SlideShare a Scribd company logo
1
อลัมพุสาชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๓. อลัมพุสาชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๒๓)
ว่าด้วยเทพธิดาอลัมพุสา
(พระศาสดาเมื่อจะทรงทาเนื้อความนั้นให้แจ่มแจ้ง จึงตรัสว่า)
[๙๕] ครั้งนั้น พระอินทร์ผู้เป็ นใหญ่ทรงปราบปรามวัตรอสูร
ซึ่งเป็ นพระบิดาแห่งเหล่าเทพบุตรผู้มีชัย
ทรงเล็งเห็นอลัมพุสาเทพกัญญาว่ามีความสามารถ ณ
สุธรรมาเทวสถานแล้วจึงมีเทวโองการว่า
[๙๖] แม่นางมิสสาเทพกัญญา เทวดาชั้นดาวดึงส์
พร้อมทั้งพระอินทร์ขอร้องแม่นาง
แม่นางอลัมพุสาผู้สามารถจะประเล้าประโลมฤๅษีได้
แม่นางจงไปหาอิสิสิงคดาบสเถิด
(ท้าวสักกะทรงพระบัญชานางอลัมพุสาแล้วตรัสว่า)
[๙๗] ดาบสองค์นี้เป็ นผู้มีวัตร ประพฤติพรหมจรรย์ ยินดียิ่งในนิพพาน
เป็นผู้เจริญด้วยคุณธรรม อย่าล่วงเลยพวกเราไปก่อนเลย
เธอจงกั้นทางที่จะไปสู่เทวโลกของท่านไว้
(นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้ฟังพระราชดารัสดังนั้น จึงตรัสว่า)
[๙๘] ขอเดชะพระเทวราช พระองค์ทรงทาอะไรอยู่
พระองค์จึงทรงเห็นแต่หม่อมฉันเท่านั้นว่า
แม่นางผู้สามารถจะประเล้าประโลมฤๅษีได้ เธอจงไป นางเทพอัปสรแม้อื่นก็มีอยู่
[๙๙] นางเทพอัปสรผู้ทัดเทียมกับหม่อมฉัน และประเสริฐกว่าหม่อมฉัน
ในอโศกนันทวันก็มีอยู่ ขอวาระแห่งการไปจงมีแก่นางเทพอัปสรเหล่านั้นเถิด
แม้นางเทพอัปสรเหล่านั้นก็จงไปประเล้าประโลมเถิด
(ท้าวสักกเทวราชได้ตรัสว่า)
[๑๐๐] เธอพูดถูกต้องอย่างแท้จริง
ถึงนางเทพอัปสรเหล่าอื่นที่ทัดเทียมกับเธอ
และประเสริฐกว่าเธอในอโศกนันทวันก็มีอยู่
[๑๐๑] แม่นางผู้มีความงามทั่วสรรพางค์กาย
แต่นางเทพอัปสรเหล่านั้นไปแล้ว ไม่รู้จักการบาเรอชายอย่างที่เธอรู้
[๑๐๒] เชิญไปเถิด แม่นางผู้มีความงาม
เพราะเธอประเสริฐกว่าหญิงทั้งหลาย เธอจักใช้รูปร่างผิวพรรณของเธอ
นาดาบสมาสู่อานาจได้
(พระนางอลัมพุสาได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงกราบทูลว่า)
2
[๑๐๓] หม่อมฉันถูกพระเทวราชทรงใช้จะไม่ทาก็ไม่ได้
แต่หม่อมฉันหวั่นเกรงการที่จะประเล้าประโลมให้ดาบสนั้นยินดี
เพราะท่านเป็นพราหมณ์ มีเดชสูงส่ง
[๑๐๔] ชนทั้งหลายประเล้าประโลมฤๅษีให้ยินดีแล้วตกนรก
ถึงสังสารวัฏเพราะความงมงายมีจานวนมิใช่น้อย เพราะเหตุนั้น
หม่อมฉันจึงขนพองสยองเกล้า
(พระศาสดาตรัสว่า)
[๑๐๕] อลัมพุสา มิสสาเทพอัปสร ผู้มีวรรณะน่าใคร่
ปรารถนาเพื่อจะให้อิสิสิงคดาบสคลุกเคล้าระคนด้วยกิเลส
ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้วก็หลีกไป
[๑๐๖] ก็อลัมพุสาเทพอัปสรนั้นได้ลงสู่ป่าที่อิสิสิงคดาบสรักษา
ซึ่งดารดาษด้วยเถาตาลึงสุกมีประมาณกึ่งโยชน์โดยรอบนั้น
[๑๐๗] นางเข้าไปหาอิสิสิงคดาบสผู้กาลังปัดกวาดโรงไฟแต่เช้าตรู่
ก่อนเวลาอาหารเช้า ใกล้เวลาอาทิตย์อุทัย
(ลาดับนั้น ดาบสถามนางว่า)
[๑๐๘] เธอเป็นใครหนอ รัศมีช่างงามผ่องใสดังสายฟ้ า
ประดุจดาวประกายพรึก ประดับกาไลมืออันวิจิตร สวมใส่ต่างหูแก้วมณี
[๑๐๙] มีประกายดุจแสงอาทิตย์ ร่างกายมีกลิ่นหอมด้วยจันทน์เหลือง
ลาขากลมกลึงสวยงาม มีมายามากมาย กาลังสาวแรกรุ่น น่าทัศนาเชยชม
[๑๑๐] เท้าทั้ง ๒ ของเธออ่อนละมุน สะอาดหมดจด ไม่แหว่งเว้า
ตั้งลงเรียบเสมอด้วยดี ทุกย่างก้าวของเธอน่ารักใคร่ ดึงใจอาตมาให้วาบหวาม
[๑๑๑] อนึ่ง ลาขาของเธอเป็ นปล้องๆ เหมือนกับงวงช้าง
สะโพกของเธอเกลี้ยงเกลากลมกลึงผึ่งผายสวยงาม เหมือนแผ่นกระดานสะกา
[๑๑๒] นาภีของเธอตั้งอยู่เรียบร้อยดีเหมือนฝักดอกอุบล
ปรากฏได้แต่ไกลเหมือนเกษรดอกอัญชันเขียว
[๑๑๓] ถันเกิดที่ทรวงอกทั้งคู่หาขั้วมิได้ เต่งเต้าสวยงามทรงเกษียรรสไว้
ไม่หย่อนยาน เสมอเหมือนกับผลน้าเต้าครึ่งผล
[๑๑๔] ลาคอของเธอยาวประดุจลาคอนางเนื้อทราย
เปล่งปลั่งดั่งพื้นแผ่นทองคา ริมฝีปากของเธองามเปล่งปลั่งดั่งลิ้นหัวใจห้องที่ ๔
[๑๑๕] ฟันของเธอทั้งข้างบนข้างล่าง ขัดสีได้อย่างเลิศด้วยไม้ชาระฟัน
เกิดขึ้น ๒ คราว เป็นฟันที่ปราศจากโทษ ดูสวยงาม
[๑๑๖] ดวงเนตรทั้ง ๒ ของเธอดาขลับ ตามขอบดวงตาเป็นสีแดง
เปล่งปลั่งดั่งเมล็ดมะกล่า ทั้งยาวทั้งกว้าง ดูสวยงาม
[๑๑๗] เส้นผมที่งอกขึ้นที่ศีรษะของเธอไม่ยาวเกินไป เกลี้ยงเกลาดี
ตกแต่งด้วยหวีทองคา มีกลิ่นหอมเหมือนกลิ่นจันทน์
3
[๑๑๘] ชาวนาชาวไร่ คนเลี้ยงโค พ่อค้ามีความสาเร็จ
และฤๅษีผู้มีความสารวม บาเพ็ญตบะ มีความบากบั่น มีประมาณเท่าใด
[๑๑๙] ชนมีประมาณเท่านั้นในปฐพีมณฑลนี้
แม้คนหนึ่งที่เสมอเหมือนเธอ อาตมายังไม่เห็น เธอเป็นใคร เป็นลูกของใครหรือ
อาตมาจะรู้จักเธอได้อย่างไร
(นางอลัมพุสาเทพกัญญารู้ว่าอิสิสิงคดาบสนั้นหลงใหลแล้ว จึงกล่าวว่า)
[๑๒๐] ท่านกัสสปะผู้เจริญ เมื่อจิตของท่านเป็ นไปอย่างนี้แล้ว
ก็ไม่ใช่กาลที่จะเป็นปัญหา มาเถิด สหาย เราทั้ง ๒ จักอภิรมย์กันในอาศรมของเรา
มาเถิด ดิฉันจักคลุกเคล้าท่าน
ขอท่านเป็นผู้ฉลาดในความยินดีในเบญจกามคุณเถิด
(พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศความข้อนั้นจึงตรัสว่า)
[๑๒๑] อลัมพุสา มิสสาเทพอัปสร ผู้มีวรรณะน่าใคร่
ปรารถนาเพื่อจะให้อิสิสิงคดาบสคลุกเคล้าระคนด้วยกิเลส
ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้วก็หลีกไป
[๑๒๒] ก็ดาบสนั้นตัดความเฉื่อยชาเสียแล้ว รีบออกไปโดยเร็ว
ประชิดตัวนาง ลูบเรือนผมบนศีรษะ
[๑๒๓] เทพอัปสรกัลยาณีผู้มีความสวยสดงดงาม
หันกลับมาสวมกอดดาบสนั้น นางมีความยินดีที่ดาบสเคลื่อนจากพรหมจรรย์นั้น
ตามที่ท้าวสักกะปรารถนา
[๑๒๔] นางได้มีใจราลึกถึงพระอินทร์ซึ่งประทับอยู่ในนันทวัน
ท้าวมัฆวานเทพกุญชรทรงทราบความดาริของนางแล้ว
[๑๒๕] ทรงส่งบัลลังก์ทอง พร้อมทั้งเครื่องบริวาร พร้อมทั้งทับทรวง ๕๐
อัน และเครื่องปูลาด ๑,๐๐๐ ผืน ไปโดยเร็วพลัน
[๑๒๖] แม่โฉมงามโอบอุ้มดาบสนั้นไว้แนบทรวงอก กกกอดอยู่ตลอด ๓
ปีบนบัลลังก์นั้น เป็นเหมือนเพียงครู่เดียวเท่านั้น
[๑๒๗] โดยล่วงไป ๓ ปี ดาบสพราหมณ์จึงสร่างเมา รู้สึกตัว
ได้เห็นต้นไม้เขียวชะอุ่มขึ้นอยู่โดยรอบเรือนไฟ
[๑๒๘] ป่าไม้ผลัดใบใหม่ ออกดอกบานสะพรั่ง
กึกก้องไปด้วยฝูงนกดุเหว่า ครั้นท่านเหลียวมองดูโดยรอบ
ก็หลั่งน้าตาร้องไห้ราพันว่า
[๑๒๙] เรามิได้บูชาไฟ มิได้สาธยายมนต์
อะไรบันดาลการบูชาไฟให้เสื่อมสิ้นไป
ใครหนอประเล้าประโลมบาเรอจิตของเราในกาลก่อน
4
[๑๓๐] เมื่อเราอยู่ป่า ผู้ใดหนอมายึดเอาฌานคุณ
ที่เกิดมีพร้อมกับเดชของเราไป
ประดุจยึดเอานาวาที่เต็มเปี่ยมด้วยรัตนะนานาชนิดในท้องทะเลหลวง
(นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้ฟังดังนั้น จึงปรากฏกายยืนอยู่กล่าวว่า)
[๑๓๑] ดิฉันถูกท้าวเทวราชทรงใช้มาเพื่อบาเรอท่าน ได้ใช้จิตฆ่าจิตท่าน
เพราะความประมาท ท่านจึงไม่รู้สึกตัว
(อิสิสิงคดาบสได้ฟังนางอลัมพุสาเทพกัญญาแล้ว
ระลึกถึงโอวาทที่บิดาให้ไว้ คร่าครวญอยู่ได้กล่าวว่า)
[๑๓๒] เดิมที พ่อกัสสปะพร่าสอนถ้อยคาเหล่านี้กับเราว่า พ่อมาณพ
หญิงเปรียบได้กับดอกนารีผล เจ้าจงรู้จักหญิงเหล่านั้น
[๑๓๓] พ่อกัสสปะดูเหมือนจะเอื้อเอ็นดูเรา จึงพร่าสอนเราอย่างนี้ว่า
มาณพ เจ้าจงรู้จักหญิงผู้มีฝีที่อก เจ้าจงรู้จักหญิงเหล่านั้น
[๑๓๔] เรามิได้ทาตามคาสอนของบิดาผู้เจริญนั้น
วันนี้เรานั้นจึงซบเซาอยู่แต่ผู้เดียวในป่าที่หามนุษย์มิได้
[๑๓๕] น่าติเตียนจริงหนอ ชีวิตของเรา
เราจักทาอย่างที่เราเคยเป็นเช่นนั้น หรือมิฉะนั้นเราก็จักตายเสีย
(พระศาสดาตรัสว่า)
[๑๓๖] อลัมพุสาเทพกัญญา ครั้นทราบเดช ความเพียร
และปัญญาของดาบสนั้น ดารงมั่นคงแล้ว จึงจับเท้าทั้งสองของดาบสทูนไว้ที่ศีรษะ
ละล่าละลักกล่าวกับอิสิสิงคดาบสว่า
[๑๓๗] อย่าโกรธดิฉันเลย ท่านมหาวีระ อย่าโกรธดิฉันเลย
ท่านมหาฤๅษี ดิฉันบาเพ็ญประโยชน์อันใหญ่หลวงเพื่อเทพชั้นไตรทศผู้มียศ
เพราะเทพบุรีทั้งหมดถูกพระคุณเจ้าทาให้หวั่นไหวในคราวนั้น
(อิสิสิงคดาบสกล่าวคาถาว่า)
[๑๓๘] แม่นางผู้เจริญ ขอทวยเทพชั้นดาวดึงส์
ท้าววาสวะแห่งเทพชั้นไตรทศ และเธอจงเป็นสุขๆ เถิด เชิญเธอไปตามสบายเถิด
แม่เทพกัญญา
(พระศาสดาตรัสว่า)
[๑๓๙] อลัมพุสาเทพกัญญา ครั้นจับเท้าทั้ง ๒ ของดาบสแล้ว
จึงประคองอัญชลี กระทาประทักษิณดาบสนั้น แล้วได้หลีกไปจากที่นั้น
[๑๔๐] นางเทพกัญญาขึ้นสู่บัลลังก์ทอง พร้อมทั้งเครื่องบริวาร
พร้อมทั้งทับทรวง ๕๐ และเครื่องปูลาด ๑,๐๐๐ ผืน อันเป็นของนางนั่นเอง
ได้กลับไปในสานักเทพทั้งหลาย
5
[๑๔๑] ท้าวสักกะจอมเทพทรงมีปีติและโสมนัส ปลาบปลื้มหฤทัย
ได้พระราชทานพรกับนางเทพกัญญานั้นซึ่งกาลังมา ราวกับประทีปอันรุ่งเรือง
ดุจสายฟ้ าแลบ
(นางอลัมพุสากราบทูลว่า)
[๑๔๒] ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง
หากพระองค์ทรงประทานพรแก่หม่อมฉันไซร้
ขอหม่อมฉันอย่าต้องไปประเล้าประโลมฤๅษีอีกเลย ข้าแต่ท้าวสักกะ
หม่อมฉันขอพรข้อนี้ ดังนี้แล
อลัมพุสาชาดกที่ ๓ จบ
-----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
อลัมพุสาชาดก
ว่าด้วย อิสิสิงคดาบสถูกทาลายตบะ
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภการประเล้าประโลมของนางปุราณทุติยิกา ตรัสพระธรรมเทศนานี้
ดังนี้.
เรื่องในปัจจุบัน ข้าพเจ้ากล่าวไว้อย่างพิสดารใน อินทริยชาดก แล้วแล.
ก็พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ข่าวว่าเธอเป็นผู้กระสัน
อยากสึกจริงหรือ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลรับเป็นคาสัตย์แล้ว ตรัสถามว่า
ใครทาให้เธอกระสัน เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า นางปุราณทุติยิกา จึงตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุ หญิงนี้ก่อความฉิบหายแก่เธอ เธออาศัยหญิงนี้ ยังฌานให้พินาศ
เป็นผู้หลงใหล สลบนอนอยู่สิ้น ๓ ปี ต่อเมื่อเกิดสานึกได้
จึงปริเวทนาอย่างใหญ่หลวง
แล้วทรงนาอดีตนิทานมาแสดงดังต่อไปนี้
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ณ กาสิกรัฐ เจริญวัยแล้ว
ถึงความสาเร็จในสรรพศิลปศาสตร์ แล้วบวชเป็นฤาษี
มีมูลผลาผลในป่าเป็ นอาหาร ยังอัตภาพให้เป็นไปในป่ากว้าง.
ครั้งนั้น แม่เนื้อตัวหนึ่งเคี้ยวกินหญ้าอันเจือด้วยน้าเชื้อ
ในสถานที่ปัสสาวะของพระดาบสนั้นแล้วดื่มน้า. และด้วยเหตุเพียงเท่านี้เอง
มันมีจิตปฏิพัทธ์รักใคร่ในพระดาบส จนตั้งครรภ์ นับแต่นั้นมาก็ไม่ยอมไปไหน
เที่ยวอยู่ใกล้ๆ อาศรมนั่นเอง. พระมหาสัตว์กาหนดดู ก็รู้เหตุนั้นทั่วถึง.
ต่อมา แม่เนื้อคลอดบุตรเป็ นมนุษย์. พระมหาสัตว์จึงเลี้ยงทารกนั้นไว้
ด้วยความรักใคร่ว่าเป็นบุตร ตั้งชื่อให้ว่า อิสิสิงคกุมาร. ในเวลาต่อมา
6
พระมหาสัตว์จึงให้อิสิสิงคกุมารผู้รู้เดียงสาแล้วบวช
ในเวลาตนชราลง ได้พาดาบสกุมารนั้นไปสู่นารีวัน กล่าวสอนว่า ลูกรัก
ขึ้นชื่อว่าสตรีเช่นกับดอกไม้เหล่านี้ มีอยู่ในป่าหิมพานต์นี้
สตรีเหล่านั้นย่อมยังชนผู้ตกอยู่ในอานาจตน ให้ถึงความพินาศอย่างใหญ่หลวงได้
ไม่ควรที่เจ้าจะไปสู่อานาจของสตรีเหล่านั้น ดังนี้แล้ว
ครั้นในเวลาต่อมา ก็ทากาลกิริยา
เป็นผู้มีพรหมโลกเป็ นที่ไปในเบื้องหน้า. ฝ่ายอิสิสิงคดาบส
เมื่อประลองฌานกีฬาก็พักอยู่ในหิมวันตประเทศ ได้เป็ นผู้มีตบะกล้า
เป็นผู้มีอินทรีย์อันชานะแล้วอย่างยวดยิ่ง.
ครั้งนั้น พิภพของท้าวสักกเทวราชหวั่นไหว
ด้วยเดชแห่งศีลของพระดาบส ท้าวสักกเทวราชทรงใคร่ครวญดู ก็ทราบเหตุนั้น
ทรงพระดาริว่า พระดาบสนี้จะพึงยังเราให้เคลื่อนจากความเป็ นท้าวสักกะ
เราจักต้องส่งนางอัปสรคนหนึ่งให้ไปทาลายศีลของเธอ ดังนี้แล้ว
ทรงพิจารณาเทวโลกทั้งสิ้นในท่ามกลางเหล่าเทพบริจาริกาจานวนสองโกฏิครึ่งขอ
งพระองค์ มิได้ทรงเห็นใครอื่น ซึ่งสามารถที่จะทาลายศีลของพระอิสิสิงคดาบสได้
นอกจาก นางเทพอัปสร ชื่ออลัมพุสา ผู้เดียว จึงรับสั่งให้นางมาเฝ้ า
แล้วทรงบัญชาให้ทาลายศีลของพระอิสิสิงคดาบสนั้น.
เมื่อพระบรมศาสดาจะทรงทาเนื้อความนั้นให้แจ้ง จึงตรัสพระคาถาที่
๑ ความว่า
ครั้งนั้น พระอินทร์ผู้เป็ นใหญ่ผู้ทรงครอบงาวัตรอสูร
เป็นพระบิดาแห่งเทพบุตรผู้ชนะ ประทับนั่งอยู่ ณ สุธรรมเทวสภา
รับสั่งให้เรียกนางอลัมพุสาเทพกัญญามาเฝ้ า.
แล้วตรัสคาถานี้ ความว่า
ดูก่อนนางอลัมพุสาผู้เจือปนด้วยกิเลส สามารถจะเล้าโลมฤาษีได้
เทวดาชั้นดาวดึงส์พร้อมด้วยพระอินทร์ขอร้องเจ้า เจ้าจงไปหาอิสิสิงคดาบสเถิด.
ด้วยประการฉะนี้ ท้าวสักกเทวราชจึงตรัสบัญชานางอลัมพุสาว่า
เจ้าจงไป จงเข้าไปหาท่านอิสิสิงคดาบส นามาสู่อานาจของตน
แล้วทาลายศีลของเธอเสีย ดังนี้แล้ว ตรัสคาเป็นคาถานี้ว่า
ดาบสองค์นี้มีวัตร ประพฤติพรหมจรรย์ ยินดียิ่งในนิพพาน
เป็นผู้เจริญ อย่าเพิ่งล่วงเลยพวกเราไปก่อนเลย เจ้าจงห้ามมรรคของเธอเสีย.
นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาความว่า
ข้าแต่พระเทวราช พระองค์ทรงทาอะไร
ทรงมุ่งหมายแต่หม่อมฉันเท่านั้น รับสั่งว่า แนะเจ้าผู้อาจจะเล้าโลมฤาษีได้
เจ้าจงไปเถิด ดังนี้ นางเทพอัปสรแม้อื่นๆ มีอยู่.
7
นางเทพอัปสรผู้ทัดเทียมหม่อมฉัน หรือประเสริฐกว่าหม่อมฉัน
ก็มีอยู่ในนันทนวัน อันหาความเศร้าโศกมิได้
วาระคือการไปจงมีแก่นางเทพอัปสรเหล่านั้น แม้นางเทพอัปสรเหล่านั้น
จงไปประเล้าประโลมเถิด.
ลาดับนั้น ท้าวสักกเทวราชได้กล่าวคาถา ๓ คาถาความว่า
เจ้าพูดจริงโดยแท้แล นางเทพอัปสรอื่นๆ ที่ทัดเทียมกับเจ้า
แลยิ่งกว่าเจ้า มีอยู่ในนันทนวันอันหาความโศกมิได้.
ดูก่อนนางผู้มีอวัยวะงามทุกส่วน ก็แต่ว่า
นางเทพอัปสรเหล่านั้นไปถึงชายเข้าแล้ว ย่อมไม่รู้จักการบาเรออย่างที่เจ้ารู้.
ดูก่อนโฉมงาม เจ้านั่นแหละจงไป เพราะว่า
เจ้าเป็นผู้ประเสริฐกว่าหญิงทั้งหลาย เจ้าจักนาดาบสนั้นมาสู่อานาจได้
ด้วยผิวพรรณและรูปร่างของเจ้าเอง.
นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้สดับดังนั้น ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาความว่า
หม่อมฉันอันท้าวเทวราชทรงใช้ จักไม่ไปหาได้ไม่
แต่หม่อมฉันกลัวที่จะเบียดเบียนพระดาบสนั้น เพราะท่านเป็นพราหมณ์
มีเดชฟุ้ งเฟื่อง.
ชนทั้งหลายมิใช่น้อย เบียดเบียนพระฤาษีแล้ว ต้องตกนรก
ถึงสังสารวัฏเพราะความหลง เพราะเหตุนั้น หม่อมฉันจึงต้องขนลุกขนพอง.
นางอลัมพุสาเทพกัญญาทูลว่า เมื่อหม่อมฉันคิดว่า
เราจักต้องทาลายศีลของพระดาบสดังนี้ โลมชาติก็ชูชัน.
พระบรมศาสดาตรัสอภิสัมพุทธคาถาเหล่านี้ ความว่า
นางอลัมพุสาเทพอัปสร ผู้มีวรรณะน่ารักใคร่ ผู้เจือปนด้วยกิเลส
ปรารถนาจะยังอิสิสิงคดาบสให้ผสม ครั้นกราบทูลอย่างนี้แล้ว ก็หลีกไป.
ก็นางอลัมพุสาเทพอัปสรนั้น เข้าไปยังป่าที่อิสิสิงคดาบสรักษา
อันดาดาษไปด้วยเถาตาลึงโดยรอบประมาณกึ่งโยชน์.
นางได้เข้าไปหาอิสิสิงคดาบส ผู้กาลังปัดกวาดโรงไฟ
ใกล้เวลาอาทิตย์อุทัย ก่อนเวลาอาหารเช้า.
นางอลัมพุสาเทพอัปสรนั้นเข้าไปหาอิสิสิงคดาบสนั้น
ซึ่งประกอบความเพียรในกลางคืนแล้ว สรงน้าแต่เช้าตรู่ ทาอุทกกิจเสร็จแล้ว
ยับยั้งอยู่ด้วยฌานสุขในบรรณศาลาหน่อยหนึ่ง จึงออกมากวาดโรงไฟอยู่
นางยืนแสดงความงามของหญิงอยู่ข้างหน้าของพระอิสิสิงคดาบสนั้น.
ลาดับนั้น พระดาบส เมื่อจะถามนาง จึงกล่าวว่า
เธอเป็นใครหนอ มีรัศมีเหมือนสายฟ้ า หรืองามดังดาวประกายพรึก
มีเครื่องประดับแขนงามวิจิตร ล้วนแก้วมุกดา แก้วมณี และกุณฑล.
ประหนึ่งแสงอาทิตย์ มีกลิ่นจุรณจันทน์ ผิวพรรณดุจทองคา ลาขางามดี
8
มีมารยาทมากมาย กาลังแรกรุ่นสะคราญโฉม น่าดูน่าชม.
เท้าของเธอไม่เว้ากลาง อ่อนละมุน แสนสะอาด ตั้งลงด้วยดี
การเยื้องกายของเธอน่ารักใคร่ ทาใจของเราให้วาบหวามได้ทีเดียว.
อนึ่ง ลาขาของเธอเรียวงาม เปรียบเสมอด้วยงวงช้าง โดยลาดับ
ตะโพกของเธอผึ่งผาย เกลี้ยงเกลา ดังแผ่นทองคา.
นาภีของเธอตั้งลงเป็ นอย่างดี เหมือนฝักดอกอุบล ย่อมปรากฏแต่ที่ไกล
คล้ายเกสรดอกอัญชันเขียว.
ถันทั้งคู่เกิดที่ทรวงอก หาขั้วมิได้ ทรงไว้ซึ่งขีรรส ไม่หดเหี่ยว
เต่งตึงทั้งสองข้าง เสมอด้วยน้าเต้าครึ่งซีก.
คอของเธอประดุจเนื้อทราย บางคล้ายหน้าสุวรรณเภรี
มีริมฝีปากเรียบงดงาม เป็นที่ตั้งแห่งมนะที่ ๔ คือ ชิวหา.
ฟันของเธอทั้งข้างบน ข้างล่าง ขัดสีแล้วด้วยไม้ชาระฟัน
เกิดสองคราวเป็ นของหาโทษมิได้ ดูงามดี.
นัยน์ตาทั้งสองข้างของเธอดาขลับ มีสีแดงเป็ นที่สุด สีดังเม็ดมะกล่า
ทั้งยาวทั้งกว้าง ดูงามนัก.
ผมที่งอกบนศีรษะ ของเธอไม่ยาวนักเกลี้ยงเกลาดี หวีด้วยหวีทองคา
มีกลิ่นหอมฟุ้ งด้วยกลิ่นจันทน์.
กสิกรรม โครักขกรรม การค้าของพ่อค้า
และความบากบั่นของฤาษีทั้งหลาย ผู้สารวมดีด้วยตบะ มีประมาณเท่าใด
เราไม่เห็นบุคคลมีประมาณเท่านั้น ในปฐพีมณฑลนี้ จะเสมอเหมือนกับเธอ
เธอเป็นใคร หรือเป็นบุตรของใคร เราจะรู้จักเธอได้อย่างไร?
เมื่อพระดาบสกล่าวชมตน ตั้งแต่เท้าจนถึงผมอย่างนี้
นางอลัมพุสาเทพกัญญานั้นก็นิ่งเสีย
เมื่อสืบอนุสนธิตามลาดับของคานั้นแล้ว นางอลัมพุสาเทพกัญญาก็รู้ว่า
พระดาบสนั้นเป็นผู้หลงใหล จึงกล่าวคาถาความว่า
ดูก่อนท่านกัสสปะผู้เจริญ เมื่อจิตของท่านเป็ นอย่างนี้แล้ว
ก็ไม่ใช่กาลที่จะเป็นปัญหา มาเถิดท่านที่รัก
เราทั้งสองจักรื่นรมย์กันในอาสนะของเรา มาเถิดท่าน ฉันจักเคล้าคลึงท่าน
ท่านจงเป็ นผู้ฉลาดในกระบวนความยินดีด้วยกามคุณ.
นางอลัมพุสาเทพกัญญากล่าวอย่างนี้แล้ว คิดว่า เมื่อเรายืนเฉยอยู่
พระดาบสนี้ก็จักไม่ยอมเข้าอ้อมแขนเรา เราจักเดิน ทาท่าทีเหมือนจะไปเสีย
นางจึงเข้าไปหาพระดาบส เพราะตนเป็ นผู้ฉลาดในมารยาหญิง
จึงเดินบ่ายหน้าไปตามทางที่มาแล้ว.
เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น พระบรมศาสดาจึงตรัสว่า
นางอลัมพุสาเทพอัปสร ผู้มีผิวพรรณน่ารักใคร่ ผู้เจือปนด้วยกิเลส
9
ปรารถนาจะให้อิสิสิงคดาบสผสม ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ก็หลีกไป.
ลาดับนั้น พระดาบสเห็นนางกาลังเดินไป คิดว่า นางจะไปเสีย
จึงสลัดความเฉื่อยชา ล่าช้าของตนเสียแล้ว วิ่งไปโดยเร็ว เอามือลูบคลาที่เรือนผม.
เมื่อพระบรมศาสดาจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาความว่า
ส่วนอิสิสิงคดาบสนั้น รีบเดินออกไปโดยเร็ว
สลัดตัดความเฉื่อยชาล่าช้าเสีย ไปทันเข้า ก็จับที่มวยผมอันอุดมของนางไว้.
นางเทพอัปสรผู้สะคราญโฉม ก็หมุนตัวกลับมาสวมกอดพระดาบสไว้
อิสิสิงคดาบสก็เคลื่อนจากพรหมจรรย์ ตามที่ท้าวสักกเทวราชทรงปรารถนา
ภายหลังนางเทพอัปสร ก็มีใจยินดี.
ราลึกถึงพระอินทร์ ผู้ประทับอยู่ในนันทนวัน
ท้าวมฆวานเทพกุญชรทรงทราบความดาริของนางแล้ว จึงทรงส่งบัลลังก์ทอง
พร้อมทั้งเครื่องบริวารมาโดยพลัน.
ทั้งผ้าปิดทรวง ๕๐ ผืน เครื่องลาด ๑,๐๐๐ ผืน นางอลัมพุสาเทพอัปสร
กอดพระดาบสแนบทรวงอก บนบัลลังก์นั้น.
นางโอบกอดไว้ถึง ๓ ปี ดูเหมือนครู่เดียวเท่านั้น
พราหมณ์ดาบสสร่างเมาแล้วรู้สึกตัวได้ โดยล่วงไป ๓ ปี.
ได้เห็นหมู่ไม้เขียวชอุ่มโดยรอบเรือนไฟ ผลัดใบใหม่ดอกบาน
อึงคะนึงด้วยเสียงแห่งนกดุเหว่า.
เธอตรวจตราดูโดยรอบแล้ว ร้องไห้น้าตาไหลริน ปริเทวนาการว่า
เรามิได้บูชาไฟ มิได้ร่ายมนต์ อะไรบันดาลให้การบูชาไฟต้องเสื่อมลง.
ผู้ใดใครหนอ มาประเล้าประโลมจิตของเราด้วยการบาเรอในก่อน
ยังฌานอันเกิดพร้อมกับเดชของเรา ผู้อยู่ในป่าให้พินาศ
ดุจบุคคลยึดเรืออันเต็มด้วยรัตนะต่างๆ ในห้วงอรรณพ ฉะนั้น.
ลาดับนั้น นางเทพกัญญาผู้อันท้าวสักกเทวราชทรงส่งมานั้น
รู้ว่าความปรารถนาของท้าวสักกเทวราชสาเร็จแล้ว ก็เกิดปีติปราโมทย์
ด้วยการยังพรหมจรรย์ของพระดาบสนั้นให้พินาศ.
อิสิสิงคดาบสปริเทวนาการว่า ผู้ใดยึด
คือยังฌานคุณอันเป็ นเองโดยเดชแห่งสมณะของเราให้พินาศ
ดุจยังเรือในห้วงมหรรณพ อันเต็มไปด้วยรัตนะต่างๆ ให้พินาศฉะนั้น
ผู้นั้นคือใครกันเล่า?
อลัมพุสาเทพกัญญาได้ยินดังนั้น ก็คิดว่า ถ้าเราไม่บอก
ดาบสนี้จักสาบแช่งเรา เอาเถอะเราจักบอกให้ท่านทราบ
จึงยืนปรากฏกายกล่าวคาถาความว่า
ดิฉันอันท้าวเทวราช ทรงใช้มาเพื่อบาเรอท่าน
จึงได้ครอบงาจิตของท่านด้วยจิตของดิฉัน ท่านไม่รู้สึกตัว เพราะประมาท.
10
พระอิสิสิงคดาบสได้ฟังถ้อยคาของนางแล้ว ระลึกถึงโอวาทที่บิดาให้ไว้
ก็ปริเทวนาการว่า เพราะเรามิได้ทาตามคาบิดา จึงถึงความพินาศอย่างใหญ่หลวง
ดังนี้แล้ว ได้กล่าวคาถา ๔ คาถาความว่า
เดิมที ท่านกัสสปะผู้บิดาได้พร่าสอนเรา ถึงสิ่งเหล่านี้ว่า ดูก่อนมาณพ
สตรีอันเสมอด้วยนารีผลมีอยู่ เจ้าจงรู้จักสตรีเหล่านั้น.
บิดาเราเหมือนเอื้อเอ็นดูเรา พร่าสอนคานี้ว่า มาณพเอ๋ย
เจ้าจงรู้จักนารีผลผู้มีเขาที่อก เจ้าจงรู้จักสตรีเหล่านี้.
เรามิได้ทาตามคาสอนของบิดาผู้รู้นั้น วันนี้เราซบเซาอยู่แต่ผู้เดียว
ในป่าอันหามนุษย์มิได้.
เราจักทาอย่างที่เราเป็นผู้เช่นเดิมอีก หรือจักตายเสีย
ประโยชน์อะไรด้วยชีวิตของเราที่น่าติเตียน.
ท่านอิสิสิงคดาบสนั้นละกามราคะแล้ว ยังฌานให้เกิดได้อีก.
ลาดับนั้น
นางอลัมพุสาเทพกัญญาเห็นเดชแห่งสมณะของพระดาบสนั้นด้วย
และรู้ว่าท่านบาเพ็ญฌานให้เกิดได้แล้วด้วย ก็ตกใจกลัว จึงขอให้ท่านอดโทษตน.
พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น ได้ตรัสพระคาถา ๒
คาถาความว่า
นางอลัมพุสาเทพกัญญา รู้จักเดช
ความเพียรและปัญญาอันมั่นคงของพระอิสิงคดาบสนั้นแล้ว
ก็ซบศีรษะลงที่เท้าของพระอิสิสิงคดาบส กล่าวว่า
ข้าแต่ท่านมหาวีระ ขอท่านอย่าได้โกรธดิฉันเลย
ข้าแต่ท่านผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ขอท่านอย่าได้โกรธดิฉันเลย
ดิฉันได้บาเพ็ญประโยชน์อันใหญ่แล้ว เพื่อเทวดาชั้นไตรทศผู้มียศ เพราะว่า
เทพบุรีทั้งหมดอันท่านได้ทาให้หวั่นไหวแล้ว ในคราวนั้น.
ลาดับนั้น พระอิสิสิงคดาบสตอบว่า ดูก่อนนางผู้เจริญ
เราอดโทษให้เธอ เธอจงไปตามสบายเถิด. เมื่อจะปล่อยนางไป จึงกล่าวคาถา
ความว่า
ดูก่อนนางผู้เจริญ ขอทวยเทพชั้นดาวดึงส์
ท้าววาสวะจอมไตรทศและเธอ จงมีความสุขเถิด ดูก่อนนางเทพกัญญา
เชิญเธอไปตามสบายเถิด.
นางอลัมพุสาเทพกัญญาไหว้พระดาบสแล้ว
กลับไปสู่เทพบุรีพร้อมด้วยบัลลังก์ทองนั้นแหละ
พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น ได้ตรัสพระคาถา ๓
คาถา ความว่า
นางอลัมพุสาเทพกัญญาซบศีรษะลงแทบเท้าแห่งอิสิสิงคดาบส
11
และทาประทักษิณแล้ว ประคองอัญชลีหลีกออกไปจากที่นั้น.
นางขึ้นสู่บัลลังก์ทอง พร้อมด้วยเครื่องบริวาร เครื่องปิดทรวง ๕๐ ผืน
และเครื่องลาด ๑,๐๐๐ ผืน แล้วกลับไปในสานักแห่งเทวดาทั้งหลาย.
ท้าวสักกะจอมเทพทรงปีติโสมนัส ปลาบปลื้มพระทัย
ได้พระราชทานพรกะนางเทพกัญญานั้น ซึ่งกาลังมาอยู่
ราวกะว่าดวงประทีปอันรุ่งเรือง ราวกะสายฟ้ าแลบ ฉะนั้น.
ท้าวสักกเทวราชทรงยินดี
ได้ประทานพรให้แก่นางอลัมพุสาเทพกัญญาผู้มาถวายบังคม แล้วยืนอยู่.
นางอลัมพุสาเทพกัญญา เมื่อจะรับพรในสานักของท้าวสักกเทวราช
จึงกล่าวคาถาสุดท้าย ความว่า
ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็ นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง
ถ้าพระองค์จะทรงประทานพรแก่หม่อมฉันไซร้
ขออย่าให้หม่อมฉันต้องไปเล้าโลมพระฤาษีอีกเลย ข้าแต่ท้าวสักกะ
หม่อมฉันขอพรข้อนี้.
คาถานั้นมีอรรถาธิบายดังนี้ ข้าแต่ท้าวสักกเทวราช
ถ้าพระองค์จะทรงประทานพรแก่หม่อมฉันแล้ว หม่อมฉันขอพรข้อนี้
คืออย่าให้หม่อมฉันต้องไปเล้าโลมพระฤาษีอีก คือพระองค์อย่าทรงใช้หม่อมฉัน
เพื่อประโยชน์ข้อนี้.
พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแก่ภิกษุนั้นแล้ว ทรงปร
ะกาศอริยสัจจธรรม แล้วทรงประชุมชาดก ในที่สุดแห่งอริยสัจจกถา
ภิกษุนั้นดารงอยู่ในโสดาปัตติผล.
(แล้วทรงประชุมชาดกว่า)
นางอลัมพุสาในครั้งนั้น ได้มาเป็น นางปุราณทุติยิกา
อิสิสิงคดาบสได้มาเป็น ภิกษุผู้กระสัน
ส่วนมหาฤาษีผู้บิดาได้มาเป็น เราผู้ตถาคต ฉะนี้แล.
อรรถกถาอลัมพุสาชาดกที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
maruay songtanin
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
maruay songtanin
 
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
maruay songtanin
 
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
416 ปรันตปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
 
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
492 ตัจฉสูกรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf๐๙. วิธุรชาดก.pdf
๐๙. วิธุรชาดก.pdf
 
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
(๑๓) สีวลีเถราปทาน มจร.pdf
 
-------------- --- 4
 -------------- --- 4 -------------- --- 4
-------------- --- 4
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
337 ปีฐชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๓. อลัมพุสาชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๒๓) ว่าด้วยเทพธิดาอลัมพุสา (พระศาสดาเมื่อจะทรงทาเนื้อความนั้นให้แจ่มแจ้ง จึงตรัสว่า) [๙๕] ครั้งนั้น พระอินทร์ผู้เป็ นใหญ่ทรงปราบปรามวัตรอสูร ซึ่งเป็ นพระบิดาแห่งเหล่าเทพบุตรผู้มีชัย ทรงเล็งเห็นอลัมพุสาเทพกัญญาว่ามีความสามารถ ณ สุธรรมาเทวสถานแล้วจึงมีเทวโองการว่า [๙๖] แม่นางมิสสาเทพกัญญา เทวดาชั้นดาวดึงส์ พร้อมทั้งพระอินทร์ขอร้องแม่นาง แม่นางอลัมพุสาผู้สามารถจะประเล้าประโลมฤๅษีได้ แม่นางจงไปหาอิสิสิงคดาบสเถิด (ท้าวสักกะทรงพระบัญชานางอลัมพุสาแล้วตรัสว่า) [๙๗] ดาบสองค์นี้เป็ นผู้มีวัตร ประพฤติพรหมจรรย์ ยินดียิ่งในนิพพาน เป็นผู้เจริญด้วยคุณธรรม อย่าล่วงเลยพวกเราไปก่อนเลย เธอจงกั้นทางที่จะไปสู่เทวโลกของท่านไว้ (นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้ฟังพระราชดารัสดังนั้น จึงตรัสว่า) [๙๘] ขอเดชะพระเทวราช พระองค์ทรงทาอะไรอยู่ พระองค์จึงทรงเห็นแต่หม่อมฉันเท่านั้นว่า แม่นางผู้สามารถจะประเล้าประโลมฤๅษีได้ เธอจงไป นางเทพอัปสรแม้อื่นก็มีอยู่ [๙๙] นางเทพอัปสรผู้ทัดเทียมกับหม่อมฉัน และประเสริฐกว่าหม่อมฉัน ในอโศกนันทวันก็มีอยู่ ขอวาระแห่งการไปจงมีแก่นางเทพอัปสรเหล่านั้นเถิด แม้นางเทพอัปสรเหล่านั้นก็จงไปประเล้าประโลมเถิด (ท้าวสักกเทวราชได้ตรัสว่า) [๑๐๐] เธอพูดถูกต้องอย่างแท้จริง ถึงนางเทพอัปสรเหล่าอื่นที่ทัดเทียมกับเธอ และประเสริฐกว่าเธอในอโศกนันทวันก็มีอยู่ [๑๐๑] แม่นางผู้มีความงามทั่วสรรพางค์กาย แต่นางเทพอัปสรเหล่านั้นไปแล้ว ไม่รู้จักการบาเรอชายอย่างที่เธอรู้ [๑๐๒] เชิญไปเถิด แม่นางผู้มีความงาม เพราะเธอประเสริฐกว่าหญิงทั้งหลาย เธอจักใช้รูปร่างผิวพรรณของเธอ นาดาบสมาสู่อานาจได้ (พระนางอลัมพุสาได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงกราบทูลว่า)
  • 2. 2 [๑๐๓] หม่อมฉันถูกพระเทวราชทรงใช้จะไม่ทาก็ไม่ได้ แต่หม่อมฉันหวั่นเกรงการที่จะประเล้าประโลมให้ดาบสนั้นยินดี เพราะท่านเป็นพราหมณ์ มีเดชสูงส่ง [๑๐๔] ชนทั้งหลายประเล้าประโลมฤๅษีให้ยินดีแล้วตกนรก ถึงสังสารวัฏเพราะความงมงายมีจานวนมิใช่น้อย เพราะเหตุนั้น หม่อมฉันจึงขนพองสยองเกล้า (พระศาสดาตรัสว่า) [๑๐๕] อลัมพุสา มิสสาเทพอัปสร ผู้มีวรรณะน่าใคร่ ปรารถนาเพื่อจะให้อิสิสิงคดาบสคลุกเคล้าระคนด้วยกิเลส ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้วก็หลีกไป [๑๐๖] ก็อลัมพุสาเทพอัปสรนั้นได้ลงสู่ป่าที่อิสิสิงคดาบสรักษา ซึ่งดารดาษด้วยเถาตาลึงสุกมีประมาณกึ่งโยชน์โดยรอบนั้น [๑๐๗] นางเข้าไปหาอิสิสิงคดาบสผู้กาลังปัดกวาดโรงไฟแต่เช้าตรู่ ก่อนเวลาอาหารเช้า ใกล้เวลาอาทิตย์อุทัย (ลาดับนั้น ดาบสถามนางว่า) [๑๐๘] เธอเป็นใครหนอ รัศมีช่างงามผ่องใสดังสายฟ้ า ประดุจดาวประกายพรึก ประดับกาไลมืออันวิจิตร สวมใส่ต่างหูแก้วมณี [๑๐๙] มีประกายดุจแสงอาทิตย์ ร่างกายมีกลิ่นหอมด้วยจันทน์เหลือง ลาขากลมกลึงสวยงาม มีมายามากมาย กาลังสาวแรกรุ่น น่าทัศนาเชยชม [๑๑๐] เท้าทั้ง ๒ ของเธออ่อนละมุน สะอาดหมดจด ไม่แหว่งเว้า ตั้งลงเรียบเสมอด้วยดี ทุกย่างก้าวของเธอน่ารักใคร่ ดึงใจอาตมาให้วาบหวาม [๑๑๑] อนึ่ง ลาขาของเธอเป็ นปล้องๆ เหมือนกับงวงช้าง สะโพกของเธอเกลี้ยงเกลากลมกลึงผึ่งผายสวยงาม เหมือนแผ่นกระดานสะกา [๑๑๒] นาภีของเธอตั้งอยู่เรียบร้อยดีเหมือนฝักดอกอุบล ปรากฏได้แต่ไกลเหมือนเกษรดอกอัญชันเขียว [๑๑๓] ถันเกิดที่ทรวงอกทั้งคู่หาขั้วมิได้ เต่งเต้าสวยงามทรงเกษียรรสไว้ ไม่หย่อนยาน เสมอเหมือนกับผลน้าเต้าครึ่งผล [๑๑๔] ลาคอของเธอยาวประดุจลาคอนางเนื้อทราย เปล่งปลั่งดั่งพื้นแผ่นทองคา ริมฝีปากของเธองามเปล่งปลั่งดั่งลิ้นหัวใจห้องที่ ๔ [๑๑๕] ฟันของเธอทั้งข้างบนข้างล่าง ขัดสีได้อย่างเลิศด้วยไม้ชาระฟัน เกิดขึ้น ๒ คราว เป็นฟันที่ปราศจากโทษ ดูสวยงาม [๑๑๖] ดวงเนตรทั้ง ๒ ของเธอดาขลับ ตามขอบดวงตาเป็นสีแดง เปล่งปลั่งดั่งเมล็ดมะกล่า ทั้งยาวทั้งกว้าง ดูสวยงาม [๑๑๗] เส้นผมที่งอกขึ้นที่ศีรษะของเธอไม่ยาวเกินไป เกลี้ยงเกลาดี ตกแต่งด้วยหวีทองคา มีกลิ่นหอมเหมือนกลิ่นจันทน์
  • 3. 3 [๑๑๘] ชาวนาชาวไร่ คนเลี้ยงโค พ่อค้ามีความสาเร็จ และฤๅษีผู้มีความสารวม บาเพ็ญตบะ มีความบากบั่น มีประมาณเท่าใด [๑๑๙] ชนมีประมาณเท่านั้นในปฐพีมณฑลนี้ แม้คนหนึ่งที่เสมอเหมือนเธอ อาตมายังไม่เห็น เธอเป็นใคร เป็นลูกของใครหรือ อาตมาจะรู้จักเธอได้อย่างไร (นางอลัมพุสาเทพกัญญารู้ว่าอิสิสิงคดาบสนั้นหลงใหลแล้ว จึงกล่าวว่า) [๑๒๐] ท่านกัสสปะผู้เจริญ เมื่อจิตของท่านเป็ นไปอย่างนี้แล้ว ก็ไม่ใช่กาลที่จะเป็นปัญหา มาเถิด สหาย เราทั้ง ๒ จักอภิรมย์กันในอาศรมของเรา มาเถิด ดิฉันจักคลุกเคล้าท่าน ขอท่านเป็นผู้ฉลาดในความยินดีในเบญจกามคุณเถิด (พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศความข้อนั้นจึงตรัสว่า) [๑๒๑] อลัมพุสา มิสสาเทพอัปสร ผู้มีวรรณะน่าใคร่ ปรารถนาเพื่อจะให้อิสิสิงคดาบสคลุกเคล้าระคนด้วยกิเลส ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้วก็หลีกไป [๑๒๒] ก็ดาบสนั้นตัดความเฉื่อยชาเสียแล้ว รีบออกไปโดยเร็ว ประชิดตัวนาง ลูบเรือนผมบนศีรษะ [๑๒๓] เทพอัปสรกัลยาณีผู้มีความสวยสดงดงาม หันกลับมาสวมกอดดาบสนั้น นางมีความยินดีที่ดาบสเคลื่อนจากพรหมจรรย์นั้น ตามที่ท้าวสักกะปรารถนา [๑๒๔] นางได้มีใจราลึกถึงพระอินทร์ซึ่งประทับอยู่ในนันทวัน ท้าวมัฆวานเทพกุญชรทรงทราบความดาริของนางแล้ว [๑๒๕] ทรงส่งบัลลังก์ทอง พร้อมทั้งเครื่องบริวาร พร้อมทั้งทับทรวง ๕๐ อัน และเครื่องปูลาด ๑,๐๐๐ ผืน ไปโดยเร็วพลัน [๑๒๖] แม่โฉมงามโอบอุ้มดาบสนั้นไว้แนบทรวงอก กกกอดอยู่ตลอด ๓ ปีบนบัลลังก์นั้น เป็นเหมือนเพียงครู่เดียวเท่านั้น [๑๒๗] โดยล่วงไป ๓ ปี ดาบสพราหมณ์จึงสร่างเมา รู้สึกตัว ได้เห็นต้นไม้เขียวชะอุ่มขึ้นอยู่โดยรอบเรือนไฟ [๑๒๘] ป่าไม้ผลัดใบใหม่ ออกดอกบานสะพรั่ง กึกก้องไปด้วยฝูงนกดุเหว่า ครั้นท่านเหลียวมองดูโดยรอบ ก็หลั่งน้าตาร้องไห้ราพันว่า [๑๒๙] เรามิได้บูชาไฟ มิได้สาธยายมนต์ อะไรบันดาลการบูชาไฟให้เสื่อมสิ้นไป ใครหนอประเล้าประโลมบาเรอจิตของเราในกาลก่อน
  • 4. 4 [๑๓๐] เมื่อเราอยู่ป่า ผู้ใดหนอมายึดเอาฌานคุณ ที่เกิดมีพร้อมกับเดชของเราไป ประดุจยึดเอานาวาที่เต็มเปี่ยมด้วยรัตนะนานาชนิดในท้องทะเลหลวง (นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้ฟังดังนั้น จึงปรากฏกายยืนอยู่กล่าวว่า) [๑๓๑] ดิฉันถูกท้าวเทวราชทรงใช้มาเพื่อบาเรอท่าน ได้ใช้จิตฆ่าจิตท่าน เพราะความประมาท ท่านจึงไม่รู้สึกตัว (อิสิสิงคดาบสได้ฟังนางอลัมพุสาเทพกัญญาแล้ว ระลึกถึงโอวาทที่บิดาให้ไว้ คร่าครวญอยู่ได้กล่าวว่า) [๑๓๒] เดิมที พ่อกัสสปะพร่าสอนถ้อยคาเหล่านี้กับเราว่า พ่อมาณพ หญิงเปรียบได้กับดอกนารีผล เจ้าจงรู้จักหญิงเหล่านั้น [๑๓๓] พ่อกัสสปะดูเหมือนจะเอื้อเอ็นดูเรา จึงพร่าสอนเราอย่างนี้ว่า มาณพ เจ้าจงรู้จักหญิงผู้มีฝีที่อก เจ้าจงรู้จักหญิงเหล่านั้น [๑๓๔] เรามิได้ทาตามคาสอนของบิดาผู้เจริญนั้น วันนี้เรานั้นจึงซบเซาอยู่แต่ผู้เดียวในป่าที่หามนุษย์มิได้ [๑๓๕] น่าติเตียนจริงหนอ ชีวิตของเรา เราจักทาอย่างที่เราเคยเป็นเช่นนั้น หรือมิฉะนั้นเราก็จักตายเสีย (พระศาสดาตรัสว่า) [๑๓๖] อลัมพุสาเทพกัญญา ครั้นทราบเดช ความเพียร และปัญญาของดาบสนั้น ดารงมั่นคงแล้ว จึงจับเท้าทั้งสองของดาบสทูนไว้ที่ศีรษะ ละล่าละลักกล่าวกับอิสิสิงคดาบสว่า [๑๓๗] อย่าโกรธดิฉันเลย ท่านมหาวีระ อย่าโกรธดิฉันเลย ท่านมหาฤๅษี ดิฉันบาเพ็ญประโยชน์อันใหญ่หลวงเพื่อเทพชั้นไตรทศผู้มียศ เพราะเทพบุรีทั้งหมดถูกพระคุณเจ้าทาให้หวั่นไหวในคราวนั้น (อิสิสิงคดาบสกล่าวคาถาว่า) [๑๓๘] แม่นางผู้เจริญ ขอทวยเทพชั้นดาวดึงส์ ท้าววาสวะแห่งเทพชั้นไตรทศ และเธอจงเป็นสุขๆ เถิด เชิญเธอไปตามสบายเถิด แม่เทพกัญญา (พระศาสดาตรัสว่า) [๑๓๙] อลัมพุสาเทพกัญญา ครั้นจับเท้าทั้ง ๒ ของดาบสแล้ว จึงประคองอัญชลี กระทาประทักษิณดาบสนั้น แล้วได้หลีกไปจากที่นั้น [๑๔๐] นางเทพกัญญาขึ้นสู่บัลลังก์ทอง พร้อมทั้งเครื่องบริวาร พร้อมทั้งทับทรวง ๕๐ และเครื่องปูลาด ๑,๐๐๐ ผืน อันเป็นของนางนั่นเอง ได้กลับไปในสานักเทพทั้งหลาย
  • 5. 5 [๑๔๑] ท้าวสักกะจอมเทพทรงมีปีติและโสมนัส ปลาบปลื้มหฤทัย ได้พระราชทานพรกับนางเทพกัญญานั้นซึ่งกาลังมา ราวกับประทีปอันรุ่งเรือง ดุจสายฟ้ าแลบ (นางอลัมพุสากราบทูลว่า) [๑๔๒] ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง หากพระองค์ทรงประทานพรแก่หม่อมฉันไซร้ ขอหม่อมฉันอย่าต้องไปประเล้าประโลมฤๅษีอีกเลย ข้าแต่ท้าวสักกะ หม่อมฉันขอพรข้อนี้ ดังนี้แล อลัมพุสาชาดกที่ ๓ จบ ----------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา อลัมพุสาชาดก ว่าด้วย อิสิสิงคดาบสถูกทาลายตบะ พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภการประเล้าประโลมของนางปุราณทุติยิกา ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. เรื่องในปัจจุบัน ข้าพเจ้ากล่าวไว้อย่างพิสดารใน อินทริยชาดก แล้วแล. ก็พระศาสดาตรัสถามภิกษุนั้นว่า ดูก่อนภิกษุ ข่าวว่าเธอเป็นผู้กระสัน อยากสึกจริงหรือ? เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลรับเป็นคาสัตย์แล้ว ตรัสถามว่า ใครทาให้เธอกระสัน เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า นางปุราณทุติยิกา จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ หญิงนี้ก่อความฉิบหายแก่เธอ เธออาศัยหญิงนี้ ยังฌานให้พินาศ เป็นผู้หลงใหล สลบนอนอยู่สิ้น ๓ ปี ต่อเมื่อเกิดสานึกได้ จึงปริเวทนาอย่างใหญ่หลวง แล้วทรงนาอดีตนิทานมาแสดงดังต่อไปนี้ ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ณ กาสิกรัฐ เจริญวัยแล้ว ถึงความสาเร็จในสรรพศิลปศาสตร์ แล้วบวชเป็นฤาษี มีมูลผลาผลในป่าเป็ นอาหาร ยังอัตภาพให้เป็นไปในป่ากว้าง. ครั้งนั้น แม่เนื้อตัวหนึ่งเคี้ยวกินหญ้าอันเจือด้วยน้าเชื้อ ในสถานที่ปัสสาวะของพระดาบสนั้นแล้วดื่มน้า. และด้วยเหตุเพียงเท่านี้เอง มันมีจิตปฏิพัทธ์รักใคร่ในพระดาบส จนตั้งครรภ์ นับแต่นั้นมาก็ไม่ยอมไปไหน เที่ยวอยู่ใกล้ๆ อาศรมนั่นเอง. พระมหาสัตว์กาหนดดู ก็รู้เหตุนั้นทั่วถึง. ต่อมา แม่เนื้อคลอดบุตรเป็ นมนุษย์. พระมหาสัตว์จึงเลี้ยงทารกนั้นไว้ ด้วยความรักใคร่ว่าเป็นบุตร ตั้งชื่อให้ว่า อิสิสิงคกุมาร. ในเวลาต่อมา
  • 6. 6 พระมหาสัตว์จึงให้อิสิสิงคกุมารผู้รู้เดียงสาแล้วบวช ในเวลาตนชราลง ได้พาดาบสกุมารนั้นไปสู่นารีวัน กล่าวสอนว่า ลูกรัก ขึ้นชื่อว่าสตรีเช่นกับดอกไม้เหล่านี้ มีอยู่ในป่าหิมพานต์นี้ สตรีเหล่านั้นย่อมยังชนผู้ตกอยู่ในอานาจตน ให้ถึงความพินาศอย่างใหญ่หลวงได้ ไม่ควรที่เจ้าจะไปสู่อานาจของสตรีเหล่านั้น ดังนี้แล้ว ครั้นในเวลาต่อมา ก็ทากาลกิริยา เป็นผู้มีพรหมโลกเป็ นที่ไปในเบื้องหน้า. ฝ่ายอิสิสิงคดาบส เมื่อประลองฌานกีฬาก็พักอยู่ในหิมวันตประเทศ ได้เป็ นผู้มีตบะกล้า เป็นผู้มีอินทรีย์อันชานะแล้วอย่างยวดยิ่ง. ครั้งนั้น พิภพของท้าวสักกเทวราชหวั่นไหว ด้วยเดชแห่งศีลของพระดาบส ท้าวสักกเทวราชทรงใคร่ครวญดู ก็ทราบเหตุนั้น ทรงพระดาริว่า พระดาบสนี้จะพึงยังเราให้เคลื่อนจากความเป็ นท้าวสักกะ เราจักต้องส่งนางอัปสรคนหนึ่งให้ไปทาลายศีลของเธอ ดังนี้แล้ว ทรงพิจารณาเทวโลกทั้งสิ้นในท่ามกลางเหล่าเทพบริจาริกาจานวนสองโกฏิครึ่งขอ งพระองค์ มิได้ทรงเห็นใครอื่น ซึ่งสามารถที่จะทาลายศีลของพระอิสิสิงคดาบสได้ นอกจาก นางเทพอัปสร ชื่ออลัมพุสา ผู้เดียว จึงรับสั่งให้นางมาเฝ้ า แล้วทรงบัญชาให้ทาลายศีลของพระอิสิสิงคดาบสนั้น. เมื่อพระบรมศาสดาจะทรงทาเนื้อความนั้นให้แจ้ง จึงตรัสพระคาถาที่ ๑ ความว่า ครั้งนั้น พระอินทร์ผู้เป็ นใหญ่ผู้ทรงครอบงาวัตรอสูร เป็นพระบิดาแห่งเทพบุตรผู้ชนะ ประทับนั่งอยู่ ณ สุธรรมเทวสภา รับสั่งให้เรียกนางอลัมพุสาเทพกัญญามาเฝ้ า. แล้วตรัสคาถานี้ ความว่า ดูก่อนนางอลัมพุสาผู้เจือปนด้วยกิเลส สามารถจะเล้าโลมฤาษีได้ เทวดาชั้นดาวดึงส์พร้อมด้วยพระอินทร์ขอร้องเจ้า เจ้าจงไปหาอิสิสิงคดาบสเถิด. ด้วยประการฉะนี้ ท้าวสักกเทวราชจึงตรัสบัญชานางอลัมพุสาว่า เจ้าจงไป จงเข้าไปหาท่านอิสิสิงคดาบส นามาสู่อานาจของตน แล้วทาลายศีลของเธอเสีย ดังนี้แล้ว ตรัสคาเป็นคาถานี้ว่า ดาบสองค์นี้มีวัตร ประพฤติพรหมจรรย์ ยินดียิ่งในนิพพาน เป็นผู้เจริญ อย่าเพิ่งล่วงเลยพวกเราไปก่อนเลย เจ้าจงห้ามมรรคของเธอเสีย. นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาความว่า ข้าแต่พระเทวราช พระองค์ทรงทาอะไร ทรงมุ่งหมายแต่หม่อมฉันเท่านั้น รับสั่งว่า แนะเจ้าผู้อาจจะเล้าโลมฤาษีได้ เจ้าจงไปเถิด ดังนี้ นางเทพอัปสรแม้อื่นๆ มีอยู่.
  • 7. 7 นางเทพอัปสรผู้ทัดเทียมหม่อมฉัน หรือประเสริฐกว่าหม่อมฉัน ก็มีอยู่ในนันทนวัน อันหาความเศร้าโศกมิได้ วาระคือการไปจงมีแก่นางเทพอัปสรเหล่านั้น แม้นางเทพอัปสรเหล่านั้น จงไปประเล้าประโลมเถิด. ลาดับนั้น ท้าวสักกเทวราชได้กล่าวคาถา ๓ คาถาความว่า เจ้าพูดจริงโดยแท้แล นางเทพอัปสรอื่นๆ ที่ทัดเทียมกับเจ้า แลยิ่งกว่าเจ้า มีอยู่ในนันทนวันอันหาความโศกมิได้. ดูก่อนนางผู้มีอวัยวะงามทุกส่วน ก็แต่ว่า นางเทพอัปสรเหล่านั้นไปถึงชายเข้าแล้ว ย่อมไม่รู้จักการบาเรออย่างที่เจ้ารู้. ดูก่อนโฉมงาม เจ้านั่นแหละจงไป เพราะว่า เจ้าเป็นผู้ประเสริฐกว่าหญิงทั้งหลาย เจ้าจักนาดาบสนั้นมาสู่อานาจได้ ด้วยผิวพรรณและรูปร่างของเจ้าเอง. นางอลัมพุสาเทพกัญญาได้สดับดังนั้น ได้กล่าวคาถา ๒ คาถาความว่า หม่อมฉันอันท้าวเทวราชทรงใช้ จักไม่ไปหาได้ไม่ แต่หม่อมฉันกลัวที่จะเบียดเบียนพระดาบสนั้น เพราะท่านเป็นพราหมณ์ มีเดชฟุ้ งเฟื่อง. ชนทั้งหลายมิใช่น้อย เบียดเบียนพระฤาษีแล้ว ต้องตกนรก ถึงสังสารวัฏเพราะความหลง เพราะเหตุนั้น หม่อมฉันจึงต้องขนลุกขนพอง. นางอลัมพุสาเทพกัญญาทูลว่า เมื่อหม่อมฉันคิดว่า เราจักต้องทาลายศีลของพระดาบสดังนี้ โลมชาติก็ชูชัน. พระบรมศาสดาตรัสอภิสัมพุทธคาถาเหล่านี้ ความว่า นางอลัมพุสาเทพอัปสร ผู้มีวรรณะน่ารักใคร่ ผู้เจือปนด้วยกิเลส ปรารถนาจะยังอิสิสิงคดาบสให้ผสม ครั้นกราบทูลอย่างนี้แล้ว ก็หลีกไป. ก็นางอลัมพุสาเทพอัปสรนั้น เข้าไปยังป่าที่อิสิสิงคดาบสรักษา อันดาดาษไปด้วยเถาตาลึงโดยรอบประมาณกึ่งโยชน์. นางได้เข้าไปหาอิสิสิงคดาบส ผู้กาลังปัดกวาดโรงไฟ ใกล้เวลาอาทิตย์อุทัย ก่อนเวลาอาหารเช้า. นางอลัมพุสาเทพอัปสรนั้นเข้าไปหาอิสิสิงคดาบสนั้น ซึ่งประกอบความเพียรในกลางคืนแล้ว สรงน้าแต่เช้าตรู่ ทาอุทกกิจเสร็จแล้ว ยับยั้งอยู่ด้วยฌานสุขในบรรณศาลาหน่อยหนึ่ง จึงออกมากวาดโรงไฟอยู่ นางยืนแสดงความงามของหญิงอยู่ข้างหน้าของพระอิสิสิงคดาบสนั้น. ลาดับนั้น พระดาบส เมื่อจะถามนาง จึงกล่าวว่า เธอเป็นใครหนอ มีรัศมีเหมือนสายฟ้ า หรืองามดังดาวประกายพรึก มีเครื่องประดับแขนงามวิจิตร ล้วนแก้วมุกดา แก้วมณี และกุณฑล. ประหนึ่งแสงอาทิตย์ มีกลิ่นจุรณจันทน์ ผิวพรรณดุจทองคา ลาขางามดี
  • 8. 8 มีมารยาทมากมาย กาลังแรกรุ่นสะคราญโฉม น่าดูน่าชม. เท้าของเธอไม่เว้ากลาง อ่อนละมุน แสนสะอาด ตั้งลงด้วยดี การเยื้องกายของเธอน่ารักใคร่ ทาใจของเราให้วาบหวามได้ทีเดียว. อนึ่ง ลาขาของเธอเรียวงาม เปรียบเสมอด้วยงวงช้าง โดยลาดับ ตะโพกของเธอผึ่งผาย เกลี้ยงเกลา ดังแผ่นทองคา. นาภีของเธอตั้งลงเป็ นอย่างดี เหมือนฝักดอกอุบล ย่อมปรากฏแต่ที่ไกล คล้ายเกสรดอกอัญชันเขียว. ถันทั้งคู่เกิดที่ทรวงอก หาขั้วมิได้ ทรงไว้ซึ่งขีรรส ไม่หดเหี่ยว เต่งตึงทั้งสองข้าง เสมอด้วยน้าเต้าครึ่งซีก. คอของเธอประดุจเนื้อทราย บางคล้ายหน้าสุวรรณเภรี มีริมฝีปากเรียบงดงาม เป็นที่ตั้งแห่งมนะที่ ๔ คือ ชิวหา. ฟันของเธอทั้งข้างบน ข้างล่าง ขัดสีแล้วด้วยไม้ชาระฟัน เกิดสองคราวเป็ นของหาโทษมิได้ ดูงามดี. นัยน์ตาทั้งสองข้างของเธอดาขลับ มีสีแดงเป็ นที่สุด สีดังเม็ดมะกล่า ทั้งยาวทั้งกว้าง ดูงามนัก. ผมที่งอกบนศีรษะ ของเธอไม่ยาวนักเกลี้ยงเกลาดี หวีด้วยหวีทองคา มีกลิ่นหอมฟุ้ งด้วยกลิ่นจันทน์. กสิกรรม โครักขกรรม การค้าของพ่อค้า และความบากบั่นของฤาษีทั้งหลาย ผู้สารวมดีด้วยตบะ มีประมาณเท่าใด เราไม่เห็นบุคคลมีประมาณเท่านั้น ในปฐพีมณฑลนี้ จะเสมอเหมือนกับเธอ เธอเป็นใคร หรือเป็นบุตรของใคร เราจะรู้จักเธอได้อย่างไร? เมื่อพระดาบสกล่าวชมตน ตั้งแต่เท้าจนถึงผมอย่างนี้ นางอลัมพุสาเทพกัญญานั้นก็นิ่งเสีย เมื่อสืบอนุสนธิตามลาดับของคานั้นแล้ว นางอลัมพุสาเทพกัญญาก็รู้ว่า พระดาบสนั้นเป็นผู้หลงใหล จึงกล่าวคาถาความว่า ดูก่อนท่านกัสสปะผู้เจริญ เมื่อจิตของท่านเป็ นอย่างนี้แล้ว ก็ไม่ใช่กาลที่จะเป็นปัญหา มาเถิดท่านที่รัก เราทั้งสองจักรื่นรมย์กันในอาสนะของเรา มาเถิดท่าน ฉันจักเคล้าคลึงท่าน ท่านจงเป็ นผู้ฉลาดในกระบวนความยินดีด้วยกามคุณ. นางอลัมพุสาเทพกัญญากล่าวอย่างนี้แล้ว คิดว่า เมื่อเรายืนเฉยอยู่ พระดาบสนี้ก็จักไม่ยอมเข้าอ้อมแขนเรา เราจักเดิน ทาท่าทีเหมือนจะไปเสีย นางจึงเข้าไปหาพระดาบส เพราะตนเป็ นผู้ฉลาดในมารยาหญิง จึงเดินบ่ายหน้าไปตามทางที่มาแล้ว. เมื่อจะประกาศเนื้อความนั้น พระบรมศาสดาจึงตรัสว่า นางอลัมพุสาเทพอัปสร ผู้มีผิวพรรณน่ารักใคร่ ผู้เจือปนด้วยกิเลส
  • 9. 9 ปรารถนาจะให้อิสิสิงคดาบสผสม ครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว ก็หลีกไป. ลาดับนั้น พระดาบสเห็นนางกาลังเดินไป คิดว่า นางจะไปเสีย จึงสลัดความเฉื่อยชา ล่าช้าของตนเสียแล้ว วิ่งไปโดยเร็ว เอามือลูบคลาที่เรือนผม. เมื่อพระบรมศาสดาจะประกาศเนื้อความนั้น จึงตรัสพระคาถาความว่า ส่วนอิสิสิงคดาบสนั้น รีบเดินออกไปโดยเร็ว สลัดตัดความเฉื่อยชาล่าช้าเสีย ไปทันเข้า ก็จับที่มวยผมอันอุดมของนางไว้. นางเทพอัปสรผู้สะคราญโฉม ก็หมุนตัวกลับมาสวมกอดพระดาบสไว้ อิสิสิงคดาบสก็เคลื่อนจากพรหมจรรย์ ตามที่ท้าวสักกเทวราชทรงปรารถนา ภายหลังนางเทพอัปสร ก็มีใจยินดี. ราลึกถึงพระอินทร์ ผู้ประทับอยู่ในนันทนวัน ท้าวมฆวานเทพกุญชรทรงทราบความดาริของนางแล้ว จึงทรงส่งบัลลังก์ทอง พร้อมทั้งเครื่องบริวารมาโดยพลัน. ทั้งผ้าปิดทรวง ๕๐ ผืน เครื่องลาด ๑,๐๐๐ ผืน นางอลัมพุสาเทพอัปสร กอดพระดาบสแนบทรวงอก บนบัลลังก์นั้น. นางโอบกอดไว้ถึง ๓ ปี ดูเหมือนครู่เดียวเท่านั้น พราหมณ์ดาบสสร่างเมาแล้วรู้สึกตัวได้ โดยล่วงไป ๓ ปี. ได้เห็นหมู่ไม้เขียวชอุ่มโดยรอบเรือนไฟ ผลัดใบใหม่ดอกบาน อึงคะนึงด้วยเสียงแห่งนกดุเหว่า. เธอตรวจตราดูโดยรอบแล้ว ร้องไห้น้าตาไหลริน ปริเทวนาการว่า เรามิได้บูชาไฟ มิได้ร่ายมนต์ อะไรบันดาลให้การบูชาไฟต้องเสื่อมลง. ผู้ใดใครหนอ มาประเล้าประโลมจิตของเราด้วยการบาเรอในก่อน ยังฌานอันเกิดพร้อมกับเดชของเรา ผู้อยู่ในป่าให้พินาศ ดุจบุคคลยึดเรืออันเต็มด้วยรัตนะต่างๆ ในห้วงอรรณพ ฉะนั้น. ลาดับนั้น นางเทพกัญญาผู้อันท้าวสักกเทวราชทรงส่งมานั้น รู้ว่าความปรารถนาของท้าวสักกเทวราชสาเร็จแล้ว ก็เกิดปีติปราโมทย์ ด้วยการยังพรหมจรรย์ของพระดาบสนั้นให้พินาศ. อิสิสิงคดาบสปริเทวนาการว่า ผู้ใดยึด คือยังฌานคุณอันเป็ นเองโดยเดชแห่งสมณะของเราให้พินาศ ดุจยังเรือในห้วงมหรรณพ อันเต็มไปด้วยรัตนะต่างๆ ให้พินาศฉะนั้น ผู้นั้นคือใครกันเล่า? อลัมพุสาเทพกัญญาได้ยินดังนั้น ก็คิดว่า ถ้าเราไม่บอก ดาบสนี้จักสาบแช่งเรา เอาเถอะเราจักบอกให้ท่านทราบ จึงยืนปรากฏกายกล่าวคาถาความว่า ดิฉันอันท้าวเทวราช ทรงใช้มาเพื่อบาเรอท่าน จึงได้ครอบงาจิตของท่านด้วยจิตของดิฉัน ท่านไม่รู้สึกตัว เพราะประมาท.
  • 10. 10 พระอิสิสิงคดาบสได้ฟังถ้อยคาของนางแล้ว ระลึกถึงโอวาทที่บิดาให้ไว้ ก็ปริเทวนาการว่า เพราะเรามิได้ทาตามคาบิดา จึงถึงความพินาศอย่างใหญ่หลวง ดังนี้แล้ว ได้กล่าวคาถา ๔ คาถาความว่า เดิมที ท่านกัสสปะผู้บิดาได้พร่าสอนเรา ถึงสิ่งเหล่านี้ว่า ดูก่อนมาณพ สตรีอันเสมอด้วยนารีผลมีอยู่ เจ้าจงรู้จักสตรีเหล่านั้น. บิดาเราเหมือนเอื้อเอ็นดูเรา พร่าสอนคานี้ว่า มาณพเอ๋ย เจ้าจงรู้จักนารีผลผู้มีเขาที่อก เจ้าจงรู้จักสตรีเหล่านี้. เรามิได้ทาตามคาสอนของบิดาผู้รู้นั้น วันนี้เราซบเซาอยู่แต่ผู้เดียว ในป่าอันหามนุษย์มิได้. เราจักทาอย่างที่เราเป็นผู้เช่นเดิมอีก หรือจักตายเสีย ประโยชน์อะไรด้วยชีวิตของเราที่น่าติเตียน. ท่านอิสิสิงคดาบสนั้นละกามราคะแล้ว ยังฌานให้เกิดได้อีก. ลาดับนั้น นางอลัมพุสาเทพกัญญาเห็นเดชแห่งสมณะของพระดาบสนั้นด้วย และรู้ว่าท่านบาเพ็ญฌานให้เกิดได้แล้วด้วย ก็ตกใจกลัว จึงขอให้ท่านอดโทษตน. พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น ได้ตรัสพระคาถา ๒ คาถาความว่า นางอลัมพุสาเทพกัญญา รู้จักเดช ความเพียรและปัญญาอันมั่นคงของพระอิสิงคดาบสนั้นแล้ว ก็ซบศีรษะลงที่เท้าของพระอิสิสิงคดาบส กล่าวว่า ข้าแต่ท่านมหาวีระ ขอท่านอย่าได้โกรธดิฉันเลย ข้าแต่ท่านผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ ขอท่านอย่าได้โกรธดิฉันเลย ดิฉันได้บาเพ็ญประโยชน์อันใหญ่แล้ว เพื่อเทวดาชั้นไตรทศผู้มียศ เพราะว่า เทพบุรีทั้งหมดอันท่านได้ทาให้หวั่นไหวแล้ว ในคราวนั้น. ลาดับนั้น พระอิสิสิงคดาบสตอบว่า ดูก่อนนางผู้เจริญ เราอดโทษให้เธอ เธอจงไปตามสบายเถิด. เมื่อจะปล่อยนางไป จึงกล่าวคาถา ความว่า ดูก่อนนางผู้เจริญ ขอทวยเทพชั้นดาวดึงส์ ท้าววาสวะจอมไตรทศและเธอ จงมีความสุขเถิด ดูก่อนนางเทพกัญญา เชิญเธอไปตามสบายเถิด. นางอลัมพุสาเทพกัญญาไหว้พระดาบสแล้ว กลับไปสู่เทพบุรีพร้อมด้วยบัลลังก์ทองนั้นแหละ พระบรมศาสดา เมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้น ได้ตรัสพระคาถา ๓ คาถา ความว่า นางอลัมพุสาเทพกัญญาซบศีรษะลงแทบเท้าแห่งอิสิสิงคดาบส
  • 11. 11 และทาประทักษิณแล้ว ประคองอัญชลีหลีกออกไปจากที่นั้น. นางขึ้นสู่บัลลังก์ทอง พร้อมด้วยเครื่องบริวาร เครื่องปิดทรวง ๕๐ ผืน และเครื่องลาด ๑,๐๐๐ ผืน แล้วกลับไปในสานักแห่งเทวดาทั้งหลาย. ท้าวสักกะจอมเทพทรงปีติโสมนัส ปลาบปลื้มพระทัย ได้พระราชทานพรกะนางเทพกัญญานั้น ซึ่งกาลังมาอยู่ ราวกะว่าดวงประทีปอันรุ่งเรือง ราวกะสายฟ้ าแลบ ฉะนั้น. ท้าวสักกเทวราชทรงยินดี ได้ประทานพรให้แก่นางอลัมพุสาเทพกัญญาผู้มาถวายบังคม แล้วยืนอยู่. นางอลัมพุสาเทพกัญญา เมื่อจะรับพรในสานักของท้าวสักกเทวราช จึงกล่าวคาถาสุดท้าย ความว่า ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็ นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง ถ้าพระองค์จะทรงประทานพรแก่หม่อมฉันไซร้ ขออย่าให้หม่อมฉันต้องไปเล้าโลมพระฤาษีอีกเลย ข้าแต่ท้าวสักกะ หม่อมฉันขอพรข้อนี้. คาถานั้นมีอรรถาธิบายดังนี้ ข้าแต่ท้าวสักกเทวราช ถ้าพระองค์จะทรงประทานพรแก่หม่อมฉันแล้ว หม่อมฉันขอพรข้อนี้ คืออย่าให้หม่อมฉันต้องไปเล้าโลมพระฤาษีอีก คือพระองค์อย่าทรงใช้หม่อมฉัน เพื่อประโยชน์ข้อนี้. พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแก่ภิกษุนั้นแล้ว ทรงปร ะกาศอริยสัจจธรรม แล้วทรงประชุมชาดก ในที่สุดแห่งอริยสัจจกถา ภิกษุนั้นดารงอยู่ในโสดาปัตติผล. (แล้วทรงประชุมชาดกว่า) นางอลัมพุสาในครั้งนั้น ได้มาเป็น นางปุราณทุติยิกา อิสิสิงคดาบสได้มาเป็น ภิกษุผู้กระสัน ส่วนมหาฤาษีผู้บิดาได้มาเป็น เราผู้ตถาคต ฉะนี้แล. อรรถกถาอลัมพุสาชาดกที่ ๓ -----------------------------------------------------