึ่งโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี เป็นต้น, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ อนึ่งพระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผู้มีจิตหยาบกระด้าง ผู้ไม่มีความ อดทน มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึ่งได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิ่งยวดจนตลอดคืน ยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี คือ ขันติ ความอดทน, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐ ชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุร้าย ประดุจไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยน้า คือ ความมีพระทัยเมตตา , ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ อุกขิตตะขัคคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิมาล ผู้ แสนจะดุร้าย มีฝีมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์, ขอชัยมงคล ทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 11. หน้า | 10 พระจอมมุนี ได้เอาชนะคากล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึ่งทาอาการเหมือน ดั่งตั้งครรภ์ เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือ ความกระทาพระทัยให้ตั้งมั่นนิ่งเฉย ในท่ามกลางหมู่ชน, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมี แด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ พระจอมมุนี ผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่าง คือ ปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผู้มี ความคิดมุ่งหมายในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคาของตนให้สูง ประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการแสดงเทศนาให้ถูกใจ, ขอชัยมงคล ทั้งหลายจงมีแด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิงปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธีนา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราช ชื่อ นันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีบอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็น นาคราช ไปทรมานพญานาค ชื่อ นันโทปนันทะ นั้น, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิฯ พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวผกาพรหม ผู้มีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็น ผู้รุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจิตคิดถือเอา รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 12. หน้า | 11 ความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยา คือ ทรงแสดงเทศนาให้ถูกใจ, ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมี แด่ข้าพเจ้า ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ บุคคลใดมีปัญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถา เหล่านี้ทุกๆ วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทั้งหลายทุกอย่างเสียได้ และเข้าถึงความหลุดพ้น คือ พระนิพพานอันบรมสุข นั้นแลฯ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลังฯ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้ทรงเป็นที่พึ่งของสรรพสัตว์ทรงประกอบด้วย พระมหากรุณา ทรงบาเพ็ญพระบารมีทั้งปวง เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยการกล่าวสัจจวาจานี้ ขอชัยมงคล ทั้งหลายจงมีแก่ข้าพเจ้า ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง อะหัง วิชะโย โหมิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล. ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะ เหมือนพระพุทธเจ้าผู้เป้นที่เคารพรักของเจ้าศายะทรงชนะ มาร ณ ควงไม้โพธิพฤกษ์ ขอข้าพเจ้าจงมีชัยชนะได้รับชัยมงคลเถิด อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ. (ขอให้ข้าพเจ้าบรรลุถึงความเป็นเลิศเบิกบานใจ) เหมือนพระพุทธเจ้าบรรลุธรรม รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 13. หน้า | 12 อันประเสริฐ เบิกบานพระทัย เหนือบัลลังก์แห่งชัยชนะ ณ พ่างพื้นปฐพีอัน ประเสริฐเลิศแผ่นดิน เป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตังสุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ. วันที่ทาความดีทางกาย วาจา ใจ (เวลาที่ประพฤติชอบ) ชื่อว่า ฤกษ์ดี มงคลดี ยามรุ่ง ดี ยามตื่นดี ขณะดี ครู่ดี ทานที่ถวายแก่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์(ในวันนั้นเวลานั้น) เป็นทานดี ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธิ เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ. กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม และความตั้งใจ (ที่ทาในวันนั้น เวลานั้น) เป็นสิ่งที่ดี เมื่อทาความดีแล้วย่อมได้รับผลดี ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วย อานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตาสัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วย อานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 14. หน้า | 13 ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้า ขอเหล่าเทพยดาทั้งปวงจงรักษาข้าพเจ้า ด้วย อานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสุขสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ข้าพเจ้าทุกเมื่อ บทสวดชินบัญชร(ไม่แปล) ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะ ญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุ คะโตนะโมพุทธายะ ๑. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวามารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิง สุ นะราสะภา ๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา ๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร ๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกษฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัล ลาโน จะ วามะเก ๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก ๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สัมปันโน โสภีโต มุนิปุง คะโว รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 15. หน้า | 14 ๗.กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐา สิ คุณากะโร ๘.ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละ กา มะมะ ๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระ สา ชะลันตา สีละเตเช นะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อัง คุลิมาละกัง ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปา การะสัณฐิตา ๑๒.ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิ รัชฌัตตุปัททะวา ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหา ปุริสาสะภา ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตา ริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตาริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุ ภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติฯ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 16. หน้า | 15 บทสวดชินบัญชร(แปล) ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะ ญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุ คะโตนะโมพุทธายะ ๑. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวามารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะ ราสะภา พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยา มาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยสัจธรรมทั้งสี่ ประการ เป็นผู้นาสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ ๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา มี ๒๘ พระองค์ คือ พระผู้ทรงนามว่า ตันหังกร เป็นอาทิ พระพุทธเจ้าจอมมุนีทั้งหมดนั้น ๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะ คุณากะโรข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 17. หน้า | 16 สัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่บนศรีษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็น อากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก ๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกษฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญา โกณฑัญญะอยู่เบื้องหลัง ๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย ๖.เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร นิสินโน สัมปันโน โสภีโต มุนิปุงคะโว มุนีผู้ประเสริฐ คือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง ๗.กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณา กะโร พระเถระกุมาระกัสสปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากประจา ๘.ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จง ปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 18. หน้า | 17 ๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลัน ตา สีละเตเชนะ อัง คะมังเคสุ สัณฐิตา ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือ ผู้มีชัยและเป็นพระโอรสเป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ ทรงชัย แต่ละองค์ล้วนรุ่งโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดารงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ ๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมา ละกัง พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคสูตรอยู่เบื้องหลัง ๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปากา ระสัณฐิตา พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตรเป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บน นภากาศ ๑๒.ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัท ทะวา อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกาลังนานา ชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง คือ สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกาแพงคุ้มครองเจ็ด ชั้น รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 19. หน้า | 18 ๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้า ไม่ว่าจะทากิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัย อยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อมแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวทุกข์ทั้งภายนอก และภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐาน จงกาจัดให้ พินาศอย่าให้เหลือ ๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสา สะภา ขอพระมหาบุรุษ ผู้ทรงพระคุณอันล้าเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ใน ภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายใน เป็นอันดี ฉะนี้แล ๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโค สังฆานุภาเวนะ ชิตา ริสังโค สังฆานุภาเวลานะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเร ติฯ ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทว อันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระ ธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และ รักษาดาเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 20. หน้า | 19 กะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี ภิกษุผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ ประสงค์จะบรรลุแดนสงบ พึงอบรมสิกขาสาม ภิกษุ นั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นคนตรง แน่วแน่ ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่ถือตัว สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ พึงเป็นผู้สันโดษเลี้ยงง่าย มีกิจธุระน้อย ดาเนินชีวิตเรียบง่าย มีอินทรีย์สงบ มีปัญญารักษา ตน มีการสารวมกาย วาจาใจ ไม่พัวพันกับสกุลทั้งหลาย(ชาวบ้าน) นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพพะ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ไม่พึงประพฤติสิ่งเล็กน้อยอะไรที่จะเป็นเหตุให้ผู้รู้ตาหนิ(พึงแผ่เมตตาว่า) ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีความสุขกาย สุขใจ ปลอดจากภัยทั้งปวงเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วะนะวะเสสา ทีฆา วา เย มะหันตา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา สัตว์ทั้งหลายที่มีความหวาดกลัวก็ดี ที่มั่นคงก็ดีทั้งหมด ทั้งที่มีกาย ยาว ใหญ่ ปานกลาง สั้น ละเอียด หรือหยาบ ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย วะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร ภูตา วะ สัมภะเวสี วะ สัพพะ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 21. หน้า | 20 ทั้งที่เคยเห็นหรือไม่เคยเห็น อยู่ไกลหรือใกล้ ที่เกิดแล้ว หรือที่กาลังแสวงหาที่เกิด สัตว์ทั้ง ปวงเหล่านั้น จงมีความสุขกาย สุขใจเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กัญจิ พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญะ นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ บุคคลไม่พึงหลอกลวงกัน ไม่พึงดูหมิ่นใครในที่ไหน ไม่พึงปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน ด้วยการเบียดเบียน หรือด้วยใจมุ่งร้าย มาตา ยะถา นิยัง ปุตตะ มายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสังภาวะเย อะปะริมาณัง มารดาถนอมบุตรคนเดียวของตนด้วยชีวิต ฉันใด บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตไม่มีประมาณ ในสัตว์โลกทั้งปวง ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสังภาวะเย อะปะริมาณัง อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวระมะสะปัตตัง บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตอันไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ในสัตว์โลก ทั้งหมด ทั้งในอรูปภูมิเบื้องบน รูปภูมิเบื้องกลาง และกามาวจรภูมิเบื้องต่า ติฎฐัง จะรัง นิสินโน วะ สะยาโน ยาวะตัสสะ วิตะมิทโธ เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหาระ มิธะมาหุ ท่านจะอยู่ในอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง หรือนอนก็ตาม พึงเป็นผู้ปราศจากความง่วงและความ ท้อแท้ ตั้งสติอย่างนี้ไว้ พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสการปฏิบัติเช่นนี้ ว่าเป็นความประพฤติ อันประเสริฐในพระศาสนานี้ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 22. หน้า | 21 ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรติฯ บุคคลผู้นั้นจะไม่กล้ากลายความเห็นผิด เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยความเห็นชอบ เมื่อขจัดความยินดีในกามได้แล้ว ย่อมไม่เข้าถึงการเกิดในครรภ์อีกอย่างแน่แท้ ขันธะปะริตตัง วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในงูตระกูลวิรูปักษ์ ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตใจงูตระกูลเอราบถ ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในงูตระกูลฉัพยาบุตร ข้าเจ้าขอแผ่เมตตาจิตใจงูตระกูลกัณหาโคดม อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทวิปาทะเกหิ เม จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์ไม่มีเท้า ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์สองเท้า ข้าพเจ้าขอ แผ่เมตตาจิตในสัตว์สี่เท้า ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตาจิตในสัตว์ที่มีเท้ามาก มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัตว์ไม่มีเท้า อย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า สัตว์ที่มีสองเท้า อย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า สัวต์ที่มี สี่เท้าอย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า และสัตว์ที่มีเท้ามาก อย่าได้เบียดเบียนข้าพเจ้า รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 23. หน้า | 22 สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กัญจิ ปาปะมาคะมา ขอสัตว์ทั้งปวง ปราณชาติทั้งปวง สัตว์ที่เกิดแล้วทั้งปวงทั้งหมด จงประสบความเจริญทุก ผู้ ขอความทุกข์อย่าได้เข้าถึงใคร ๆ เลย อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สะรีสะปานิ อะหิ วิจฉิกะ สะตะปะที อุณณะนาภิ สะระพู มูสิกา พระพุทธเจ้าทรงพระคุณหาประมาณมิได้ พระธรรมทรงพระคุณหาประมาณมิได้ พระสงฆ์ทรงพระคุณหาประมาณมิได้ แต่สัตว์เลื้อยคลาน คือ งู แมงป่อง ตะขาบ แมงมุม ตุ๊กแก และหนู เป็นสัตว์ที่ประมาณได้ กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตัง ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังฯ ข้าพเจ้าได้คุ้มครองตนแล้ว ข้าพเจ้าได้ป้องกันตนแล้ว เหล่าสัตว์จงหลีกไป ข้าพเจ้าขอ นอบน้อมพระผู้มีพระภาค ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้าทั้ง ๗ พระองค์ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 24. หน้า | 23 คาแผ่เมตตาให้แก่ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุข อะหัง นิททุกโข โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากทุกข์ อะหัง อเวโร โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากเวร อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากความลาบาก อะหัง อะนีโฆ โหมิ - ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากอุปสรรค สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ - จงรักษาตนให้มีความสุขตลอดกาลนานเทอญ คาแผ่เมตตาให้แก่ผู้อื่น สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียน ซึ่งกันและกันเลย อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุข เป็นสุขเถิดอย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจรักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยสิ้นเถิด รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 25. หน้า | 24 มงคล ๓๘ ประการ มงคลที่ ๑.ไม่คบคนพาล อย่าคบมิตร ที่พาล สันดานชั่ว จะพาตัว เน่าดิบ จนฉิบหาย แม้ความคิด ชั่วช้า อย่ากล้ากราย เป็นมิตรร้าย ภายใน ทุกข์ใจครัน มงคลที่ ๒.การคบบัณฑิต ควรคบหา บัณฑิต เป็นมิตรไว้ จะช่วยให้ พ้นทุกข์ สบสุขสันต์ ความคิดดี เลิศล้า ยิ่งสาคัญ ควรคบกัน อย่าเขว ทุกเวลา มงคลที่ ๓.การบูชาบุคคลที่ควรบูชา ควรบูชา ไตรรัตน์ ขัตติเยศร์ ผู้วิเศษ ก่อเกื้อ เหนือเกศา ครูอาจารย์ เจดีย์ ที่สักการ์ ด้วยบุปผา ปฏิบัติ สวัสดิ์การ มงคลที่ ๔.การอยู่ในถิ่นอันสมควร เป็นเมืองกรุง ทุ่งนา หรือป่าใหญ่ ทางมา-ไป ครบครัน ธัญญาหาร มีคนดี ที่ศึกษา พยาบาล ปลอดภัยพาล ควรอยู่กิน ถิ่นนั้นแล มงคลที่ ๕.เคยทาบุญมาก่อน กุศลบุญ คุณล้า เคยทาไว้ จะส่งให้ สวยเด่น เช่นดวงแข ทั้งทรัพย์ยศ ไมตรี มีเย็นแด เพราะกระแส บุญเลิศ ประเสริฐนัก มงคลที่ ๖. การตั้งตนชอบ ต้องตั้งตน กายใจ ในทางถูก เร่งฝังปลูก ตนไว้ ให้ถูกหลัก เมื่อตัวตน ยังมี เป็นที่รัก ควรพิทักษ์ ให้งาม ตามเวลา รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 26. หน้า | 25 มงคลที่ ๗. ความเป็นพหูสูต การสนใจ ใฝ่คว้า หาความรู้ ให้เป็นผู้ แก่เรียน เพียรศึกษา มีศีลดี สติมั่น เกิดปัญญา ย่อมนาพา ตัวรอด เป็นยอดดี มงคลที่ ๘. การรอบรู้ในศิลปะ ศิลปะ ต่างอย่าง ทางอาชีพ ควรเร่งรีบ เรียนรู้ ชูศักดิ์ศรี มีบางคน จนอับ กลับมั่งมี ฉลาดดี มีศิลป์ หากินพอ มงคลที่ ๙. มีวินัยที่ดี อันวินัย นาระเบียบ สู่เรียบร้อย คนใหญ่น้อย เปรมปรีดิ์ ดีนักหนา วินัยสร้าง กระจ่างข้อ ก่อศรัทธา เพราะรักษา กติกา พาร่วมมือ ไม่พูดเท็จ พูดสอดเสียด และพูดมาก ละความยาก สร้างวิบาก ฝากยึดถือ คนหมู่มาก มักถางถาก ปากข่าวลือ ต้องสัตย์ซื่อ ถือวินัย ใช้ร่วมกัน มงคลที่ ๑๐. กล่าววาจาอันเป็นสุภาษิต เปล่งวจี สัจจะ นวลละม่อม กล่าวเลลี้ยกล่อม ไพเราะ กาลเหมาะสม เจือประโยชน์ เมตตา ค่านิยม รื่นอารมณ์ ผู้ฟัง ดังเสียงทอง มงคลที่ ๑๑. การบารุงบิดามารดา คนที่หา ได้ยาก มากไฉน เพราะว่าใน โลกนี้ มีเพียงสอง คือพ่อแม่ เกิดเกล้า เหล่าลูกต้อง ตอบสนอง พระคุณ ได้บุญแรง รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 27. หน้า | 26 มงคลที่ ๑๒. การสงเคราะห์บุตร เป็นมารดา บิดา ทาหน้าที่ ให้บุตรมี พานัก เป็นหลักแหล่ง ส่งเสริมบุตร ธิดาตน กุศลแรง ย่อมส่องแสง เพิ่มพูน ตระกูลวงศ์ มงคลที่ ๑๓.การสงเคราะห์ภรรยา มีคู่ครอง ต้องไม่ทา ให้ช้าจิต จะพาผิด ไปข้าง ทงผุยผง ต้องสงเคราะห์ แก่กัน ให้มั่นคง รักยืนยง ด้วยกัน ถึงวันตาย มงคลที่ ๑๔.ทางานไม่คั่งค้าง จะทางาน การใด ตั้งใจมั่น อย่าผลัดวัน ทาเล่น เช้า เย็น สาย ไม่ทิ้งคา อากูล มากมูลมาย เร่งคลี่คลาย ให้เสร็จ สาเร็จการ มงคลที่ ๑๕.การให้ทาน ควรบาเพ็ญ ซึ่งทาน คือการให้ ท่านว่าไว้ สวยงาม สามสถาน หนึ่งให้ของ สองธรรมะ ขนะมาร อภัยทาน ที่สาม งามเหลือเกิน มงคลที่ ๑๖.การประพฤติธรรม การประพฤติ ตามธรรม คาพระสอน ไม่เดือดร้อน ถอนทุกข์ ยามฉุกเฉิน คนรักธรรม ธรรมรักษ์คน ผลเจริญ นั่ง,ยืน,เดิน นอน,สุข ทุกข์ไม่มี มงคลที่ ๑๗.การสงเคราะห์ญาติ เมื่อยามญาติ อัตคัด เกินขัดข้อง ควรหาช่อง สงเคราะห์ ไม่เลาะหนี เขาซาบซึ้ง ถึงคุณ อบอุ่นดี หากถึงที เราจน ญาติสนใจ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 28. หน้า | 27 มงคลที่ ๑๘. ทางานไม่มีโทษ งานรับจ้าง ล้างชาม ก็ตามเถิด หากไม่เกิด โทษทัณฑ์ นั่นสดใส เมื่อได้ช่อง ต้องจา กระทาไป ได้กาไร ทุกทาง ไม่ว่างงาน มงคลที่ ๑๙. ละเว้นจากบาป กรรมชั่วช้า ลามก ต้องยกเว้น หากขืนเล่น ด้วยกัน ถูกมันผลาญ งดเว้นบาป การาบให้ ไกลสันดาน ในดวงมาลย์ ไม่ร้อน และอ่อนเพลีย มงคลที่ ๒๐. สารวมจากการดื่มน้าเม ของมึนเมา ทุกชนิด พิษคล้ายเหล้า ใครเสพเข้า น่าตาหนิ สติเสีย เกิดโรคร้าย แรงร้อน กายอ่อนเพลีย ใครงดเสีย เป็นสุข ไปทุกวัน มงคลที่ ๒๑. ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ไม่ประมาท คือมี สติพร้อม คอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ ไม่ผลุนผลัน ธรรมอันใด ไม่ดี หลีกหนีพลัน ธรรมดีนั้น ยึดแน่น ไม่แคลนคลอน มงคลที่ ๒๒. มีความเคารพ ความเคารพ นับถือ คือเสน่ห์ ไม่โลเล เหมือนลิง วิ่งหลอกหลอน ทั้งต่อหน้า ลับหลัง พึงสังวร ย่อมงามงอน สวยสง่า ราคาแพง มงคลที่ ๒๓. มีความถ่อมตน ไม่พองลม ก้มหัว เจียมตัวด้วย มรรยาทสวย นิ่มนวล สิ้นส่วนแข็ง เหมือนงูพิษ ถอดเขี้ยว หมดเรี่ยวแรง ยามแถลง นอบน้อม พร้อมใจกาย รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 29. หน้า | 28 มงคลที่ ๒๔. มีความสันโดษ ความสันโดษ พอใจ ในสิ่งของ เช่นเงินทอง ของตน แม้ล้นหลาย เมื่อมีน้อย จ่ายน้อย ค่อยสบาย ความจนหาย เลยลับ กลับมั่งมี มงคลที่ ๒๕. มีความกตัญญู กตัญญู รู้บุญ คุณพ่อแม่ คนเฒ่าแก่ แลอาจารย์ ท่านทรงศีล จอมมุนินทร์ ปิ่นเกล้า เจ้าธานี หาวิธี แทนคุณ สมดุลกัน มงคลที่ ๒๖. การฟังธรรมตามกาล การฟังธรรม ตามกาล ผ่านมาถึง ควรคานึง นิ่งนั่ง ฟังขยัน ย่อมจะเกิด ปัญญา สารพัน ตั้งใจมั่น ฟังดี นี่สมควร มงคลที่ ๒๗. มีความอดทน ความอดทน ตรากตรา ยามลาบาก เจ็บไข้มาก ทนได้ ไม่โหยหวน ถูกเขาด่า ให้ฟัง นั่งหน้านวล ยิ้มเสสรวล ด้วยขันติ งามวิไล มงคลที่ ๒๘. เป็นผู้ว่าง่าย ควรเป็นคน สอนง่าย ไม่ตายด้าน ก่อราคาญ ค่าเช้า ไม่เข้าไหน ไม่ซัดโทษ ของตน ให้คนใด เมื่อมีใคร สอนพร่า ให้นามา มงคลที่ ๒๙. การได้เห็นสมณะ การพบเห็น สมณะ ผู้สงบ แล้วนอบนบ ถามไถ่ ไตรสิกขา หมั่นฝึกหัด ทุกวัน ด้วยปัญญา ย่อมชักพา จิตตรง มงคลมี รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 30. หน้า | 29 มงคลที่ ๓๐. การสนทนาธรรมตามกาล ยามหดหู่ ฟุ้งซ่าน กาลสงสัย เป็นสมัย ไต่ถาม ตามเหตุผล เพื่อบรรเทา คลี่คลาย หายกังวล ควรจะสน- ทนาธรรม ตามที่ควร มงคลที่ ๓๑. การบาเพ็ญตบะ พึงบาเพ็ญ ตบะ ละกิเลส อันเป็นเหตุ หักห้าม กามฉันท์ มุ่งทาลาย ถ่ายบาป สาบสูญพันธุ์ เข้าสู่ขั้น สุโข ฌาณโกลีย์ มงคลที่ ๓๒. การประพฤติพรหมจรรย์ เร่งประพฤติ พรหมจรรย์ อันประเสริฐ์ เพื่อให้เกิด สุขล้วน โดยถ้วนถี่ ตั้งแต่ทาน ถึงสิกขา บรรดามี สมบูรณ์ดี พรหมจรรย์ ย่อมมั่นคล มงคลที่ ๓๓. การเห็นอริยสัจ การรู้เห็น ความจริง สิ่งเที่ยงแท้ ไม่ผันแปร สี่ชนิด ไม่ผิดหลง ตัดตัณหา มูลราก พรากทุกข์ลง เป็นการส่ง ข้ามฟาก จากสาคร มงคลที่ ๓๔. การทาให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ทาให้แจ้ง นิพพาน ผลาญสังโยชน์ ตรวจตราโทษ ธาตุ ขันธ์ หมั่นฝึกถอน เอาอรหัต มรรคญาณ เผาราญรอน ดับทุกข์ร้อน นิพพาน สาราญนัก มงคลที่ ๓๕. การมีจิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม ท่านผู้ใด ใจดารง อยู่คงที่ ในเมื่อมี โลกธรรม ครอบงาหนัก เช่น ลาภ ยศ สุข เศร้า เข้าง้างชัก มิอาจยัก โยกท่าน ให้หวั่นใจ รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์
  • 31. หน้า | 30 มงคลที่ ๓๖. การมีจิตไม่โศกเศร้า คราวพลักพราก จากญาติ ขาดชีวิต ถูกพิชิต จองจา ทาโทษใหญ่ มีสติ คุมจิต เป็นนิตย์ไป ไม่เสียใจ โศกเศร้า เฝ้าประคอง มงคลที่ ๓๗. มีจิตปราศจากกิเลส หมดราคะ โทสะ โมหะแล้ว จิตผ่องแผ้ว เลิศดี ไม่มีสอง ย่อมมีค่า สูงจริง ยิ่งเงินทอง เหมือนสูริย์ส่อง ท้องฟ้า สง่างาม มงคลที่ ๓๘. มีจิตเกษม จิตเกษม เปรมปรีดิ์ ดีตลอด เป็นจิตปลอด จากโอฆ ในโลกสาม เครื่องผูกมัด สลัดหมด แสนงดงาม เข้าถึงความ สุขสันต์ นิรันดร “สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ” “การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง” รวบรวมบทสวดมนต์โดย ครูนรภัทร สิงห์นวล, ที่มา: เวบไซต์เกี่ยวกับธรรมะ, หนังสือสวดมนต์