SlideShare a Scribd company logo
1
สรภังคชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒. สรภังคชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๒๒)
ว่าด้วยสรภังคดาบสแก้ปัญหา
(อนุสิสสดาบสถือหม้อจะไปตักน้าได้พบพระราชา ๓ พระองค์
จึงทูลถามว่า)
[๕๐] ท่านทั้งหลายเป็นใครกันหนอ ประดับเครื่องอลังการ สวมใส่ต่างหู
นุ่งห่มเรียบร้อย เหน็บพระขรรค์มีด้ามประดับด้วยแก้วไพฑูรย์และแก้วมุกดา
ยืนอยู่บนรถอย่างองอาจ ในมนุษยโลกเขารู้จักพวกท่านว่าอย่างไร
(ในพระราชาทั้ง ๓ องค์ พระเจ้าอัฏฐกะตรัสกับท่านอนุสิสสดาบสว่า)
[๕๑] ข้าพเจ้าชื่ออัฏฐกะ ท่านผู้นี้คือพระเจ้าภีมรถ
ส่วนท่านผู้นี้คือพระเจ้ากาลิงคะผู้มีพระเกียรติยศระบือไปทั่ว พวกข้าพเจ้ามา ณ
ที่นี่เพื่อจะเยี่ยมฤๅษีทั้งหลาย ผู้มีความสารวมเป็นอันดี และเพื่อที่จะถามปัญหา
(อนุสิสสดาบสปฏิสันถารกับพระราชาแล้วกราบทูลท้าวสักกเทวราชผู้เสด็จมาเยี่ย
มว่า)
[๕๒] ท่านยืนอยู่กลางหาวราวกะพระจันทร์เพ็ญ
ลอยเด่นอยู่ท่ามกลางเวหาในวันขึ้น ๑๕ ค่า ท่านผู้มีคุณน่าบูชา
ข้าพเจ้าขอถามท่านผู้มีอานุภาพมากว่า ในมนุษยโลกเขารู้จักท่านว่าอย่างไร
(ท้าวสักกเทวราชสดับดังนั้นแล้วจึงตรัสว่า)
[๕๓] ท่านผู้ใดในเทวโลกเขาเรียกกันว่า สุชัมบดี
ท่านผู้นั้นในมนุษยโลกเขาเรียกกันว่า มัฆวาน
ข้าพเจ้านั้นเป็นเทพราชามาถึงที่นี้ในวันนี้
เพื่อจะเยี่ยมฤๅษีทั้งหลายผู้มีความสารวมเป็นอันดี
(ท้าวสักกเทวราชเสด็จลงแล้วเข้าไปหาหมู่ฤๅษี
ยืนประคองอัญชลีไหว้อยู่ ตรัสว่า)
[๕๔] ฤๅษีของพวกเรามีฤทธิ์มาก
ประกอบด้วยคุณคือฤทธิ์ปรากฏในที่ไกล ข้าพเจ้ามีจิตเลื่อมใส
ขอนมัสการพระคุณเจ้าผู้ประเสริฐกว่ามนุษย์ทั้งหลายในมนุษยโลกนี้
(ต่อมาอนุสิสสดาบสเห็นท้าวสักกเทวราชประทับนั่งใต้ลมของหมู่ฤๅษีจึงกราบทูลว่
า)
2
[๕๕] กลิ่นของฤๅษีผู้ที่บวชมานานย่อมออกจากกายฟุ้ งไปตามลม
ขอถวายพระพร ท้าวสหัสสนัยน์เทวราช ขอมหาบพิตรเสด็จถอยไปจากที่นี่
เพราะกลิ่นของฤๅษีทั้งหลายไม่สะอาด
(ท้าวสักกเทวราชตรัสว่า)
[๕๖] กลิ่นของฤๅษีผู้ที่บวชมานาน ขอจงออกจากกายฟุ้ งไปตามลมเถิด
พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายจานงหวังกลิ่นนั้น
ดุจพวงบุปผชาติอันวิจิตรมีกลิ่นหอม
เพราะเทวดาทั้งหลายมิได้มีความสาคัญกลิ่นนี้ว่าปฏิกูล
(อนุสิสสดาบสลุกจากอาสนะ ขอโอกาสกับหมู่ฤๅษี กล่าวว่า)
[๕๗] ท้าวมัฆวาน สุชัมบดีเทวราช
องค์ปุรินททะจอมเทพผู้เป็นใหญ่กว่าภูตพระองค์นั้น ทรงพระยศ ย่ายีหมู่อสูร
ทรงรอคอยโอกาสเพื่อจะตรัสถามปัญหา
[๕๘] บรรดาฤๅษีเหล่านี้ผู้เป็ นบัณฑิต ณ ที่นี่
ใครเล่าหนอถูกถามแล้วจักพยากรณ์ปัญหาอันละเอียดสุขุม
ของพระราชาผู้เป็ นใหญ่กว่ามนุษย์ทั้ง ๓ พระองค์ และของท้าววาสวะจอมเทพได้
(หมู่ฤๅษีได้ฟังดังนั้นแล้วจึงกล่าวแนะนาว่า)
[๕๙] ฤๅษีตนนี้ชื่อสรภังคะ มีตบะ เว้นจากเมถุนธรรมตั้งแต่เกิด
เป็นบุตรของปุโรหิตาจารย์ ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอันดี
ท่านจักพยากรณ์ปัญหาทั้งหลายของพระราชาเหล่านั้นได้
(อนุสิสสดาบสยอมรับไหว้สรภังคดาบสแล้วเมื่อจะโอวาท จึงกล่าวว่า)
[๖๐] ท่านโกณฑัญญะ นิมนต์ท่านพยากรณ์ปัญหาทั้งหลายเถิด
ฤๅษีทั้งหลายผู้เป็นคนดีขอร้องท่าน ท่านโกณฑัญญะ
ภาระนี้ย่อมมาถึงท่านผู้เจริญด้วยปัญญา นี้เป็นธรรมดาในมนุษย์ทั้งหลาย
(ต่อมาพระมหาบุรุษสรภังคดาบสเมื่อให้โอกาส จึงกล่าวว่า)
[๖๑] มหาบพิตรผู้เจริญทั้งหลาย อาตมาให้โอกาส
ขอเชิญตรัสถามปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งตามพระทัยปรารถนาเถิด
เพราะอาตมารู้จักทั้งโลกนี้และโลกหน้าด้วยตนเอง จักพยากรณ์ปัญหาข้อนั้นๆ
ถวายมหาบพิตร
(พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศความข้อนั้น จึงตรัสว่า)
[๖๒] ลาดับนั้นแล ท้าวมัฆวานสักกเทวราช
องค์ปุรินททะทรงเห็นประโยชน์ได้ตรัสถามปัญหาข้อแรกตามที่พระทัยปรารถนา
ว่า
[๖๓] ในกาลบางคราว บุคคลฆ่าอะไร จึงจะไม่เศร้าโศก
ฤๅษีทั้งหลายสรรเสริญการละอะไร
3
บุคคลควรอดทนคาหยาบคายที่ใครในโลกนี้กล่าว
นิมนต์บอกเนื้อความข้อนั้นแก่โยมเถิด ท่านโกณฑัญญะ
(ต่อแต่นั้นพระมหาสัตว์สรภังคดาบสเมื่อจะตอบปัญหา จึงกล่าวว่า)
[๖๔] ในกาลบางคราว บุคคลฆ่าความโกรธเสียได้จึงไม่เศร้าโศก
ฤๅษีทั้งหลายสรรเสริญการละความลบหลู่
บุคคลควรอดทนคาหยาบคายที่ทุกคนกล่าว
สัตบุรุษทั้งหลายกล่าวความอดทนนั้นว่า ยอดเยี่ยม
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๖๕] คาของบุคคลทั้ง ๒ จาพวก คือ คนที่เสมอกัน ๑ คนที่ประเสริฐกว่า
๑ บุคคลอาจจะอดกลั้นได้
แต่บุคคลจะพึงอดทนถ้อยคาของคนที่เลวกว่าได้อย่างไรหนอ
นิมนต์บอกเนื้อความข้อนั้นแก่โยมเถิด ท่านโกณฑัญญะ
(สรภังคดาบสตอบว่า)
[๖๖] แท้จริง บุคคลอดทนถ้อยคาของคนประเสริฐกว่าได้
เพราะความกลัว อดทนถ้อยคาของคนเสมอกันได้เพราะการแข่งขันเป็ นเหตุ
แต่ผู้ใดพึงอดทนถ้อยคาของคนที่เลวกว่าในโลกนี้ได้
ความอดทนนั้นของบุคคลนั้นสัตบุรุษกล่าวว่า ยอดเยี่ยม
(ต่อมาพระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบท้าวสักกะแล้ว
เมื่อจะประกาศสภาพที่สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้ประเสริฐเป็ นต้นเป็นสภาพที่รู้ได้ยากด้ว
ยอาการเพียงเห็นรูปร่าง เว้นแต่การอยู่ร่วมกัน จึงกล่าวคาถาว่า)
[๖๗] สภาวะที่ปกปิดไว้ด้วยอิริยาบถทั้ง ๔ บุคคลจะรู้ได้อย่างไรว่า
ประเสริฐกว่า เสมอกัน หรือเลวกว่า
เพราะว่าสัตบุรุษทั้งหลายย่อมเที่ยวไปด้วยสภาวะที่ผิดรูป เพราะเหตุนั้น
บุคคลควรอดทนถ้อยคาของคนทั้งปวง
(เมื่อท้าวสักกะหมดความสงสัย
พระมหาสัตว์สรภังคดาบสจึงกล่าวคาถาทูลว่า)
[๖๘] สัตบุรุษผู้มีขันติพึงได้ประโยชน์อันใด
ประโยชน์นั้นเสนาแม้หมู่ใหญ่พร้อมด้วยพระราชารบอยู่ก็ไม่พึงได้
เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับได้ด้วยกาลังแห่งขันติ
(ต่อมาท้าวสักกเทวราชทรงทราบอัธยาศัยของพระราชาทั้งหลายแล้วจึงตรัสถามค
วามสงสัยของพระราชาเหล่านั้นว่า)
[๖๙] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า
โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น
ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกถึงคติของพระราชาทั้งหลาย
4
ผู้กระทาบาปกรรมอันร้ายแรง คือ พระเจ้าทัณฑกี ๑ พระเจ้านาฬิกีระ ๑
พระเจ้าอัชชุนะ ๑ พระเจ้ากลาพุ ๑ พระราชาทั้งหลายเหล่านั้นเบียดเบียนฤๅษี
พากันไปเกิด ณ ที่ไหน
(พระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบปัญหาของท้าวสักกะว่า)
[๗๐] ก็พระเจ้าทัณฑกีได้ลงโทษกีสวัจฉดาบส
เป็นผู้ตัดมูลรากพร้อมทั้งอาณาประชาราษฏร์หมกไหม้อยู่ในนรกชื่อกุกกุฬะ
ถ่านเพลิงที่ปราศจากเปลวเพลิงตกต้องกายของพระองค์
[๗๑] พระราชาพระองค์ใดได้ทรงเบียดเบียนบรรพชิตทั้งหลายผู้สารวม
ผู้กล่าวธรรม ผู้สงบ ไม่ประทุษร้าย พระราชาพระองค์นั้นทรงพระนามว่า
พระเจ้านาฬิกีระ สุนัขทั้งหลายพากันรุมกัดกิน ทรงดิ้นรนอยู่ในปรโลก
[๗๒] อนึ่ง พระเจ้าอัชชุนะทรงตกนรกชื่อสัตติสูละ
ทรงมีพระเศียรห้อยลง พระบาทชี้ขึ้นเบื้องบน
เพราะทรงเบียดเบียนพระอังคีรสโคตมฤๅษีผู้มีขันติ มีตบะ
ประพฤติพรหมจรรย์มาช้านาน
[๗๓] อนึ่ง พระราชาพระองค์ใดได้ทรงตัดบรรพชิตผู้กล่าวขันติ ผู้สงบ
ไม่ประทุษร้าย ขาดออกเป็นท่อนๆ
พระราชาพระองค์นั้นทรงพระนามว่าพระเจ้ากลาพุ
ตกอเวจีมหานรกซึ่งมีความร้อนร้ายแรง มีเวทนาเผ็ดร้อน น่าหวาดกลัว
หมกไหม้อยู่
[๗๔] บัณฑิตได้ฟังเรื่องนรกเหล่านี้และนรกเหล่าอื่นที่ชั่วช้ากว่านี้ ณ
ที่นี่แล้ว พึงประพฤติธรรมในสมณะและพราหมณ์ทั้งหลาย
ผู้กระทาอย่างนี้ย่อมเข้าถึงแดนสวรรค์
(ท้าวสักกะตรัสถามปัญหา ๔ ข้อที่เหลือว่า)
[๗๕] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า
แต่โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น
บัณฑิตเรียกคนเช่นไรว่า มีศีล เรียกคนเช่นไรว่า มีปัญญา เรียกคนเช่นไรว่า
สัตบุรุษ สิริย่อมไม่ละคนเช่นไรหนอ
(พระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบปัญหาของท้าวสักกะว่า)
[๗๖] บุคคลใดในโลกนี้ สารวมกาย วาจา ใจ ไม่ทาบาปกรรมอะไร
ไม่พูดเหลาะแหละเพราะเหตุแห่งตน บัณฑิตเรียกคนเช่นนั้นว่า ผู้มีศีล
[๗๗] บุคคลใดคิดปัญหาที่ลึกซึ้งได้ด้วยใจ
ไม่ทากรรมอันหยาบช้าซึ่งหาประโยชน์เกื้อกูลมิได้
ไม่ตัดรอนประโยชน์ที่มาถึงตามกาลให้เสียไป บัณฑิตเรียกคนเช่นนั้นว่า
ผู้มีปัญญา
5
[๗๘] บุคคลใดเป็นคนกตัญญูกตเวที เป็นปราชญ์ มีกัลยาณมิตร
และมีความภักดีมั่นคง ช่วยกระทากิจของมิตรที่ตกยากด้วยความเต็มใจ
บัณฑิตเรียกคนเช่นนั้นว่า สัตบุรุษ
[๗๙] บุคคลใดประกอบด้วยคุณสมบัติทั้งปวงเหล่านี้ มีศรัทธา อ่อนโยน
จาแนกแจกทานด้วยดี รู้ความประสงค์ของผู้ขอ สิริย่อมไม่ละคนเช่นนั้น
ผู้มีปกติสงเคราะห์ มีวาจาอ่อนหวาน สละสลวย
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๘๐] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า
แต่โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น
ศีล ๑ สิริ ๑ ธรรมของสัตบุรุษ ๑ ปัญญา ๑ บัณฑิตกล่าวข้อไหนว่า ประเสริฐกว่า
(พระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบว่า)
[๘๑] ท่านผู้ฉลาดทั้งหลายกล่าวว่า ปัญญาแลประเสริฐที่สุด
ดุจดวงจันทร์ราชาแห่งนักษัตรประเสริฐกว่าดวงดาวทั้งหลาย ศีล สิริ
และแม้ธรรมของสัตบุรุษย่อมเป็นไปตามบุคคลผู้มีปัญญา
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๘๒] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า
แต่โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น
บุคคลในโลกนี้กระทาอย่างไร กระทากรรมอะไร ประพฤติกรรมอะไร
คบหาคนอย่างไร จึงจะได้ปัญญา บัดนี้
ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกปฏิปทาแห่งปัญญาว่า บุคคลกระทาอย่างไร
จึงจะชื่อว่าผู้มีปัญญา
(พระมหาสัตว์สรภังคดาบสกล่าวว่า)
[๘๓] บุคคลควรคบหาท่านผู้เจริญด้วยปัญญา
มีความรู้ละเอียดลออเป็นพหูสูต ควรศึกษาเล่าเรียน สอบถาม
ฟังคาสุภาษิตโดยเคารพ บุคคลกระทาอย่างนี้ จึงจะชื่อว่าผู้มีปัญญา
[๘๔] ท่านผู้มีปัญญาพิจารณาเห็นกามคุณ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ และโดยความเป็นโรค เมื่อเห็นแจ้งอย่างนี้
จึงละความพอใจในกามทั้งหลาย ซึ่งเป็ นทุกข์เป็ นภัยอันใหญ่หลวงเสียได้
[๘๕] เขาปราศจากราคะแล้ว พึงกาจัดโทสะได้
เจริญเมตตาจิตหาประมาณมิได้ วางอาชญาในสัตว์ทุกจาพวก เป็นผู้ไม่ถูกนินทา
เข้าถึงพรหมสถาน
(พระมหาสัตว์สรภังคดาบสทราบว่า พระราชาทั้ง ๓
พระองค์ละความกาหนัดยินดีในเบญจกามคุณได้แล้ว
จึงกล่าวคาถาด้วยอานาจความร่าเริงของพระราชาเหล่านั้นว่า)
6
[๘๖] ขอถวายพระพรมหาบพิตรอัฏฐกะ การเสด็จมาของพระองค์
ของพระเจ้าภีมรถ และของพระเจ้ากาลิงคะผู้มีพระยศระบือไปทั่ว
ได้มีความสาเร็จอย่างใหญ่หลวง ทุกพระองค์ทรงละกามราคะได้แล้ว
(พระราชาทั้งหลายทรงชมเชยพระมหาสัตว์สรภังคดาบสว่า)
[๘๗] พระคุณเจ้ารู้จิตของผู้อื่นว่า โยมทุกคนละกามราคะได้แล้ว
ข้อนั้นเป็ นจริงอย่างนั้นแหละ ขอพระคุณเจ้าจงกระทาโอกาสเพื่ออนุเคราะห์
โดยประการที่โยมทุกคนจะบรรลุถึงคติของพระคุณเจ้าเถิด
(พระมหาสัตว์สรภังคดาบสให้โอกาสแก่พระราชาทั้ง ๓ พระองค์ว่า)
[๘๘] อาตมาจะกระทาโอกาสเพื่ออนุเคราะห์
เพราะมหาบพิตรทั้งหลายทรงละกามราคะได้แล้วอย่างแท้จริง
ขอมหาบพิตรทั้งหลายทรงแผ่ปีติที่ไพบูลย์ให้แผ่ซ่านไปทั่วพระวรกาย
โดยประการที่จะบรรลุถึงคติของอาตมาเถิด
(พระราชาเหล่านั้นเมื่อจะทรงยอมรับ จึงได้ตรัสว่า)
[๘๙] ท่านผู้มีปัญญาเพียงดังแผ่นดิน พระคุณเจ้าจะกล่าวคาใดใด
โยมทั้งหลายจะกระทาตามคาพร่าสอนของพระคุณเจ้านั้นทุกอย่าง
จะแผ่ปีติที่ไพบูลย์ไปทั่วกาย โดยประการที่จะบรรลุถึงคติของพระคุณเจ้า
(ลาดับนั้น
พระมหาสัตว์สรภังคดาบสให้พระราชาเหล่านั้นพร้อมทั้งพลนิกายบวช
เมื่อจะส่งหมู่ฤๅษีไป จึงกล่าวว่า)
[๙๐] ท่านผู้เจริญทั้งหลาย พวกเราทาการบูชา กีสวัจฉดาบสอย่างนี้แล้ว
ขอฤๅษีทั้งหลายผู้เป็นคนดี จงไปยังที่อยู่ของตนเถิด ท่านทั้งหลายจงยินดีในฌาน
มีจิตตั้งมั่นในกาลทุกเมื่อ ความยินดีนั้นเป็ นคุณชาติประเสริฐสุดสาหรับบรรพชิต
(พระศาสดาทรงทราบความนี้แล้วได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า)
[๙๑] ครั้นได้สดับคาถาซึ่งประกอบด้วยประโยชน์อย่างยิ่ง
ที่ฤๅษีผู้เป็นบัณฑิตกล่าวดีแล้ว เทวดาทั้งหลายผู้มียศเหล่านั้น
เกิดปีติและโสมนัสอนุโมทนาอยู่ ได้พากันหลีกไปยังเทพบุรี
[๙๒] คาถาที่ฤๅษีผู้เป็นบัณฑิตกล่าวดีแล้วเหล่านี้
มีอรรถและพยัญชนะอันดีงาม ผู้ใดผู้หนึ่งพึงสดับคาถาเหล่านั้นให้เป็ นประโยชน์
พึงได้คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลาย ครั้นได้แล้ว
พึงบรรลุสถานที่ที่พญามัจจุราชมองไม่เห็น
(พระศาสดาครั้นทรงรวบยอดเทศนาด้วยพระอรหัตอย่างนี้แล้วประกาศสัจจะทั้งห
ลาย ทรงประชุมชาดกว่า)
[๙๓] สาลิสสรดาบสคือสารีบุตร เมณฑิสสรดาบสคือกัสสปะ
ปัพพตดาบสคืออนุรุทธะ เทวิลดาบสคือกัจจายนะ
7
[๙๔] อนุสิสสดาบสคืออานนท์ กีสวัจฉดาบสคือโกลิตะ
นารทดาบสคืออุทายีเถระ บริษัททั้งหลายคือพุทธบริษัท
ส่วนสรภังคโพธิสัตว์คือเราตถาคต
เธอทั้งหลายจงทรงจาชาดกไว้อย่างนี้แล
สรภังคชาดกที่ ๒ จบ
---------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
สรภังคชาดก
ว่าด้วย สรภังคดาบสเฉลยปัญหา
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงพระปรารภการปรินิพพานของพระมหาโมคคัลลานะ ตรัสพระธรรมเทศนานี้
ได้ยินว่า พระสารีบุตรเถระกราบทูลให้พระตถาคตเจ้า
ซึ่งประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงอนุญาตการปรินิพพานแล้ว
เดินทางไปปรินิพพาน ณ ห้องที่ตนเกิดในนาลันทคาม.
พระศาสดาทรงสดับข่าวว่า
พระสารีบุตรปรินิพพานแล้วจึงเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์
ประทับอยู่ในพระเวฬุวันวิหาร.
คราวนั้น พระมหาโมคคัลลานเถระอยู่ที่กาฬศิลาประเทศ
ข้างภูเขาอิสิคิลิ.
ก็ท่านพระมหาโมคคัลลานะนั้นเที่ยวไปยังเทวโลกบ้าง อุสสทนรกบ้าง
ด้วยความเป็ นผู้ถึงที่สุดด้วยกาลังฤทธิ์.
ท่านเห็นอิสริยยศใหญ่ของพุทธสาวกในเทวโลก
เห็นทุกข์ใหญ่หลวงของติตถิยสาวกในอุสสทนรก แล้วกลับมายังมนุษยโลก
แจ้งแก่มนุษย์ทั้งหลายว่า
อุบาสกคนโน้นและอุบาสิกาคนโน้นบังเกิดเสวยมหาสมบัติในเทวโลกชื่อโน้น
สาวกของเดียรถีย์คนโน้นกับคนโน้นบังเกิดที่นรกเป็นต้น ในอบายชื่อโน้น.
มนุษย์ทั้งหลายพากันเลื่อมใสในพระศาสนา ละเลยพวกเดียรถีย์เสีย
ลาภสักการะใหญ่หลวงได้มีแก่สาวกของพระพุทธเจ้า
ลาภสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมลง.
พวกเดียรถีย์เหล่านั้นจึงพากันผูกอาฆาตในพระเถระว่า
เมื่อพระเถระนี้ยังมีชีวิตอยู่ อุปัฏฐากของพวกเราก็แตกแยก
ทั้งลาภสักการะก็เสื่อมลง พวกเราจักฆ่าพระเถระให้ตาย.
พวกเดียรถีย์ทั้งหลายจึงจ้างโจรชื่อสมณกุตต์ เป็ นเงินพันหนึ่งเพื่อให้ฆ่
าพระเถระ.
8
โจรสมณกุตต์คิดว่า เราจักฆ่าพระเถระให้ตายจึงไปยังถ้ากาฬศิลา
พร้อมด้วยสมุนโจรเป็นอันมาก. พระเถระเห็นโจรสมณกุตต์กาลังเดินมา
จึงเหาะหลบหลีกไปเสียด้วยฤทธิ์. วันนั้นโจรเห็นพระเถระเหาะไปจึงกลับเสีย
ได้มาติดๆ กัน ทุกๆ วันรุ่งขึ้น รวม ๖ วัน. ฝ่ายพระเถระก็หลบหลีกไปด้วยฤทธิ์
ดังที่เคยมา.
แต่ในวันที่เจ็ด
อปราปรเวทนียกรรมที่พระเถระทาไว้ในปางก่อนได้โอกาส.
ได้ยินว่า ในชาติก่อน
พระเถระเชื่อถ้อยคาของภรรยาประสงค์จะฆ่ามารดาบิดาให้ตาย
จึงนาไปสู่ป่าด้วยยานน้อย ทาอาการดุจโจรตั้งขึ้น แล้วโบยตีมารดาบิดา.
มารดาบิดาทั้งสองมองไม่เห็นอะไร เพราะมีจักษุพิการ จาบุตรของตนนั้นไม่ได้
โดยสาคัญว่า นั่นเป็นพวกโจร
ต่างปริเทวนาการเพื่อประโยชน์ต่อบุตรอย่างเดียวว่า ลูกเอ๋ย
ให้โจรพวกโน้นมันฆ่าพ่อฆ่าแม่เถิด เจ้าจงหลบเอาตัวรอดเถิด.
บุตรชายคิดว่า มารดาบิดาของเราทั้งสองท่านนี้
แม้จะถูกเราทุบตีก็ยังร่าไรราพัน เพื่อประโยชน์แก่เราผู้เดียว
เราทากรรมอันไม่สมควรเลย. ลาดับนั้น เขาจึงปลอบโยนมารดาบิดา
แสดงอาการดุจพวกโจรหนีไป แล้วนวดฟั้นมือเท้าของท่านทั้งสองพูดว่า
คุณแม่คุณพ่ออย่ากลัวเลย พวกโจรหนีไปแล้ว
แล้วนากลับมายังเรือนของตนตามเดิม.
กรรมนั้นไม่ได้โอกาสตลอดเวลามีประมาณเท่านี้
ตั้งอยู่เหมือนกองเพลิงถูกเถ้ากลบไว้เฉพาะหน้า แล้ววิ่งเข้าสู่สรีระอันไม่มีที่สุดนี้.
ก็กรรมนี้ได้โอกาสในที่ใดย่อมให้ผลในที่นั้น
เปรียบเหมือนสุนัขอันนายพรานพบเนื้อแล้วปล่อยให้ไล่ติดตามเนื้อ
ทันกันในที่ใดก็กัดในที่นั้นฉะนั้น ขึ้นชื่อว่าผู้ที่จะพ้นจากกรรมนั้นได้ไม่มีเลย.
พระเถระรู้ว่า กรรมที่ตนทาไว้หน่วงเหนี่ยวจึงมิได้หลบหลีกต่อไป
เพราะผลของกรรมนั้น พระเถระจึงไม่สามารถจะเหาะไปในอากาศได้.
ฤทธิ์ของพระเถระแม้สามารถทรมานนันโทปนันทนาคราช
แลสามารถยังเวชยันตปราสาทให้หวั่นไหว
ก็ถึงความทุรพลเพราะกาลังแห่งกรรม.
โจรจับพระเถระได้ ทุบจนกระดูกของพระเถระ
มีขนาดเท่าเมล็ดข้าวสารแหลกละเอียดไป เหมือนบดฟางให้เป็ นแป้ งฉะนั้น
แล้วโยนไปที่หลังพุ่มไม้แห่งหนึ่ง ด้วยสาคัญว่าตายแล้ว
พร้อมด้วยสมุนโจรหลีกกลับไป. ฝ่ายพระเถระกลับได้สติ แล้วคิดว่า
เราจักถวายบังคมลาพระศาสดาก่อน จึงจักปรินิพพานดังนี้
9
แล้วเยียวยาอัตภาพด้วยฌานทาให้มั่นคง
แล้วเหาะไปยังสานักของพระศาสดาทางอากาศ ถวายบังคมพระศาสดา แล้วทูลว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อายุสังขารของข้าพระองค์ถดถอยแล้ว
ข้าพระองค์จักปรินิพพาน.
พระศาสดาตรัสถามว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอจักปรินิพพานหรือ?
ทูลตอบว่า พระพุทธเจ้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ.
ตรัสถามว่า เธอจักไปปรินิพพานที่ไหน?
ทูลตอบว่า ที่แผ่นหินในถ้ากาฬศิลา พระเจ้าข้า.
ตรัสว่า โมคคัลลานะ ถ้าเช่นนั้นเธอจงกล่าวธรรมแก่เราก่อน
แล้วค่อยไป เพราะบัดนี้ การที่จะได้เห็นสาวกเช่นเธอ ไม่มีอีกแล้ว.
พระมหาโมคคัลลานะทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ข้าพระองค์จักกระทาตามพระพุทธดารัส แล้วเหาะขึ้นไปบนอากาศ สูงชั่วต้นตาล
แสดงฤทธิ์มีประการต่างๆ เหมือนพระสารีบุตรเถระในวันที่จะปรินิพพาน
กล่าวธรรมกถา ถวายบังคมพระบรมศาสดา แล้วปรินิพพาน ณ
ดงในกาฬศิลาประเทศ.
ในทันใดนั้นเอง ชาวเทวโลกทั้ง ๖ ชั้นเกิดโกลาหลเป็นอันเดียวกันว่า
ข่าวว่า อาจารย์ของพวกเราปรินิพพานแล้ว ต่างถือของหอม มาลา ธูป
เครื่องอบและจันทน์จุรณอันเป็นทิพย์ ทั้งฟืนนานาชนิดมา(ประชุมกันแล้ว).
จิตกาธานแล้วด้วยจันทน์แดงสูง ๙๙ ศอก.
พระศาสดาประทับอยู่ใกล้ๆ ศพพระเถระ
ตรัสสั่งให้จัดการปลงศพของพระเถระ.
รอบๆ สุสาน ฝนดอกไม้โปรยตกลงมาในที่ประมาณโยชน์หนึ่ง
ได้มีมนุษย์อยู่ระหว่างเทวดา เทวดาอยู่ระหว่างมนุษย์
ถัดเทวดาโดยลาดับพวกยักษ์ยืนอยู่ ถัดพวกยักษ์มาก็เป็นพวกคนธรรพ์
ถัดจากพวกคนธรรพ์มาเป็นพวกนาค ถัดจากพวกนาคมาเป็นพวกครุฑ
ถัดจากพวกครุฑมาเป็นพวกกินนรา ถัดจากพวกกินนรามาเป็นพวกกินนร
ถัดจากพวกกินนรมาก็เป็นฉัตร ถัดจากฉัตรออกมาเป็นสุวรรณจามร
ถัดจากสุวรรณจามรออกมาเป็นธงชัย ถัดธงชัยออกมาเป็นธงแผ่นผ้า.
ผู้ที่มาประชุมทุกเหล่า บรรดามีต่างเล่นสาธุกีฬาอยู่ตลอดเจ็ดวัน.
พระศาสดาตรัสสั่งให้เก็บธาตุของพระเถระมาทาเจดีย์บรรจุไว้ที่ซุ้มปร
ะตู พระเวฬุวันวิหาร.
กาลนั้น ภิกษุทั้งหลายสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย
พระสารีบุตรเถระไม่ได้รับความยกย่องอย่างใหญ่หลวง ในสานักของพระพุทธเจ้า
เพราะมิได้ปรินิพพานในที่ใกล้พระตถาคตเจ้า
พระมหาโมคคัลลานเถระได้รับเกียรติอย่างยิ่งใหญ่
10
เพราะปรินิพพานในที่ใกล้พระพุทธเจ้า.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้พวกเธอประชุมสนทนากันด้วยเรื่องอะไร?
เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย
พระโมคคัลลานะมิใช่จะได้สัมมานะจากสานักของเรา ในชาตินี้เท่านั้นก็หามิได้
แม้ในชาติก่อน เธอก็ได้แล้วเหมือนกัน แล้วทรงนาอดีตนิทานมาตรัส ดังต่อไปนี้
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในพระนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิในครรภ์ของนางพราหมณี
ภรรยาของปุโรหิตได้สิบเดือนก็คลอดจากครรภ์มารดาในเวลาใกล้รุ่ง. ขณะนั้น
อาวุธทั้งปวงในพระนครพาราณสีมีอาณาเขต ๑๒ โยชน์ก็ลุกโพลงขึ้น.
ในขณะที่บุตรคลอด ปุโรหิตออกมาภายนอกแลดูอากาศ
เห็นนิมิตเครื่องประกอบนักษัตร ก็รู้ว่า
กุมารนี้จักเป็ นผู้เลิศกว่านายขมังธนูทั้งปวงในชมพูทวีปทั้งสิ้น
เพราะเป็นผู้ที่เกิดโดยนักษัตรนี้ จึงไปยังราชตระกูลแต่เช้าตรู่
กราบทูลถามถึงความที่พระราชาบรรทมเป็นสุข.
เมื่อพระราชาตรัสว่า ดูก่อนท่านอาจารย์ ความสุขจะมีมาแต่ไหน
ในวันนี้อาวุธในพระราชวังทั้งหมดโพลงไปหมด
จึงกราบทูลว่า ขอเดชะ พระองค์อย่าตกพระทัยกลัว
ใช่ว่าอาวุธจะโพลงเฉพาะในพระราชวังก็หามิได้
แม้ในพระนครก็โพลงไปสิ้นทุกแห่งเหมือนกัน ที่ได้เป็นอย่างนี้ เพราะวันนี้
กุมารเกิดในเรือนของข้าพระพุทธเจ้า.
พระราชาตรัสว่า ท่านอาจารย์กุมารที่เกิดแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างไร?
ปุโรหิตกราบทูลว่า ขอเดชะ ข้าแต่มหาราชเจ้า
ไม่มีอะไรดอกพระพุทธเจ้าข้า แต่ว่ากุมารนั้นจักได้เป็ นยอดแห่งนายขมังธนู
ในชมพูทวีปทั้งสิ้น.
พระราชาตรัสว่า ดีละท่านอาจารย์
ถ้าเช่นนั้นท่านจงประคบประหงมกุมารนั้น แล้วยกให้เราในเวลาที่เขาเจริญวัย
ดังนี้แล้ว ตรัสสั่งให้พระราชทานทรัพย์พันหนึ่งเป็ นค่าน้านมก่อน.
โชติปาละปุโรหิตนั้นรับทรัพย์ไปเรือนมอบให้นางพราหมณี
ในวันตั้งชื่อลูกชายได้ขนานนามว่า โชติปาละ เพราะในขณะที่คลอดอาวุธโพลงทั่
ว. โชติปาลกุมารเจริญวัย ด้วยบริวารเป็ นอันมาก ในคราวอายุครบ ๑๖ ปี
เป็นผู้มีรูปทรงอุดมได้ส่วนสัด
บิดาของโชติปาลกุมาร มองดูสรีรสมบัติจึงมอบทรัพย์ให้พันหนึ่ง
บอกว่า ลูกเอ๋ย เจ้าจงไปเมืองตักกสิลา
เรียนศิลปศาสตร์ในสานักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์เถิด.
11
โชติปาลกุมารรับคาแล้ว ถือเอาทรัพย์ส่วนของอาจารย์
ไหว้มารดาบิดา ลาไปในเมืองตักกสิลานั้น มอบทรัพย์ให้อาจารย์พันหนึ่งแล้ว
เริ่มเรียนศิลปวิทยา ถึงความสาเร็จโดยสัปดาห์เดียวเท่านั้น.
ลาดับนั้น อาจารย์ก็ยินดี จึงให้พระขรรค์แก้ว ธนูเขาแพะ
แล่งธนูอันประกอบต่อกันซึ่งเป็ นของตน กับเสื้อเกราะ และกรอบหน้าของตน
แล้วมอบมาณพทั้งห้าร้อยแก่โชติปาลกุมารนั้นว่า พ่อโชติปาละ อาจารย์แก่แล้ว
บัดนี้เธอจงช่วยฝึกสอนมาณพเหล่านี้ด้วยเถิด.
พระโพธิสัตว์รับเครื่องอุปกรณ์ทุกอย่างแล้วกราบลาอาจารย์
เดินทางมุ่งมายังพระนครพาราณสี เยี่ยมมารดาบิดายืนอยู่.
ลาดับนั้น ปุโรหิตผู้บิดาจึงถามโชติปาลกุมารซึ่งไหว้แล้วยืนอยู่ว่า
ลูกรัก เจ้าเรียนศิลปวิทยาจบแล้วหรือ? เขาตอบว่า ขอรับคุณพ่อ.
ปุโรหิตบิดาฟังคาตอบแล้วไปยังราชตระกูล กราบทูลว่า ขอเดชะ
บุตรของข้าพระพุทธเจ้าเรียนศิลปวิทยากลับมาแล้ว เขาจะทาอะไร
พระพุทธเจ้าข้า?
พระราชาตรัสว่า ท่านอาจารย์ เขาจงมาบารุงเราเถิด. ทูลว่า
ขอเดชะพระอาญาไม่พ้นเกล้า
พระองค์โปรดทรงคานึงถึงเบี้ยเลี้ยงสาหรับบุตรของข้าพระพุทธเจ้า. ตรัสว่า
เขาจะได้เบี้ยเลี้ยงพันหนึ่งทุกๆ วัน. ปุโรหิตรับพระดารัสแล้ว
จึงไปเรือนให้เรียกกุมารมาสั่งว่า ลูกรัก เจ้าจงบารุงรับใช้พระราชาเถิด.
นับแต่นั้นมา โชติปาลกุมารก็บารุงพระราชาได้ทรัพย์วันละพันทุกวัน.
ข้าราชบาทมูลิกาทั้งหลายพากันโพนทะนาว่า
พวกเรายังไม่เห็นการงานที่โชติปาละกระทา แต่เขารับเบี้ยเลี้ยงวันละพันทุกๆ วัน
พวกเราอยากจะเห็นศิลปะของเขา. พระราชาทรงสดับถ้อยคาของชนพวกนั้น
จึงตรัสบอกปุโรหิต. ปุโรหิตรับสนองพระราชดารัสว่า ขอเดชะ
ดีแล้วพระพุทธเจ้าข้า แล้วแจ้งแก่บุตรของตน.
โชติปาลกุมารพูดว่า ดีแล้วขอรับคุณพ่อ ในวันที่เจ็ดนับแต่วันนี้ไป
ผมจักแสดงศิลปะ อนึ่ง ขอพระราชาโปรดตรัสสั่งให้นายขมังธนู
ในแว่นแคว้นของพระองค์มาประชุมกัน. ปุโรหิตได้ฟังดังนั้น
จึงไปกราบทูลเนื้อความนั้นแก่พระราชา.
พระราชาโปรดให้ตีกลองเที่ยวป่าวร้องไปในพระนคร
แล้วมีพระราชโองการให้นายขมังธนูมาประชุมกัน.
นายขมังธนูจานวนหกหมื่นคนมาประชุมพร้อมกัน.
พระราชาทรงทราบว่า พวกนายขมังธนูประชุมพร้อมแล้ว
จึงโปรดให้ตีกลองเที่ยวประกาศว่า
ชาวพระนครทั้งหลายจงไปดูศิลปะของโชติปาลกุมาร
12
แล้วให้ตระเตรียมพระลานหลวง แวดล้อมไปด้วยมหาชน
ประทับนั่งเหนือบัลลังก์อันประเสริฐ
แล้วทรงส่งราชบุรุษให้ไปเชิญโชติปาลกุมารว่า เจ้าโชติปาลกุมารจงมาเถิด.
โชติปาลกุมารจึงซ่อนธนู แล่งธนู เสื้อเกราะ
และอุณหิสที่อาจารย์ให้ไว้ในระหว่างผ้านุ่ง ให้คนถือพระขรรค์
แล้วเดินมายังสานักพระราชา ด้วยท่าทางปกติ ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
พวกนายขมังธนูทาการนัดหมายกันว่า
เขาว่าโชติปาลกุมารจะมาเพื่อแสดงศิลปะคือธนู แต่ไม่ถือธนูมา
คงอยากจะเอาธนูจากมือของพวกเรา พวกเราอย่าให้ธนูแก่เขา.
พระราชาตรัสเรียกโชติปาลกุมารมารับสั่งว่า เจ้าจงแสดงศิลปะเถิด.
โชติปาลกุมารจึงให้กั้นม่านแล้วยืนภายในม่าน คลี่ผ้าสาฎกออก
สวมเกราะ สอดเสื้อแล้วสวมอุณหิสบนศีรษะ
ยกสายมีวรรณะดุจแก้วประพาฬที่ธนูเขาแพะขึ้นแล้ว ผูกแล่งธนูไว้เบื้องหลัง
เหน็บพระขรรค์ไว้เบื้องหน้า เอาหลังเล็บควงลูกธนูมีปลายดุจเพชร
แหวกม่านออกมา
คล้ายนาคกุมารผู้ประดับตกแต่งแล้วชาแรกแผ่นดินออกมาฉะนั้น
เดินไปแสดงความนอบน้อมแด่พระราชายืนอยู่.
มหาชนเห็นกุมารนั้นแล้ว ต่างโห่ร้องบันลือปรบมือกันอึงมี่.
พระราชาตรัสว่า ดูก่อนเจ้าโชติปาละ เจ้าจงแสดงศิลปะเถิด.
โชติปาลกุมารทูลว่า ขอเดชะ พระอาญาไม่พ้นเกล้า
บรรดานายขมังธนูของพระองค์ โปรดรับสั่งให้มา ๔ คน คือคนที่ยิงไวดุจฟ้ าแลบ
คนที่ยิงแม่นแม้ขนทรายก็ไม่ผิด คนที่ยิงตามเสียงที่ได้ยิน
และคนที่ยิงสวนไปตามลูกศรที่ยิงมา.
พระราชาก็โปรดให้เรียกมา.
พระมหาสัตว์จัดทามณฑปภายในที่กาหนดสี่เหลี่ยมในพระลานหลวง
ให้นายขมังธนูทั้งสี่ยืนอยู่ทั้งสี่มุม แล้วให้ลูกธนูสามหมื่นแก่นายขมังธนูคนหนึ่งๆ
ให้คนที่จะส่งลูกธนูยืนอยู่ใกล้ๆ นายขมังธนูคนหนึ่งๆ
แล้วตนเองถือเอาลูกธนูมีปลายดุจเพชร ยืนอยู่ท่ามกลางมณฑป.
กราบทูลพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช นายขมังธนูทั้งสี่เหล่านี้
จงปล่อยลูกธนูยิงข้าพระพุทธเจ้าพร้อมกันเถิด
ข้าพระพุทธเจ้าจักห้ามลูกธนูที่พวกเขายิงมา.
พระราชาทรงรับสั่งบังคับว่า พวกท่านจงกระทาอย่างนี้.
พวกนายขมังธนูจึงกราบทูลว่า ขอเดชะ พระมหาราชเจ้า
พวกข้าพระพุทธเจ้าเป็นนายขมังธนูผู้ยิงเร็วดุจฟ้ าแลบ
ยิงแม่นแม้ขนทรายก็ไม่ผิด ยิงตามเสียงที่ได้ยิน และยิงสวนไปตามลูกศรที่ยิงมา
13
โชติปาละเป็นเด็กหนุ่ม พวกข้าพระพุทธเจ้าจักยิงหาได้ไม่.
พระมหาสัตว์จึงกล่าวว่า ถ้าพวกท่านสามารถ ก็เชิญยิงข้าพเจ้าได้.
นายขมังธนูเหล่านั้นรับว่าดีแล้ว จึงยิงลูกธนูไปพร้อมกัน.
พระมหาสัตว์เอาลูกศรปัดลูกธนูเหล่านั้น ให้ตกลงโดยแนบเนียน
เหมือนแวดวงซุ้มโพธิพฤกษ์ ซัดดอกธนูไปตามดอกธนู ตัวลูกธนูไปตามลูกธนู
พู่ลูกธนูไปตามพู่ลูกธนู ไม่ให้ก้าวก่ายกัน ได้กระทาดุจเป็ นห้องลูกธนู
จนลูกธนูของนายขมังธนูทั้งหมดหมดสิ้น.
พระมหาสัตว์รู้ว่า ลูกธนูของพวกนายขมังธนูหมดแล้ว
ไม่ยังห้องลูกธนูให้ทลาย กระโดดขึ้นไปยืนเฝ้ าอยู่ใกล้ๆ พระราชา.
มหาชนต่างโห่ร้องบันลือ ปรบมือเกรียวกราว ดีดนิ้วมือ
ทามหาโกลาหลโยนผ้าและเครื่องอาภรณ์ขึ้นไปจนมีทรัพย์นับได้ถึง ๑๘
โกฏิเป็นกองอยู่อย่างนี้.
ลาดับนั้น พระราชาจึงตรัสถามโชติปาลกุมารว่า ดูก่อนพ่อโชติปาละ
นี่ชื่อศิลปะอะไร? กราบทูลว่า ขอเดชะ ชื่อสรปฏิพาหนะ เครื่องห้ามลูกศร
พระพุทธเจ้าข้า. ตรัสถามว่า คนอื่นๆ ผู้รู้อย่างนี้มีหรือ? ทูลว่า ขอเดชะ
เว้นข้าพระพุทธเจ้าเสียแล้ว คนอื่นในชมพูทวีปทั้งสิ้นไม่มีเลย พระพุทธเจ้าข้า.
ตรัสว่า พ่อโชติปาละ เจ้าจงแสดงศิลปะอื่นบ้าง.
กราบทูลว่า ขอเดชะ ถ้านายขมังธนูทั้งสี่นายยืนอยู่ที่มุมทั้งสี่
ไม่สามารถจะยิงข้าพระพุทธเจ้าได้ไซร้ แต่ข้าพระพุทธเจ้าจักยิงพวกนี้ซึ่งยืนอยู่
ณ มุมทั้งสี่ด้วยลูกธนูลูกเดียวเท่านั้น.
พวกนายขมังธนูไม่กล้าพอ ที่จะยืนอยู่ได้.
พระมหาสัตว์จึงให้ปักต้นกล้วยไว้ที่มุมทั้งสี่
สี่ต้นแล้วผูกด้ายแดงที่ตัวลูกธนู ยิงไปหมายกล้วยต้นหนึ่ง
ลูกธนูแทงกล้วยต้นที่หนึ่ง ทะลุไปถึงต้นที่สองที่สามที่สี่ แล้วทะลุถึงต้นแรกที่แทง
แล้วออกมาตั้งอยู่ในมือตามเดิม ต้นกล้วยทั้งหลายอันด้ายร้อยแล้ว ยังตั้งอยู่ได้.
มหาชนบันลือเสียงสนั่นหวั่นไหว นับเป็นพัน.
พระราชาตรัสถามว่า นี้ชื่อศิลปะอะไรพ่อ?
พระมหาสัตว์ทูลตอบว่า ขอเดชะ ชื่อจักกวิทธศิลปะแทงจักร
พระพุทธเจ้าข้า.
พระราชาตรัสว่า เจ้าจงแสดงศิลปะแม้อย่างอื่นเถิดพ่อ.
พระมหาสัตว์จึงแสดงศิลปะชื่อสรลัฏฐิ คือศิลปะไม้เท้าแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรรัชชุ คือศิลปะรูปเชือกแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรเวณิ คือศิลปะมวยผมแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรปาสาทะ คือศิลปะรูปปราสาทลูกศร
ชื่อสรมัณฑปะ คือศิลปะรูปมณฑปลูกศร
14
ชื่อสรโสปาณะคือศิลปะรูปบันไดลูกศร
ชื่อสรมัณฑละ คือศิลปะรูปสนามแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรปาการะ คือศิลปะรูปกาแพงแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรวนะ คือศิลปะรูปป่าแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรโปกขรณี คือศิลปะรูปสระโบกขรณีแล้วด้วยลูกศร
ชื่อสรปทุมะ คือศิลปะรูปดอกบัวแล้วด้วยลูกศร
ยังศิลปะชื่อสรปุปผะ คือรูปดอกไม้แล้วด้วยลูกศรให้บาน
ยังศิลปะชื่อสรวัสสะ คือรูปฝนแล้วด้วยลูกศรให้ตก.
ครั้นพระมหาสัตว์แสดงศิลปะสิบสองอย่างเหล่านี้อันไม่ทั่วไปด้วยชนเ
หล่าอื่นอย่างนี้แล้ว ทาลายชุมนุมใหญ่เจ็ดครั้งอันไม่ทั่วไปด้วยชนเหล่าอื่นอีก.
พระมหาสัตว์ยิงแผ่นไม้สะแกหนา ๘ นิ้ว ยิงแผ่นไม้ประดู่หนา ๔ นิ้ว
ยิงแผ่นทองแดงหนา ๒ นิ้ว ยิงแผ่นเหล็กหนา ๑ นิ้ว ยิงแผ่นกระดาน ๑๐๐
ครั้งให้ติดเนื่องเป็นอันเดียวกัน แล้วยิงลูกธนูไปทางเบื้องหน้าเกวียนบรรทุกใบไม้
เกวียนบรรทุกทรายและเกวียนบรรทุกแผ่นกระดานให้ทะลุออกทางเบื้องหลัง
ยิงลูกศรไปทางเบื้องหลังให้ทะลุออกไปโดยทางหน้า ยิงลูกธนูไปยังที่ ๔
อุสภะในน้า ๘ อุสภะบนบก ยิงขนทรายในที่สุดแห่งอุสภะ
ด้วยสัญญาผลมะแว้งเครือ.
เมื่อโชติปาลกุมารแสดงศิลปะมีประมาณเท่านี้อยู่
พระอาทิตย์อัสดงคตไปแล้ว.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสสั่งให้กาหนดตาแหน่งเสนาบดีแก่เขา ตรัสว่า
พ่อโชติปาละ วันนี้ค่าเสียแล้ว พรุ่งนี้เจ้าจักได้รับสักการะคือตาแหน่งเสนาบดี
เจ้าจงไปตัดผม โกนหนวด อาบน้าแล้วมาเถิด
ดังนี้แล้วได้พระราชทานทรัพย์แสนหนึ่งเพื่อเป็ นค่าเบี้ยเลี้ยงไปในวันนั้น.
พระมหาสัตว์คิดว่า เราไม่มีความต้องการด้วยทรัพย์จานวนนี้
จึงคืนทรัพย์จานวน ๑๘ โกฏิแก่พวกเจ้าของ แล้วไปอาบน้ากับบริวารเป็ นอันมาก
ให้ช่างตัดผมโกนหนวด อาบน้าประดับด้วยสรรพาลังการ
แล้วเข้าไปยังเรือนด้วยสิริอันหาที่เปรียบมิได้ บริโภคโภชนะมีรสเลิศต่างๆ
เสร็จแล้วขึ้นนอนยังที่นอนอันมีสิริ นอนตลอดสองยาม.
ตื่นในเวลาปัจฉิมยาม ลุกขึ้นนั่งคู้บัลลังก์บนหลังที่นอน ตรวจดูเบื้องต้น
ท่ามกลางและที่สุดแห่งศิลปะของตน พลางราพึงว่า
การยังผู้อื่นให้ตายย่อมปรากฏแต่ตอนต้นแห่งศิลปะของเรา
การบริโภคใช้สอยด้วยอานาจแห่งกิเลสปรากฏในท่ามกลาง
การปฏิสนธิในนรกปรากฏในที่สุด
ก็ปาณาติบาตกับความประมาท
เพราะมัวเมายิ่งในการบริโภคใช้สอยด้วยอานาจกิเลส ย่อมให้ซึ่งปฏิสนธิในนรก
15
พระราชาทรงพระราชทานตาแหน่งเสนาบดีอันยิ่งใหญ่แก่เรา
เราก็จักเป็นผู้มีอิสริยยศใหญ่ ภรรยาและบุตรธิดาก็จักมีมากมาย
ก็วัตถุอันเป็นที่ตั้งของกิเลสอันถึงความไพบูลย์แล้วเป็ นของละได้โดยยาก
ควรที่เราจะออกไปสู่ป่าเพียงผู้เดียวแล้วบวชเป็นฤาษีเสียในบัดนี้ทีเดียว.
จึงลุกขึ้นจากที่นอนใหญ่ ไม่ให้ใครทราบลงจากปราสาท
ออกทางประตูด้านอัครทวาร เข้าสู่ป่าลาพังผู้เดียว
เดินมุ่งหน้าไปยังป่ามะขวิดใหญ่สามโยชน์ ใกล้ฝั่งแม่น้าโคธาวรี.
ท้าวสักกเทวราชทรงทราบว่า โชติปาลกุมารนั้นออกแล้ว
จึงตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมาตรัสสั่งว่า พ่อคุณ
เจ้าโชติปาลกุมารออกอภิเนษกรมณ์จักมีสมาคมใหญ่
เธอจงไปเนรมิตอาศรมที่กปิฏฐวัน ใกล้ฝั่งแม่น้าโคธาวดี
และตระเตรียมบริขารของบรรพชิตไว้ให้เสร็จ.
วิสสุกรรมเทพบุตรนั้นได้กระทาตามเทวบัญชาทุกประการ.
พระมหาสัตว์ถึงสถานที่นั้นแล้ว เห็นทางมีรอยเดินได้คนเดียว
คิดว่าจะพึงมีสถานที่อยู่ของพวกบรรพชิตจึงเดินไปที่กปิฏฐวันตามทางนั้น
ก็ไม่พบใคร จึงเข้าไปสู่บรรณศาลา เห็นบริขารของพวกบรรพชิต คิดว่า
ชะรอยท้าวสักกเทวราชจะทรงทราบว่าเราออกอภิเนษกรมณ์
จึงเปลื้องผ้าสาฎกออก นุ่งห่มคากรองสีแดง กระทาหนังเสือเหลือง
เฉวียงบ่าข้างหนึ่งมุ่นมณฑลชฎา ยกหาบหนักข้างหนึ่งไว้บนบ่า ถือไม้เท้าคนแก่
ออกจากบรรณศาลา ขึ้นสู่ที่จงกรมแล้วจงกรมไปๆ มาสิ้นวาระเล็กน้อย
ยังป่าให้งดงามด้วยสิริคือบรรพชา กระทากสิณบริกรรม จาเดิมแต่กาลที่บวชแล้ว
ในวันที่เจ็ดยังสมาบัติ ๘ อภิญญา ๕ ให้บังเกิด
เป็นผู้มีผลหมากรากไม้ในป่าเป็ นอาหารด้วยอุญฉาจาริยวัตร อยู่แต่ผู้เดียวเท่านั้น.
มารดาบิดามิตรสหายเป็นต้น แม้พวกญาติของโชติปาลกุมารนั้น
เมื่อไม่เห็นโชติปาลกุมารต่างร่าไห้ปริเทวนาการเที่ยวไป.
ลาดับนั้น พรานป่าคนหนึ่งเข้าไปสู่ป่า
พบพระมหาสัตว์นั่งอยู่ในอาศรมบท ณ กปิฏฐวัน จาพระมหาสัตว์ได้
ทาการปฏิสัณฐานกับพระมหาสัตว์แล้ว กลับไปยังพระนคร
บอกมารดาบิดาของท่านให้ทราบ.
มารดาบิดาของพระมหาสัตว์จึงกราบทูลให้พระราชาทรงทราบ.
พระราชาตรัสว่า มาเถิด เราจักไปเยี่ยมโชติปาลดาบสนั้น
แล้วพามารดาบิดาของท่าน แวดล้อมด้วยมหาชน เสด็จถึงฝั่งแม่น้าโคธาวรี
ตามทางที่นายพรานแสดง.
พระโพธิสัตว์มายังฝั่งแม่น้า นั่งบนอากาศแสดงธรรม
เชิญชนทั้งหมดเข้าไปสู่อาศรม นั่งบนอากาศนั่นแล
16
ประกาศโทษในกามทั้งหลายแล้วแสดงธรรมแก่ชนเหล่านั้นแม้ในที่นั้น.
ชนทั้งหมดตั้งต้นแต่พระราชาไป พากันบวชสิ้น.
พระโพธิสัตว์มีหมู่ฤาษีเป็นบริวาร อยู่ในที่นั้นแหละ
ต่อมา ข่าวที่พระดาบสพานักอยู่ ณ
ที่นั้นได้แพร่สะพัดไปในชมพูทวีปทั้งสิ้น.
พระราชาองค์อื่นๆ พร้อมด้วยชาวแว่นแคว้น
ก็พากันมาบวชในสานักของพระโพธิสัตว์นั้น นับเป็ นมหาสมาคมที่ยิ่งใหญ่
บริษัทแสนหนึ่งมิใช่น้อยได้มีแล้วโดยลาดับ.
ผู้ใดตรึกกามวิตก พยาบาทวิตก หรือวิหิงสาวิตก
พระมหาสัตว์ก็ไปในที่นั้นนั่งบนอากาศแสดงธรรม
บอกกสิณบริกรรมข้างหน้าผู้นั้น. บริษัททั้งหลายตั้งอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์
แล้วยังสมาบัติ ๘ ให้เกิดขึ้น ถึงความสาเร็จในฌาน.
พระมหาสัตว์ได้มีอันเตวาสิกผู้ใหญ่ถึงเจ็ดท่าน คือสาลิสสระ ๑
เมณฑิสสระ ๑ ปัพพตะ ๑ กาลเทวละ ๑ กีสวัจฉะ ๑ อนุลิสสะ ๑ นารทะ ๑
ในเวลาต่อมา อาศรมในกปิฏฐวันก็เต็มบริบูรณ์.
โอกาสที่อยู่ของหมู่ฤาษีไม่พอเพียง.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์จึงเรียกท่านสาลิสสระ มาสั่งว่า ท่านสาลิสสระ
อาศรมนี้ไม่เพียงพอแก่หมู่ฤาษี ท่านจงพาหมู่ฤาษีนี้เข้าไปอาศัยลัมพจูลกนิคม
ในแว่นแคว้นของพระเจ้าเมชฌราชอยู่เถิด.
สาลิสสระดาบสรับคาของพระมหาสัตว์ว่าสาธุ
แล้วพาหมู่ฤาษีพันเศษไปอยู่ในลัมพจูลกนิคมนั้น.
เมื่อมนุษย์ทั้งหลายพากันมาบวชอยู่ อาศรมก็เต็มบริบูรณ์อีก
พระโพธิสัตว์จึงเรียกท่านเมณฑิสสระมาสั่งว่า ท่านเมณฑิสสระ
แม่น้าชื่อสาโตทกานที ระหว่างเขตแดนสุรัฏฐชนบทมีอยู่
ท่านจงพาหมู่ฤาษีนี้ไปอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้าสาโตทกานทีนั้นเถิด.
โดยอุบายนั้นแหละ
พระโพธิสัตว์เรียกปัพพตดาบสมาในวาระที่สามส่งไปว่า ท่านปัพพตะ
ภูเขาชื่ออัญชนบรรพตมีอยู่ในดงใหญ่
ท่านจงเข้าไปอาศัยอัญชนบรรพตนั้นอยู่เถิด.
ในวาระที่สี่ พระโพธิสัตว์เรียกกาลเทวลดาบสมาสั่งไปว่า
ท่านกาลเทวละ ในแคว้นอวันตี ในทักขิณาชนบท มีภูเขาชื่อฆนเสลบรรพต
ท่านจงเข้าไปอาศัยฆนเสลบรรพตนั้นอยู่เถิด อาศรมในกปิฏฐวันก็เต็มบริบูรณ์อีก
ในสถานที่ทั้ง ๕ แห่งได้มีหมู่ฤาษีจานวนแสนเศษ.
ส่วนกีสวัจฉดาบส อาลาพระมหาสัตว์
เข้าไปอาศัยท่านเสนาบดีอยู่ในพระราชอุทยาน ในกุมภวดีนคร
17
แว่นแคว้นของพระเจ้าทัณฑกีราช.
ท่านนารทดาบสไปอยู่ที่เวิ้งเขาชื่ออัญชนคิรีในมัชฌิมประเทศ
ส่วนอนุสิสสดาบสคงอยู่ในสานักของพระมหาสัตว์นั่นเอง.
กาลครั้งนั้น พระเจ้าทัณฑกีราชทรงถอดหญิงแพศยาคนหนึ่ง
ซึ่งได้สักการะแล้วจากตาแหน่ง นางเที่ยวไปตามธรรมดาของตน
เดินไปสู่พระราชอุทยานพบท่านกีสวัจฉดาบส คิดว่า
ดาบสผู้นี้คงจักเป็ นคนกาลกรรณี เราจักลอยตัวกลี ลงบนสรีระของดาบสผู้นี้
อาบน้าก่อนจึงจักไป ดังนี้แล้ว จึงเคี้ยวไม้สีฟัน แล้วถ่มเขฬะหนาๆ
ลงบนสรีระของท่านดาบสนั้น ก่อนที่อื่นทั้งหมด แล้วถ่มลงไประหว่างชฎา
แล้วโยนไม้สีฟันไปบนศีรษะของท่านกีสวัจฉดาบสนั้นอีก
ตนเองสนานเกล้าแล้วไป.
ต่อมาพระราชาทรงระลึกถึงนางแล้วจัดการสถาปนาไว้ตามเดิม.
นางเป็ นคนหลงงมงาย ได้ทาความสาคัญว่า
เพราะเราลอยตัวกลีไว้บนสรีระของคนกาลกรรณี
พระราชาจึงทรงสถาปนาเราไว้ในตาแหน่งเดิม เราจึงกลับได้ยศอีก.
ต่อมาไม่นานนัก พระราชาก็ทรงถอดปุโรหิตเสียจากฐานันดรศักดิ์
ปุโรหิตนั้นจึงไปยังสานักของหญิงคณิกานั้น
ถามว่าเพราะเหตุไรท่านจึงได้ตาแหน่งคืน. ลาดับนั้น หญิงคณิกาจึงบอกว่า
เพราะดิฉันลอยกลีโทษ บนสรีระของคนกาลกรรณีในพระราชอุทยาน.
ปุโรหิตจึงไปลอยกลีโทษ บนสรีระของท่านกีสวัจฉดาบส อย่างนั้นเหมือนกัน
พระราชาก็กลับทรงสถาปนาแม้ปุโรหิตนั้นไว้ในฐานันดรอีก.
ในเวลาต่อมา
ปลายพระราชอาณาเขตของพระเจ้าทัณฑกีราชนั้นเกิดจลาจล
ท้าวเธอแวดล้อมไปด้วยองคเสนาเสด็จออกเพื่อยุทธนาการ ลาดับนั้น
ปุโรหิตผู้หลงงมงายทูลถามพระราชาว่า ขอเดชะ พระมหาราชเจ้า
พระองค์ทรงปรารถนาชัยชนะ หรือว่าความปราชัย เมื่อพระราชาตรัสตอบว่า
ปรารถนาชัยชนะ จึงกราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น คนกาลกรรณีอยู่ในพระราชอุทยาน
พระองค์จงโปรดให้ลอยกลีโทษที่สรีระของคนกาลกรรณีนั้นแล้วเสด็จไปเถิด.
พระราชาเชื่อถ้อยคาของปุโรหิต ตรัสว่า ผู้ใดเมื่อจะไปกับเรา
จงพากันไปลอยกลีโทษที่สรีระของคนกาลกรรณีเสียในพระราชอุทยาน
แล้วเสด็จเข้าไปยังพระราชอุทยาน ทรงเคี้ยวไม้สีฟัน
แล้วพระองค์เองทรงบ้วนเขฬะ
และโยนไม้สีฟันลงในระหว่างชฏาของท่านกีสวัจฉดาบสนั้น ก่อนใครๆ ทั้งหมด
แล้วทรงสรงสนานเกล้า แม้พลนิกายของพระองค์ก็ได้กระทาอย่างนั้น.
เมื่อพระราชาเสด็จหลีกไปแล้ว เสนาบดีมาพบพระดาบสแล้ว
18
เก็บไม้สีฟันเป็นต้นทิ้ง ให้สรงสนานเป็ นอย่างดี แล้วเรียนถามว่า ท่านขอรับ
อะไรจักมีแก่พระราชา.
กีสวัจฉดาบสตอบว่า ขอเจริญพร
ความคิดประทุษร้ายไม่มีในใจอาตมา แต่เทพยดาฟ้ าดินพิโรธ
นับแต่นี้ไปเจ็ดวันจักกระทาแว่นแคว้นทั้งสิ้นให้ป่นปี้
ท่านจงหนีไปอยู่ที่อื่นโดยเร็วเถิด.
เสนาบดีนั้นสะดุ้งตกใจกลัว จึงไปกราบทูลพระราชาให้ทรงทราบ.
พระเจ้าทัณฑกีราชทรงฟังถ้อยคาเสนาบดีแล้ว ก็มิได้ทรงเชื่อถือ
เสนาบดีนั้นจึงกลับไปยังเรือนของตน
พาบุตรภรรยาหนีไปสู่แคว้นอื่น.
ท่านสรภังคดาบสผู้ศาสดาจารย์ รู้เหตุนั้นแล้วส่งดาบสหนุ่มไปสองรูป
ให้เอามัญจสีวิกาหามท่านกีสวัจฉดาบสมาทางอากาศ.
พระราชาทรงรบจับโจรได้แล้ว เสด็จกลับไปยังพระนครทีเดียว.
เมื่อพระราชาเสด็จมาแล้ว
เทพยเจ้าทั้งหลายจึงบันดาลฝนให้ตกลงมาก่อน
เมื่อศพทุกชนิดถูกห้วงน้าฝนพัดไปอยู่ ฝนทรายล้วนก็ตกลง
ฝนดอกไม้ทิพย์ตกลงบนยอดฝนทราย ฝนมาสกตกลงบนยอดฝนดอกไม้
ฝนกหาปณะตกลงบนยอดฝนมาสก ฝนทิพพาภรณ์ตกลงบนยอดกหาปณะ
มนุษย์ทั้งหลายถึงความโสมนัส เริ่มเก็บเงินทองและเครื่องอาภรณ์.
ลาดับนั้น ฝนอาวุธอันโชติช่วงมีประการต่างๆ
ตกลงเหนือสรีระของมนุษย์เหล่านั้น. มนุษย์ทั้งหลายขาดเป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่.
ลาดับนั้น
ถ่านเพลิงปราศจากเปลวใหญ่โตก็ตกลงเบื้องบนของมนุษย์เหล่านั้น
ยอดบรรพตที่ลุกโพลงใหญ่โตตกลงเบื้องบนของมนุษย์เหล่านั้น
ฝนทรายละเอียดอันยังที่ประมาณ ๖๐
โยชน์ให้เต็มตกลงเบื้องบนของมนุษย์เหล่านั้น สถานที่ ๖๐
โยชน์มิได้เป็นรัฐมณฑลด้วยอาการอย่างนี้.
ความที่แว่นแคว้นนั้นพินาศไปอย่างนี้
ได้แพร่สะพัดไปในชมพูทวีปทั้งสิ้น.
ครั้งนั้น พระราชา ๓ พระองค์ คือ พระเจ้ากาลิงคะ ๑ พระเจ้าอัฏฐกะ
๑ พระเจ้าภีมรถ ๑ ซึ่งเป็ นใหญ่ในแคว้นติดต่อกันกับแคว้นนั้นทรงคิดกันว่า
ได้ยินว่าในปางก่อน พระเจ้ากลาพุกาสิราชในพระนครพาราณสี
ประพฤติผิดในท่านขันติวาทีดาบส แล้วถูกแผ่นดินสูบ
พระเจ้านาลิกีรราชให้สุนัขเคี้ยวกินพระดาบส
และพระเจ้าอัชชุนะผู้ทรงกาลังแขนถึงพัน
19
ประพฤติผิดในท่านอังคีรสดาบสแล้วถูกแผ่นดินสูบเหมือนกัน.
ได้ยินว่า คราวนี้พระเจ้าทัณฑกีราชผิดในท่านกีสวัจฉดาบส
แล้วถึงความพินาศพร้อมด้วยแว่นแคว้น
พวกเรายังไม่รู้สถานที่เกิดของพระราชาทั้งสี่เหล่านี้
เว้นท่านสรภังคศาสดาเสียแล้ว
คนอื่นชื่อว่าสามารถเพื่อจะบอกเรื่องนั้นแก่เราไม่มี
พวกเราจักเข้าไปถามปัญหาเหล่านี้.
กษัตริย์ทั้ง ๓ พระองค์เหล่านั้นพร้อมด้วยข้าราชบริพารเป็ นอันมาก
ต่างก็เสด็จออกเพื่อจะถามปัญหา แต่พระราชาทั้งสามนั้นมิได้ทรงทราบว่า
แม้พระราชาองค์โน้นก็เสด็จออกแล้ว ต่างทรงสาคัญว่าเราไปเพียงผู้เดียวเท่านั้น
สมาคมแห่งกษัตริย์เหล่านั้นได้มีไม่ไกลจากแม่น้าโคธาวรี
พระราชาเหล่านั้นเสด็จลงจากรถแต่ละคันแล้ว เสด็จขึ้นรถคันเดียวกันไป
ทั้งสามพระองค์ถึงยังฝั่งแม่น้าโคธาวรี.
ขณะนั้น
ท้าวสักกเทวราชประทับนั่งเหนือพระแท่นบัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ทรงคิดปัญหา ๗
ข้อแล้วทรงราพึงว่า เว้นท่านสรภังคศาสดาเสียแล้ว
คนอื่นในมนุษยโลกพร้อมทั้งเทวโลก ที่ชื่อว่าสามารถเพื่อจะแก้ปัญหานี้ไม่มี
เราจักถามปัญหาเหล่านี้กะท่านสรภังคศาสดานั้น. พระราชาทั้ง ๓
องค์แม้เหล่านี้มาถึงฝั่งแม่น้าโคธาวรี ก็เพื่อจะถามปัญหากะท่านสรภังคศาสดา
เราเองจักเป็ นผู้ถามแม้ปัญหาของพระราชาเหล่านี้
อันเหล่าเทวดาในเทวโลกทั้งสองแวดล้อมแล้ว เสด็จลงจากเทวโลก.
ในวันนั้นเอง ท่านกีสวัจฉดาบสก็ได้ทากาลกิริยาลง
พระฤาษีทั้งหลายพันเศษในที่ทั้งสี่ ก็มาในที่นั้นเหมือนกัน
เพื่อทาการปลงศพของท่านกีสวัจฉดาบสนั้น แล้วให้ทามณฑปไว้
และหมู่ฤาษีพันเศษในที่ทั้ง ๕ ช่วยกันทาจิตกาธานด้วยไม้จันทน์
เพื่อตั้งสรีระของท่านกีสวัจฉดาบส แล้วช่วยกันเผาสรีระศพ
ฝนดอกโกสุมทิพย์ตกลงในสถานที่ประมาณกึ่งโยชน์รอบสุสาน
พระมหาสัตว์ให้จัดการเก็บสรีรธาตุของท่านกีสวัจฉดาบสแล้วเข้าไปสู่
อาศรม แวดล้อมไปด้วยหมู่ฤาษีเหล่านั้นนั่นอยู่
ในกาลเมื่อพระราชาเหล่านั้นมาถึงฝั่งนที เสียงแห่งกองทัพใหญ่ เสียงพาหนะ
และเสียงดนตรีได้มีแล้ว
พระมหาสัตว์ได้สดับเสียงนั้นจึงเรียกอนุสิสสดาบสมาสั่งว่า พ่อคุณ
เธอช่วยไปดูก่อนเถิด นั่นเป็นเสียงอะไร?
ท่านอนุสิสสดาบสจึงถือหม้อตักน้าไปในที่นั้น พบพระราชาทั้ง ๓ องค์
จึงกล่าวคาถาที่ ๑ โดยเป็นคาถามความว่า
20
ท่านทั้งหลายผู้ประดับแล้ว สอดใส่กุณฑล นุ่งห่มผ้างดงาม
เหน็บพระขรรค์มีด้ามประดับด้วยแก้วไพฑูรย์และแก้วมุกดา
เป็นจอมพลรถยืนอยู่ เป็นใครกันหนอ ชนทั้งหลายในมนุษยโลก
จะรู้จักท่านทั้งหลายอย่างไร?
กษัตริย์ทั้งสามสดับคาของพระดาบสแล้ว
เสด็จลงจากรถถวายนมัสการแล้ว ประทับยืนอยู่ ในกษัตริย์ทั้ง ๓ นั้น
พระเจ้าอัฏฐกราช เมื่อจะทรงสนทนากับท่านอนุสิสสดาบส จึงตรัสคาถาที่ ๒
ความว่า
ข้าพเจ้าเป็นกษัตริย์ชื่ออัฏฐกะ ท่านผู้นี้คือพระเจ้าภีมรถะ
ส่วนท่านผู้นี้คือพระเจ้ากาลิงคราช มีพระเดชฟุ้ งเฟื่อง ข้าพเจ้าทั้งหลายมาในที่นี้
เพื่อเยี่ยมท่านฤาษีทั้งหลายผู้สารวมด้วยดี และเพื่อจะขอถามปัญหา.
(พระเจ้าอัฏฐกราชตรัสว่า) ท่านขอรับ
พวกข้าพเจ้าจะมาเพื่อเล่นกีฬาในป่าก็หามิได้ ที่แท้พวกข้าพเจ้ามาในที่นี้
ก็เพื่อจะเยี่ยมท่านฤาษีผู้มีศีล สารวมดีแล้วด้วยกายเป็นต้น.
ลาดับนั้น ดาบสจึงทูลพระราชาเหล่านั้นว่า
ขอถวายพระพรพระมหาราชเจ้า ดีแล้ว
พระองค์ท่านทั้งหลายเป็ นผู้เสด็จมาในสถานที่ ซึ่งควรมาโดยแท้ ถ้าเช่นนั้น
ขอเชิญสรงสนานแล้วเสด็จไปยังอาศรม
ทรงไหว้หมู่ฤาษีแล้วตรัสถามปัญหากะท่านศาสดาเถิด
ครั้นทาปฏิสัณฐานกับพระราชาเหล่านั้นแล้ว จึงยกหม้อน้าขึ้น
เช็ดหยาดน้าพลางแลดูอากาศ เห็นท้าวสักกเทวราชแวดล้อมด้วยหมู่เทพยเจ้า
เสด็จเหนือคอช้างเอราวัณตัวประเสริฐ กาลังเสด็จมา.
เมื่อจะสนทนากับท้าวสักกเทวราชนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า
ท่านเหาะลอยอยู่ในอากาศเวหา ดังพระจันทร์ลอยเด่นอยู่
ท่ามกลางท้องฟ้ าในวันเพ็ญ ๑๕ ค่าฉะนั้น ดูก่อนเทพยเจ้า
อาตมภาพขอถามท่านผู้มีอานุภาพมาก
ชนทั้งหลายในมนุษยโลกจะรู้จักท่านได้อย่างไร.
ท้าวสักกเทวราชทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาที่ ๔ ความว่า
ในเทวโลกเขาเรียกข้าพเจ้าว่าสุชัมบดี
ในมนุษยโลกเขาเรียกข้าพเจ้าว่าท้าวมฆวา ข้าพเจ้านั้นคือท้าวเทวราช
วันนี้มาถึงที่นี่ เพื่อขอเยี่ยมท่านฤาษีทั้งหลายผู้สารวมแล้วด้วยดี.
มาสู่สถานที่นี้ ในบัดนี้. เพื่อจะเยี่ยมเยียนกราบนมัสการ
และเพื่อถามปัญหากะท่านสรภังคศาสดาด้วย.
ลาดับนั้น ท่านอนุสิสสดาบสจึงทูลท้าวสักกเทวราชว่า
ดีละพระมหาราชเจ้า พระองค์โปรดเสด็จมาภายหลัง
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

More Related Content

Similar to 522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
maruay songtanin
 

Similar to 522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
107 สาลิตตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
372 มิคโปตกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
449 มัฏฐกุณฑลีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
251 สังกัปปราคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
089 กุหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
415 กุมมาสปิณฑิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
125 กฏาหกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
505 โสมนัสสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
346 เกสวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
029 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
163 สุสีมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
488 ภิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
073 สัจจังกิรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
(๒๒) พระเขมาเถรี มจร.pdf
 

More from maruay songtanin

๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๒. สรภังคชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๒๒) ว่าด้วยสรภังคดาบสแก้ปัญหา (อนุสิสสดาบสถือหม้อจะไปตักน้าได้พบพระราชา ๓ พระองค์ จึงทูลถามว่า) [๕๐] ท่านทั้งหลายเป็นใครกันหนอ ประดับเครื่องอลังการ สวมใส่ต่างหู นุ่งห่มเรียบร้อย เหน็บพระขรรค์มีด้ามประดับด้วยแก้วไพฑูรย์และแก้วมุกดา ยืนอยู่บนรถอย่างองอาจ ในมนุษยโลกเขารู้จักพวกท่านว่าอย่างไร (ในพระราชาทั้ง ๓ องค์ พระเจ้าอัฏฐกะตรัสกับท่านอนุสิสสดาบสว่า) [๕๑] ข้าพเจ้าชื่ออัฏฐกะ ท่านผู้นี้คือพระเจ้าภีมรถ ส่วนท่านผู้นี้คือพระเจ้ากาลิงคะผู้มีพระเกียรติยศระบือไปทั่ว พวกข้าพเจ้ามา ณ ที่นี่เพื่อจะเยี่ยมฤๅษีทั้งหลาย ผู้มีความสารวมเป็นอันดี และเพื่อที่จะถามปัญหา (อนุสิสสดาบสปฏิสันถารกับพระราชาแล้วกราบทูลท้าวสักกเทวราชผู้เสด็จมาเยี่ย มว่า) [๕๒] ท่านยืนอยู่กลางหาวราวกะพระจันทร์เพ็ญ ลอยเด่นอยู่ท่ามกลางเวหาในวันขึ้น ๑๕ ค่า ท่านผู้มีคุณน่าบูชา ข้าพเจ้าขอถามท่านผู้มีอานุภาพมากว่า ในมนุษยโลกเขารู้จักท่านว่าอย่างไร (ท้าวสักกเทวราชสดับดังนั้นแล้วจึงตรัสว่า) [๕๓] ท่านผู้ใดในเทวโลกเขาเรียกกันว่า สุชัมบดี ท่านผู้นั้นในมนุษยโลกเขาเรียกกันว่า มัฆวาน ข้าพเจ้านั้นเป็นเทพราชามาถึงที่นี้ในวันนี้ เพื่อจะเยี่ยมฤๅษีทั้งหลายผู้มีความสารวมเป็นอันดี (ท้าวสักกเทวราชเสด็จลงแล้วเข้าไปหาหมู่ฤๅษี ยืนประคองอัญชลีไหว้อยู่ ตรัสว่า) [๕๔] ฤๅษีของพวกเรามีฤทธิ์มาก ประกอบด้วยคุณคือฤทธิ์ปรากฏในที่ไกล ข้าพเจ้ามีจิตเลื่อมใส ขอนมัสการพระคุณเจ้าผู้ประเสริฐกว่ามนุษย์ทั้งหลายในมนุษยโลกนี้ (ต่อมาอนุสิสสดาบสเห็นท้าวสักกเทวราชประทับนั่งใต้ลมของหมู่ฤๅษีจึงกราบทูลว่ า)
  • 2. 2 [๕๕] กลิ่นของฤๅษีผู้ที่บวชมานานย่อมออกจากกายฟุ้ งไปตามลม ขอถวายพระพร ท้าวสหัสสนัยน์เทวราช ขอมหาบพิตรเสด็จถอยไปจากที่นี่ เพราะกลิ่นของฤๅษีทั้งหลายไม่สะอาด (ท้าวสักกเทวราชตรัสว่า) [๕๖] กลิ่นของฤๅษีผู้ที่บวชมานาน ขอจงออกจากกายฟุ้ งไปตามลมเถิด พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายจานงหวังกลิ่นนั้น ดุจพวงบุปผชาติอันวิจิตรมีกลิ่นหอม เพราะเทวดาทั้งหลายมิได้มีความสาคัญกลิ่นนี้ว่าปฏิกูล (อนุสิสสดาบสลุกจากอาสนะ ขอโอกาสกับหมู่ฤๅษี กล่าวว่า) [๕๗] ท้าวมัฆวาน สุชัมบดีเทวราช องค์ปุรินททะจอมเทพผู้เป็นใหญ่กว่าภูตพระองค์นั้น ทรงพระยศ ย่ายีหมู่อสูร ทรงรอคอยโอกาสเพื่อจะตรัสถามปัญหา [๕๘] บรรดาฤๅษีเหล่านี้ผู้เป็ นบัณฑิต ณ ที่นี่ ใครเล่าหนอถูกถามแล้วจักพยากรณ์ปัญหาอันละเอียดสุขุม ของพระราชาผู้เป็ นใหญ่กว่ามนุษย์ทั้ง ๓ พระองค์ และของท้าววาสวะจอมเทพได้ (หมู่ฤๅษีได้ฟังดังนั้นแล้วจึงกล่าวแนะนาว่า) [๕๙] ฤๅษีตนนี้ชื่อสรภังคะ มีตบะ เว้นจากเมถุนธรรมตั้งแต่เกิด เป็นบุตรของปุโรหิตาจารย์ ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอันดี ท่านจักพยากรณ์ปัญหาทั้งหลายของพระราชาเหล่านั้นได้ (อนุสิสสดาบสยอมรับไหว้สรภังคดาบสแล้วเมื่อจะโอวาท จึงกล่าวว่า) [๖๐] ท่านโกณฑัญญะ นิมนต์ท่านพยากรณ์ปัญหาทั้งหลายเถิด ฤๅษีทั้งหลายผู้เป็นคนดีขอร้องท่าน ท่านโกณฑัญญะ ภาระนี้ย่อมมาถึงท่านผู้เจริญด้วยปัญญา นี้เป็นธรรมดาในมนุษย์ทั้งหลาย (ต่อมาพระมหาบุรุษสรภังคดาบสเมื่อให้โอกาส จึงกล่าวว่า) [๖๑] มหาบพิตรผู้เจริญทั้งหลาย อาตมาให้โอกาส ขอเชิญตรัสถามปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่งตามพระทัยปรารถนาเถิด เพราะอาตมารู้จักทั้งโลกนี้และโลกหน้าด้วยตนเอง จักพยากรณ์ปัญหาข้อนั้นๆ ถวายมหาบพิตร (พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศความข้อนั้น จึงตรัสว่า) [๖๒] ลาดับนั้นแล ท้าวมัฆวานสักกเทวราช องค์ปุรินททะทรงเห็นประโยชน์ได้ตรัสถามปัญหาข้อแรกตามที่พระทัยปรารถนา ว่า [๖๓] ในกาลบางคราว บุคคลฆ่าอะไร จึงจะไม่เศร้าโศก ฤๅษีทั้งหลายสรรเสริญการละอะไร
  • 3. 3 บุคคลควรอดทนคาหยาบคายที่ใครในโลกนี้กล่าว นิมนต์บอกเนื้อความข้อนั้นแก่โยมเถิด ท่านโกณฑัญญะ (ต่อแต่นั้นพระมหาสัตว์สรภังคดาบสเมื่อจะตอบปัญหา จึงกล่าวว่า) [๖๔] ในกาลบางคราว บุคคลฆ่าความโกรธเสียได้จึงไม่เศร้าโศก ฤๅษีทั้งหลายสรรเสริญการละความลบหลู่ บุคคลควรอดทนคาหยาบคายที่ทุกคนกล่าว สัตบุรุษทั้งหลายกล่าวความอดทนนั้นว่า ยอดเยี่ยม (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๖๕] คาของบุคคลทั้ง ๒ จาพวก คือ คนที่เสมอกัน ๑ คนที่ประเสริฐกว่า ๑ บุคคลอาจจะอดกลั้นได้ แต่บุคคลจะพึงอดทนถ้อยคาของคนที่เลวกว่าได้อย่างไรหนอ นิมนต์บอกเนื้อความข้อนั้นแก่โยมเถิด ท่านโกณฑัญญะ (สรภังคดาบสตอบว่า) [๖๖] แท้จริง บุคคลอดทนถ้อยคาของคนประเสริฐกว่าได้ เพราะความกลัว อดทนถ้อยคาของคนเสมอกันได้เพราะการแข่งขันเป็ นเหตุ แต่ผู้ใดพึงอดทนถ้อยคาของคนที่เลวกว่าในโลกนี้ได้ ความอดทนนั้นของบุคคลนั้นสัตบุรุษกล่าวว่า ยอดเยี่ยม (ต่อมาพระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบท้าวสักกะแล้ว เมื่อจะประกาศสภาพที่สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้ประเสริฐเป็ นต้นเป็นสภาพที่รู้ได้ยากด้ว ยอาการเพียงเห็นรูปร่าง เว้นแต่การอยู่ร่วมกัน จึงกล่าวคาถาว่า) [๖๗] สภาวะที่ปกปิดไว้ด้วยอิริยาบถทั้ง ๔ บุคคลจะรู้ได้อย่างไรว่า ประเสริฐกว่า เสมอกัน หรือเลวกว่า เพราะว่าสัตบุรุษทั้งหลายย่อมเที่ยวไปด้วยสภาวะที่ผิดรูป เพราะเหตุนั้น บุคคลควรอดทนถ้อยคาของคนทั้งปวง (เมื่อท้าวสักกะหมดความสงสัย พระมหาสัตว์สรภังคดาบสจึงกล่าวคาถาทูลว่า) [๖๘] สัตบุรุษผู้มีขันติพึงได้ประโยชน์อันใด ประโยชน์นั้นเสนาแม้หมู่ใหญ่พร้อมด้วยพระราชารบอยู่ก็ไม่พึงได้ เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับได้ด้วยกาลังแห่งขันติ (ต่อมาท้าวสักกเทวราชทรงทราบอัธยาศัยของพระราชาทั้งหลายแล้วจึงตรัสถามค วามสงสัยของพระราชาเหล่านั้นว่า) [๖๙] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกถึงคติของพระราชาทั้งหลาย
  • 4. 4 ผู้กระทาบาปกรรมอันร้ายแรง คือ พระเจ้าทัณฑกี ๑ พระเจ้านาฬิกีระ ๑ พระเจ้าอัชชุนะ ๑ พระเจ้ากลาพุ ๑ พระราชาทั้งหลายเหล่านั้นเบียดเบียนฤๅษี พากันไปเกิด ณ ที่ไหน (พระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบปัญหาของท้าวสักกะว่า) [๗๐] ก็พระเจ้าทัณฑกีได้ลงโทษกีสวัจฉดาบส เป็นผู้ตัดมูลรากพร้อมทั้งอาณาประชาราษฏร์หมกไหม้อยู่ในนรกชื่อกุกกุฬะ ถ่านเพลิงที่ปราศจากเปลวเพลิงตกต้องกายของพระองค์ [๗๑] พระราชาพระองค์ใดได้ทรงเบียดเบียนบรรพชิตทั้งหลายผู้สารวม ผู้กล่าวธรรม ผู้สงบ ไม่ประทุษร้าย พระราชาพระองค์นั้นทรงพระนามว่า พระเจ้านาฬิกีระ สุนัขทั้งหลายพากันรุมกัดกิน ทรงดิ้นรนอยู่ในปรโลก [๗๒] อนึ่ง พระเจ้าอัชชุนะทรงตกนรกชื่อสัตติสูละ ทรงมีพระเศียรห้อยลง พระบาทชี้ขึ้นเบื้องบน เพราะทรงเบียดเบียนพระอังคีรสโคตมฤๅษีผู้มีขันติ มีตบะ ประพฤติพรหมจรรย์มาช้านาน [๗๓] อนึ่ง พระราชาพระองค์ใดได้ทรงตัดบรรพชิตผู้กล่าวขันติ ผู้สงบ ไม่ประทุษร้าย ขาดออกเป็นท่อนๆ พระราชาพระองค์นั้นทรงพระนามว่าพระเจ้ากลาพุ ตกอเวจีมหานรกซึ่งมีความร้อนร้ายแรง มีเวทนาเผ็ดร้อน น่าหวาดกลัว หมกไหม้อยู่ [๗๔] บัณฑิตได้ฟังเรื่องนรกเหล่านี้และนรกเหล่าอื่นที่ชั่วช้ากว่านี้ ณ ที่นี่แล้ว พึงประพฤติธรรมในสมณะและพราหมณ์ทั้งหลาย ผู้กระทาอย่างนี้ย่อมเข้าถึงแดนสวรรค์ (ท้าวสักกะตรัสถามปัญหา ๔ ข้อที่เหลือว่า) [๗๕] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า แต่โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น บัณฑิตเรียกคนเช่นไรว่า มีศีล เรียกคนเช่นไรว่า มีปัญญา เรียกคนเช่นไรว่า สัตบุรุษ สิริย่อมไม่ละคนเช่นไรหนอ (พระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบปัญหาของท้าวสักกะว่า) [๗๖] บุคคลใดในโลกนี้ สารวมกาย วาจา ใจ ไม่ทาบาปกรรมอะไร ไม่พูดเหลาะแหละเพราะเหตุแห่งตน บัณฑิตเรียกคนเช่นนั้นว่า ผู้มีศีล [๗๗] บุคคลใดคิดปัญหาที่ลึกซึ้งได้ด้วยใจ ไม่ทากรรมอันหยาบช้าซึ่งหาประโยชน์เกื้อกูลมิได้ ไม่ตัดรอนประโยชน์ที่มาถึงตามกาลให้เสียไป บัณฑิตเรียกคนเช่นนั้นว่า ผู้มีปัญญา
  • 5. 5 [๗๘] บุคคลใดเป็นคนกตัญญูกตเวที เป็นปราชญ์ มีกัลยาณมิตร และมีความภักดีมั่นคง ช่วยกระทากิจของมิตรที่ตกยากด้วยความเต็มใจ บัณฑิตเรียกคนเช่นนั้นว่า สัตบุรุษ [๗๙] บุคคลใดประกอบด้วยคุณสมบัติทั้งปวงเหล่านี้ มีศรัทธา อ่อนโยน จาแนกแจกทานด้วยดี รู้ความประสงค์ของผู้ขอ สิริย่อมไม่ละคนเช่นนั้น ผู้มีปกติสงเคราะห์ มีวาจาอ่อนหวาน สละสลวย (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๘๐] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า แต่โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น ศีล ๑ สิริ ๑ ธรรมของสัตบุรุษ ๑ ปัญญา ๑ บัณฑิตกล่าวข้อไหนว่า ประเสริฐกว่า (พระมหาสัตว์สรภังคดาบสตอบว่า) [๘๑] ท่านผู้ฉลาดทั้งหลายกล่าวว่า ปัญญาแลประเสริฐที่สุด ดุจดวงจันทร์ราชาแห่งนักษัตรประเสริฐกว่าดวงดาวทั้งหลาย ศีล สิริ และแม้ธรรมของสัตบุรุษย่อมเป็นไปตามบุคคลผู้มีปัญญา (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๘๒] โยมขออนุโมทนาคาสุภาษิตของพระคุณเจ้า แต่โยมขอถามปัญหาข้ออื่นกับพระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าโปรดกล่าวแก้ปัญหานั้น บุคคลในโลกนี้กระทาอย่างไร กระทากรรมอะไร ประพฤติกรรมอะไร คบหาคนอย่างไร จึงจะได้ปัญญา บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าโปรดบอกปฏิปทาแห่งปัญญาว่า บุคคลกระทาอย่างไร จึงจะชื่อว่าผู้มีปัญญา (พระมหาสัตว์สรภังคดาบสกล่าวว่า) [๘๓] บุคคลควรคบหาท่านผู้เจริญด้วยปัญญา มีความรู้ละเอียดลออเป็นพหูสูต ควรศึกษาเล่าเรียน สอบถาม ฟังคาสุภาษิตโดยเคารพ บุคคลกระทาอย่างนี้ จึงจะชื่อว่าผู้มีปัญญา [๘๔] ท่านผู้มีปัญญาพิจารณาเห็นกามคุณ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และโดยความเป็นโรค เมื่อเห็นแจ้งอย่างนี้ จึงละความพอใจในกามทั้งหลาย ซึ่งเป็ นทุกข์เป็ นภัยอันใหญ่หลวงเสียได้ [๘๕] เขาปราศจากราคะแล้ว พึงกาจัดโทสะได้ เจริญเมตตาจิตหาประมาณมิได้ วางอาชญาในสัตว์ทุกจาพวก เป็นผู้ไม่ถูกนินทา เข้าถึงพรหมสถาน (พระมหาสัตว์สรภังคดาบสทราบว่า พระราชาทั้ง ๓ พระองค์ละความกาหนัดยินดีในเบญจกามคุณได้แล้ว จึงกล่าวคาถาด้วยอานาจความร่าเริงของพระราชาเหล่านั้นว่า)
  • 6. 6 [๘๖] ขอถวายพระพรมหาบพิตรอัฏฐกะ การเสด็จมาของพระองค์ ของพระเจ้าภีมรถ และของพระเจ้ากาลิงคะผู้มีพระยศระบือไปทั่ว ได้มีความสาเร็จอย่างใหญ่หลวง ทุกพระองค์ทรงละกามราคะได้แล้ว (พระราชาทั้งหลายทรงชมเชยพระมหาสัตว์สรภังคดาบสว่า) [๘๗] พระคุณเจ้ารู้จิตของผู้อื่นว่า โยมทุกคนละกามราคะได้แล้ว ข้อนั้นเป็ นจริงอย่างนั้นแหละ ขอพระคุณเจ้าจงกระทาโอกาสเพื่ออนุเคราะห์ โดยประการที่โยมทุกคนจะบรรลุถึงคติของพระคุณเจ้าเถิด (พระมหาสัตว์สรภังคดาบสให้โอกาสแก่พระราชาทั้ง ๓ พระองค์ว่า) [๘๘] อาตมาจะกระทาโอกาสเพื่ออนุเคราะห์ เพราะมหาบพิตรทั้งหลายทรงละกามราคะได้แล้วอย่างแท้จริง ขอมหาบพิตรทั้งหลายทรงแผ่ปีติที่ไพบูลย์ให้แผ่ซ่านไปทั่วพระวรกาย โดยประการที่จะบรรลุถึงคติของอาตมาเถิด (พระราชาเหล่านั้นเมื่อจะทรงยอมรับ จึงได้ตรัสว่า) [๘๙] ท่านผู้มีปัญญาเพียงดังแผ่นดิน พระคุณเจ้าจะกล่าวคาใดใด โยมทั้งหลายจะกระทาตามคาพร่าสอนของพระคุณเจ้านั้นทุกอย่าง จะแผ่ปีติที่ไพบูลย์ไปทั่วกาย โดยประการที่จะบรรลุถึงคติของพระคุณเจ้า (ลาดับนั้น พระมหาสัตว์สรภังคดาบสให้พระราชาเหล่านั้นพร้อมทั้งพลนิกายบวช เมื่อจะส่งหมู่ฤๅษีไป จึงกล่าวว่า) [๙๐] ท่านผู้เจริญทั้งหลาย พวกเราทาการบูชา กีสวัจฉดาบสอย่างนี้แล้ว ขอฤๅษีทั้งหลายผู้เป็นคนดี จงไปยังที่อยู่ของตนเถิด ท่านทั้งหลายจงยินดีในฌาน มีจิตตั้งมั่นในกาลทุกเมื่อ ความยินดีนั้นเป็ นคุณชาติประเสริฐสุดสาหรับบรรพชิต (พระศาสดาทรงทราบความนี้แล้วได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า) [๙๑] ครั้นได้สดับคาถาซึ่งประกอบด้วยประโยชน์อย่างยิ่ง ที่ฤๅษีผู้เป็นบัณฑิตกล่าวดีแล้ว เทวดาทั้งหลายผู้มียศเหล่านั้น เกิดปีติและโสมนัสอนุโมทนาอยู่ ได้พากันหลีกไปยังเทพบุรี [๙๒] คาถาที่ฤๅษีผู้เป็นบัณฑิตกล่าวดีแล้วเหล่านี้ มีอรรถและพยัญชนะอันดีงาม ผู้ใดผู้หนึ่งพึงสดับคาถาเหล่านั้นให้เป็ นประโยชน์ พึงได้คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลาย ครั้นได้แล้ว พึงบรรลุสถานที่ที่พญามัจจุราชมองไม่เห็น (พระศาสดาครั้นทรงรวบยอดเทศนาด้วยพระอรหัตอย่างนี้แล้วประกาศสัจจะทั้งห ลาย ทรงประชุมชาดกว่า) [๙๓] สาลิสสรดาบสคือสารีบุตร เมณฑิสสรดาบสคือกัสสปะ ปัพพตดาบสคืออนุรุทธะ เทวิลดาบสคือกัจจายนะ
  • 7. 7 [๙๔] อนุสิสสดาบสคืออานนท์ กีสวัจฉดาบสคือโกลิตะ นารทดาบสคืออุทายีเถระ บริษัททั้งหลายคือพุทธบริษัท ส่วนสรภังคโพธิสัตว์คือเราตถาคต เธอทั้งหลายจงทรงจาชาดกไว้อย่างนี้แล สรภังคชาดกที่ ๒ จบ --------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา สรภังคชาดก ว่าด้วย สรภังคดาบสเฉลยปัญหา พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภการปรินิพพานของพระมหาโมคคัลลานะ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ได้ยินว่า พระสารีบุตรเถระกราบทูลให้พระตถาคตเจ้า ซึ่งประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงอนุญาตการปรินิพพานแล้ว เดินทางไปปรินิพพาน ณ ห้องที่ตนเกิดในนาลันทคาม. พระศาสดาทรงสดับข่าวว่า พระสารีบุตรปรินิพพานแล้วจึงเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ ประทับอยู่ในพระเวฬุวันวิหาร. คราวนั้น พระมหาโมคคัลลานเถระอยู่ที่กาฬศิลาประเทศ ข้างภูเขาอิสิคิลิ. ก็ท่านพระมหาโมคคัลลานะนั้นเที่ยวไปยังเทวโลกบ้าง อุสสทนรกบ้าง ด้วยความเป็ นผู้ถึงที่สุดด้วยกาลังฤทธิ์. ท่านเห็นอิสริยยศใหญ่ของพุทธสาวกในเทวโลก เห็นทุกข์ใหญ่หลวงของติตถิยสาวกในอุสสทนรก แล้วกลับมายังมนุษยโลก แจ้งแก่มนุษย์ทั้งหลายว่า อุบาสกคนโน้นและอุบาสิกาคนโน้นบังเกิดเสวยมหาสมบัติในเทวโลกชื่อโน้น สาวกของเดียรถีย์คนโน้นกับคนโน้นบังเกิดที่นรกเป็นต้น ในอบายชื่อโน้น. มนุษย์ทั้งหลายพากันเลื่อมใสในพระศาสนา ละเลยพวกเดียรถีย์เสีย ลาภสักการะใหญ่หลวงได้มีแก่สาวกของพระพุทธเจ้า ลาภสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมลง. พวกเดียรถีย์เหล่านั้นจึงพากันผูกอาฆาตในพระเถระว่า เมื่อพระเถระนี้ยังมีชีวิตอยู่ อุปัฏฐากของพวกเราก็แตกแยก ทั้งลาภสักการะก็เสื่อมลง พวกเราจักฆ่าพระเถระให้ตาย. พวกเดียรถีย์ทั้งหลายจึงจ้างโจรชื่อสมณกุตต์ เป็ นเงินพันหนึ่งเพื่อให้ฆ่ าพระเถระ.
  • 8. 8 โจรสมณกุตต์คิดว่า เราจักฆ่าพระเถระให้ตายจึงไปยังถ้ากาฬศิลา พร้อมด้วยสมุนโจรเป็นอันมาก. พระเถระเห็นโจรสมณกุตต์กาลังเดินมา จึงเหาะหลบหลีกไปเสียด้วยฤทธิ์. วันนั้นโจรเห็นพระเถระเหาะไปจึงกลับเสีย ได้มาติดๆ กัน ทุกๆ วันรุ่งขึ้น รวม ๖ วัน. ฝ่ายพระเถระก็หลบหลีกไปด้วยฤทธิ์ ดังที่เคยมา. แต่ในวันที่เจ็ด อปราปรเวทนียกรรมที่พระเถระทาไว้ในปางก่อนได้โอกาส. ได้ยินว่า ในชาติก่อน พระเถระเชื่อถ้อยคาของภรรยาประสงค์จะฆ่ามารดาบิดาให้ตาย จึงนาไปสู่ป่าด้วยยานน้อย ทาอาการดุจโจรตั้งขึ้น แล้วโบยตีมารดาบิดา. มารดาบิดาทั้งสองมองไม่เห็นอะไร เพราะมีจักษุพิการ จาบุตรของตนนั้นไม่ได้ โดยสาคัญว่า นั่นเป็นพวกโจร ต่างปริเทวนาการเพื่อประโยชน์ต่อบุตรอย่างเดียวว่า ลูกเอ๋ย ให้โจรพวกโน้นมันฆ่าพ่อฆ่าแม่เถิด เจ้าจงหลบเอาตัวรอดเถิด. บุตรชายคิดว่า มารดาบิดาของเราทั้งสองท่านนี้ แม้จะถูกเราทุบตีก็ยังร่าไรราพัน เพื่อประโยชน์แก่เราผู้เดียว เราทากรรมอันไม่สมควรเลย. ลาดับนั้น เขาจึงปลอบโยนมารดาบิดา แสดงอาการดุจพวกโจรหนีไป แล้วนวดฟั้นมือเท้าของท่านทั้งสองพูดว่า คุณแม่คุณพ่ออย่ากลัวเลย พวกโจรหนีไปแล้ว แล้วนากลับมายังเรือนของตนตามเดิม. กรรมนั้นไม่ได้โอกาสตลอดเวลามีประมาณเท่านี้ ตั้งอยู่เหมือนกองเพลิงถูกเถ้ากลบไว้เฉพาะหน้า แล้ววิ่งเข้าสู่สรีระอันไม่มีที่สุดนี้. ก็กรรมนี้ได้โอกาสในที่ใดย่อมให้ผลในที่นั้น เปรียบเหมือนสุนัขอันนายพรานพบเนื้อแล้วปล่อยให้ไล่ติดตามเนื้อ ทันกันในที่ใดก็กัดในที่นั้นฉะนั้น ขึ้นชื่อว่าผู้ที่จะพ้นจากกรรมนั้นได้ไม่มีเลย. พระเถระรู้ว่า กรรมที่ตนทาไว้หน่วงเหนี่ยวจึงมิได้หลบหลีกต่อไป เพราะผลของกรรมนั้น พระเถระจึงไม่สามารถจะเหาะไปในอากาศได้. ฤทธิ์ของพระเถระแม้สามารถทรมานนันโทปนันทนาคราช แลสามารถยังเวชยันตปราสาทให้หวั่นไหว ก็ถึงความทุรพลเพราะกาลังแห่งกรรม. โจรจับพระเถระได้ ทุบจนกระดูกของพระเถระ มีขนาดเท่าเมล็ดข้าวสารแหลกละเอียดไป เหมือนบดฟางให้เป็ นแป้ งฉะนั้น แล้วโยนไปที่หลังพุ่มไม้แห่งหนึ่ง ด้วยสาคัญว่าตายแล้ว พร้อมด้วยสมุนโจรหลีกกลับไป. ฝ่ายพระเถระกลับได้สติ แล้วคิดว่า เราจักถวายบังคมลาพระศาสดาก่อน จึงจักปรินิพพานดังนี้
  • 9. 9 แล้วเยียวยาอัตภาพด้วยฌานทาให้มั่นคง แล้วเหาะไปยังสานักของพระศาสดาทางอากาศ ถวายบังคมพระศาสดา แล้วทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อายุสังขารของข้าพระองค์ถดถอยแล้ว ข้าพระองค์จักปรินิพพาน. พระศาสดาตรัสถามว่า ดูก่อนโมคคัลลานะ เธอจักปรินิพพานหรือ? ทูลตอบว่า พระพุทธเจ้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ. ตรัสถามว่า เธอจักไปปรินิพพานที่ไหน? ทูลตอบว่า ที่แผ่นหินในถ้ากาฬศิลา พระเจ้าข้า. ตรัสว่า โมคคัลลานะ ถ้าเช่นนั้นเธอจงกล่าวธรรมแก่เราก่อน แล้วค่อยไป เพราะบัดนี้ การที่จะได้เห็นสาวกเช่นเธอ ไม่มีอีกแล้ว. พระมหาโมคคัลลานะทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักกระทาตามพระพุทธดารัส แล้วเหาะขึ้นไปบนอากาศ สูงชั่วต้นตาล แสดงฤทธิ์มีประการต่างๆ เหมือนพระสารีบุตรเถระในวันที่จะปรินิพพาน กล่าวธรรมกถา ถวายบังคมพระบรมศาสดา แล้วปรินิพพาน ณ ดงในกาฬศิลาประเทศ. ในทันใดนั้นเอง ชาวเทวโลกทั้ง ๖ ชั้นเกิดโกลาหลเป็นอันเดียวกันว่า ข่าวว่า อาจารย์ของพวกเราปรินิพพานแล้ว ต่างถือของหอม มาลา ธูป เครื่องอบและจันทน์จุรณอันเป็นทิพย์ ทั้งฟืนนานาชนิดมา(ประชุมกันแล้ว). จิตกาธานแล้วด้วยจันทน์แดงสูง ๙๙ ศอก. พระศาสดาประทับอยู่ใกล้ๆ ศพพระเถระ ตรัสสั่งให้จัดการปลงศพของพระเถระ. รอบๆ สุสาน ฝนดอกไม้โปรยตกลงมาในที่ประมาณโยชน์หนึ่ง ได้มีมนุษย์อยู่ระหว่างเทวดา เทวดาอยู่ระหว่างมนุษย์ ถัดเทวดาโดยลาดับพวกยักษ์ยืนอยู่ ถัดพวกยักษ์มาก็เป็นพวกคนธรรพ์ ถัดจากพวกคนธรรพ์มาเป็นพวกนาค ถัดจากพวกนาคมาเป็นพวกครุฑ ถัดจากพวกครุฑมาเป็นพวกกินนรา ถัดจากพวกกินนรามาเป็นพวกกินนร ถัดจากพวกกินนรมาก็เป็นฉัตร ถัดจากฉัตรออกมาเป็นสุวรรณจามร ถัดจากสุวรรณจามรออกมาเป็นธงชัย ถัดธงชัยออกมาเป็นธงแผ่นผ้า. ผู้ที่มาประชุมทุกเหล่า บรรดามีต่างเล่นสาธุกีฬาอยู่ตลอดเจ็ดวัน. พระศาสดาตรัสสั่งให้เก็บธาตุของพระเถระมาทาเจดีย์บรรจุไว้ที่ซุ้มปร ะตู พระเวฬุวันวิหาร. กาลนั้น ภิกษุทั้งหลายสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย พระสารีบุตรเถระไม่ได้รับความยกย่องอย่างใหญ่หลวง ในสานักของพระพุทธเจ้า เพราะมิได้ปรินิพพานในที่ใกล้พระตถาคตเจ้า พระมหาโมคคัลลานเถระได้รับเกียรติอย่างยิ่งใหญ่
  • 10. 10 เพราะปรินิพพานในที่ใกล้พระพุทธเจ้า. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอประชุมสนทนากันด้วยเรื่องอะไร? เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย พระโมคคัลลานะมิใช่จะได้สัมมานะจากสานักของเรา ในชาตินี้เท่านั้นก็หามิได้ แม้ในชาติก่อน เธอก็ได้แล้วเหมือนกัน แล้วทรงนาอดีตนิทานมาตรัส ดังต่อไปนี้ ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิในครรภ์ของนางพราหมณี ภรรยาของปุโรหิตได้สิบเดือนก็คลอดจากครรภ์มารดาในเวลาใกล้รุ่ง. ขณะนั้น อาวุธทั้งปวงในพระนครพาราณสีมีอาณาเขต ๑๒ โยชน์ก็ลุกโพลงขึ้น. ในขณะที่บุตรคลอด ปุโรหิตออกมาภายนอกแลดูอากาศ เห็นนิมิตเครื่องประกอบนักษัตร ก็รู้ว่า กุมารนี้จักเป็ นผู้เลิศกว่านายขมังธนูทั้งปวงในชมพูทวีปทั้งสิ้น เพราะเป็นผู้ที่เกิดโดยนักษัตรนี้ จึงไปยังราชตระกูลแต่เช้าตรู่ กราบทูลถามถึงความที่พระราชาบรรทมเป็นสุข. เมื่อพระราชาตรัสว่า ดูก่อนท่านอาจารย์ ความสุขจะมีมาแต่ไหน ในวันนี้อาวุธในพระราชวังทั้งหมดโพลงไปหมด จึงกราบทูลว่า ขอเดชะ พระองค์อย่าตกพระทัยกลัว ใช่ว่าอาวุธจะโพลงเฉพาะในพระราชวังก็หามิได้ แม้ในพระนครก็โพลงไปสิ้นทุกแห่งเหมือนกัน ที่ได้เป็นอย่างนี้ เพราะวันนี้ กุมารเกิดในเรือนของข้าพระพุทธเจ้า. พระราชาตรัสว่า ท่านอาจารย์กุมารที่เกิดแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างไร? ปุโรหิตกราบทูลว่า ขอเดชะ ข้าแต่มหาราชเจ้า ไม่มีอะไรดอกพระพุทธเจ้าข้า แต่ว่ากุมารนั้นจักได้เป็ นยอดแห่งนายขมังธนู ในชมพูทวีปทั้งสิ้น. พระราชาตรัสว่า ดีละท่านอาจารย์ ถ้าเช่นนั้นท่านจงประคบประหงมกุมารนั้น แล้วยกให้เราในเวลาที่เขาเจริญวัย ดังนี้แล้ว ตรัสสั่งให้พระราชทานทรัพย์พันหนึ่งเป็ นค่าน้านมก่อน. โชติปาละปุโรหิตนั้นรับทรัพย์ไปเรือนมอบให้นางพราหมณี ในวันตั้งชื่อลูกชายได้ขนานนามว่า โชติปาละ เพราะในขณะที่คลอดอาวุธโพลงทั่ ว. โชติปาลกุมารเจริญวัย ด้วยบริวารเป็ นอันมาก ในคราวอายุครบ ๑๖ ปี เป็นผู้มีรูปทรงอุดมได้ส่วนสัด บิดาของโชติปาลกุมาร มองดูสรีรสมบัติจึงมอบทรัพย์ให้พันหนึ่ง บอกว่า ลูกเอ๋ย เจ้าจงไปเมืองตักกสิลา เรียนศิลปศาสตร์ในสานักของอาจารย์ทิศาปาโมกข์เถิด.
  • 11. 11 โชติปาลกุมารรับคาแล้ว ถือเอาทรัพย์ส่วนของอาจารย์ ไหว้มารดาบิดา ลาไปในเมืองตักกสิลานั้น มอบทรัพย์ให้อาจารย์พันหนึ่งแล้ว เริ่มเรียนศิลปวิทยา ถึงความสาเร็จโดยสัปดาห์เดียวเท่านั้น. ลาดับนั้น อาจารย์ก็ยินดี จึงให้พระขรรค์แก้ว ธนูเขาแพะ แล่งธนูอันประกอบต่อกันซึ่งเป็ นของตน กับเสื้อเกราะ และกรอบหน้าของตน แล้วมอบมาณพทั้งห้าร้อยแก่โชติปาลกุมารนั้นว่า พ่อโชติปาละ อาจารย์แก่แล้ว บัดนี้เธอจงช่วยฝึกสอนมาณพเหล่านี้ด้วยเถิด. พระโพธิสัตว์รับเครื่องอุปกรณ์ทุกอย่างแล้วกราบลาอาจารย์ เดินทางมุ่งมายังพระนครพาราณสี เยี่ยมมารดาบิดายืนอยู่. ลาดับนั้น ปุโรหิตผู้บิดาจึงถามโชติปาลกุมารซึ่งไหว้แล้วยืนอยู่ว่า ลูกรัก เจ้าเรียนศิลปวิทยาจบแล้วหรือ? เขาตอบว่า ขอรับคุณพ่อ. ปุโรหิตบิดาฟังคาตอบแล้วไปยังราชตระกูล กราบทูลว่า ขอเดชะ บุตรของข้าพระพุทธเจ้าเรียนศิลปวิทยากลับมาแล้ว เขาจะทาอะไร พระพุทธเจ้าข้า? พระราชาตรัสว่า ท่านอาจารย์ เขาจงมาบารุงเราเถิด. ทูลว่า ขอเดชะพระอาญาไม่พ้นเกล้า พระองค์โปรดทรงคานึงถึงเบี้ยเลี้ยงสาหรับบุตรของข้าพระพุทธเจ้า. ตรัสว่า เขาจะได้เบี้ยเลี้ยงพันหนึ่งทุกๆ วัน. ปุโรหิตรับพระดารัสแล้ว จึงไปเรือนให้เรียกกุมารมาสั่งว่า ลูกรัก เจ้าจงบารุงรับใช้พระราชาเถิด. นับแต่นั้นมา โชติปาลกุมารก็บารุงพระราชาได้ทรัพย์วันละพันทุกวัน. ข้าราชบาทมูลิกาทั้งหลายพากันโพนทะนาว่า พวกเรายังไม่เห็นการงานที่โชติปาละกระทา แต่เขารับเบี้ยเลี้ยงวันละพันทุกๆ วัน พวกเราอยากจะเห็นศิลปะของเขา. พระราชาทรงสดับถ้อยคาของชนพวกนั้น จึงตรัสบอกปุโรหิต. ปุโรหิตรับสนองพระราชดารัสว่า ขอเดชะ ดีแล้วพระพุทธเจ้าข้า แล้วแจ้งแก่บุตรของตน. โชติปาลกุมารพูดว่า ดีแล้วขอรับคุณพ่อ ในวันที่เจ็ดนับแต่วันนี้ไป ผมจักแสดงศิลปะ อนึ่ง ขอพระราชาโปรดตรัสสั่งให้นายขมังธนู ในแว่นแคว้นของพระองค์มาประชุมกัน. ปุโรหิตได้ฟังดังนั้น จึงไปกราบทูลเนื้อความนั้นแก่พระราชา. พระราชาโปรดให้ตีกลองเที่ยวป่าวร้องไปในพระนคร แล้วมีพระราชโองการให้นายขมังธนูมาประชุมกัน. นายขมังธนูจานวนหกหมื่นคนมาประชุมพร้อมกัน. พระราชาทรงทราบว่า พวกนายขมังธนูประชุมพร้อมแล้ว จึงโปรดให้ตีกลองเที่ยวประกาศว่า ชาวพระนครทั้งหลายจงไปดูศิลปะของโชติปาลกุมาร
  • 12. 12 แล้วให้ตระเตรียมพระลานหลวง แวดล้อมไปด้วยมหาชน ประทับนั่งเหนือบัลลังก์อันประเสริฐ แล้วทรงส่งราชบุรุษให้ไปเชิญโชติปาลกุมารว่า เจ้าโชติปาลกุมารจงมาเถิด. โชติปาลกุมารจึงซ่อนธนู แล่งธนู เสื้อเกราะ และอุณหิสที่อาจารย์ให้ไว้ในระหว่างผ้านุ่ง ให้คนถือพระขรรค์ แล้วเดินมายังสานักพระราชา ด้วยท่าทางปกติ ได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. พวกนายขมังธนูทาการนัดหมายกันว่า เขาว่าโชติปาลกุมารจะมาเพื่อแสดงศิลปะคือธนู แต่ไม่ถือธนูมา คงอยากจะเอาธนูจากมือของพวกเรา พวกเราอย่าให้ธนูแก่เขา. พระราชาตรัสเรียกโชติปาลกุมารมารับสั่งว่า เจ้าจงแสดงศิลปะเถิด. โชติปาลกุมารจึงให้กั้นม่านแล้วยืนภายในม่าน คลี่ผ้าสาฎกออก สวมเกราะ สอดเสื้อแล้วสวมอุณหิสบนศีรษะ ยกสายมีวรรณะดุจแก้วประพาฬที่ธนูเขาแพะขึ้นแล้ว ผูกแล่งธนูไว้เบื้องหลัง เหน็บพระขรรค์ไว้เบื้องหน้า เอาหลังเล็บควงลูกธนูมีปลายดุจเพชร แหวกม่านออกมา คล้ายนาคกุมารผู้ประดับตกแต่งแล้วชาแรกแผ่นดินออกมาฉะนั้น เดินไปแสดงความนอบน้อมแด่พระราชายืนอยู่. มหาชนเห็นกุมารนั้นแล้ว ต่างโห่ร้องบันลือปรบมือกันอึงมี่. พระราชาตรัสว่า ดูก่อนเจ้าโชติปาละ เจ้าจงแสดงศิลปะเถิด. โชติปาลกุมารทูลว่า ขอเดชะ พระอาญาไม่พ้นเกล้า บรรดานายขมังธนูของพระองค์ โปรดรับสั่งให้มา ๔ คน คือคนที่ยิงไวดุจฟ้ าแลบ คนที่ยิงแม่นแม้ขนทรายก็ไม่ผิด คนที่ยิงตามเสียงที่ได้ยิน และคนที่ยิงสวนไปตามลูกศรที่ยิงมา. พระราชาก็โปรดให้เรียกมา. พระมหาสัตว์จัดทามณฑปภายในที่กาหนดสี่เหลี่ยมในพระลานหลวง ให้นายขมังธนูทั้งสี่ยืนอยู่ทั้งสี่มุม แล้วให้ลูกธนูสามหมื่นแก่นายขมังธนูคนหนึ่งๆ ให้คนที่จะส่งลูกธนูยืนอยู่ใกล้ๆ นายขมังธนูคนหนึ่งๆ แล้วตนเองถือเอาลูกธนูมีปลายดุจเพชร ยืนอยู่ท่ามกลางมณฑป. กราบทูลพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช นายขมังธนูทั้งสี่เหล่านี้ จงปล่อยลูกธนูยิงข้าพระพุทธเจ้าพร้อมกันเถิด ข้าพระพุทธเจ้าจักห้ามลูกธนูที่พวกเขายิงมา. พระราชาทรงรับสั่งบังคับว่า พวกท่านจงกระทาอย่างนี้. พวกนายขมังธนูจึงกราบทูลว่า ขอเดชะ พระมหาราชเจ้า พวกข้าพระพุทธเจ้าเป็นนายขมังธนูผู้ยิงเร็วดุจฟ้ าแลบ ยิงแม่นแม้ขนทรายก็ไม่ผิด ยิงตามเสียงที่ได้ยิน และยิงสวนไปตามลูกศรที่ยิงมา
  • 13. 13 โชติปาละเป็นเด็กหนุ่ม พวกข้าพระพุทธเจ้าจักยิงหาได้ไม่. พระมหาสัตว์จึงกล่าวว่า ถ้าพวกท่านสามารถ ก็เชิญยิงข้าพเจ้าได้. นายขมังธนูเหล่านั้นรับว่าดีแล้ว จึงยิงลูกธนูไปพร้อมกัน. พระมหาสัตว์เอาลูกศรปัดลูกธนูเหล่านั้น ให้ตกลงโดยแนบเนียน เหมือนแวดวงซุ้มโพธิพฤกษ์ ซัดดอกธนูไปตามดอกธนู ตัวลูกธนูไปตามลูกธนู พู่ลูกธนูไปตามพู่ลูกธนู ไม่ให้ก้าวก่ายกัน ได้กระทาดุจเป็ นห้องลูกธนู จนลูกธนูของนายขมังธนูทั้งหมดหมดสิ้น. พระมหาสัตว์รู้ว่า ลูกธนูของพวกนายขมังธนูหมดแล้ว ไม่ยังห้องลูกธนูให้ทลาย กระโดดขึ้นไปยืนเฝ้ าอยู่ใกล้ๆ พระราชา. มหาชนต่างโห่ร้องบันลือ ปรบมือเกรียวกราว ดีดนิ้วมือ ทามหาโกลาหลโยนผ้าและเครื่องอาภรณ์ขึ้นไปจนมีทรัพย์นับได้ถึง ๑๘ โกฏิเป็นกองอยู่อย่างนี้. ลาดับนั้น พระราชาจึงตรัสถามโชติปาลกุมารว่า ดูก่อนพ่อโชติปาละ นี่ชื่อศิลปะอะไร? กราบทูลว่า ขอเดชะ ชื่อสรปฏิพาหนะ เครื่องห้ามลูกศร พระพุทธเจ้าข้า. ตรัสถามว่า คนอื่นๆ ผู้รู้อย่างนี้มีหรือ? ทูลว่า ขอเดชะ เว้นข้าพระพุทธเจ้าเสียแล้ว คนอื่นในชมพูทวีปทั้งสิ้นไม่มีเลย พระพุทธเจ้าข้า. ตรัสว่า พ่อโชติปาละ เจ้าจงแสดงศิลปะอื่นบ้าง. กราบทูลว่า ขอเดชะ ถ้านายขมังธนูทั้งสี่นายยืนอยู่ที่มุมทั้งสี่ ไม่สามารถจะยิงข้าพระพุทธเจ้าได้ไซร้ แต่ข้าพระพุทธเจ้าจักยิงพวกนี้ซึ่งยืนอยู่ ณ มุมทั้งสี่ด้วยลูกธนูลูกเดียวเท่านั้น. พวกนายขมังธนูไม่กล้าพอ ที่จะยืนอยู่ได้. พระมหาสัตว์จึงให้ปักต้นกล้วยไว้ที่มุมทั้งสี่ สี่ต้นแล้วผูกด้ายแดงที่ตัวลูกธนู ยิงไปหมายกล้วยต้นหนึ่ง ลูกธนูแทงกล้วยต้นที่หนึ่ง ทะลุไปถึงต้นที่สองที่สามที่สี่ แล้วทะลุถึงต้นแรกที่แทง แล้วออกมาตั้งอยู่ในมือตามเดิม ต้นกล้วยทั้งหลายอันด้ายร้อยแล้ว ยังตั้งอยู่ได้. มหาชนบันลือเสียงสนั่นหวั่นไหว นับเป็นพัน. พระราชาตรัสถามว่า นี้ชื่อศิลปะอะไรพ่อ? พระมหาสัตว์ทูลตอบว่า ขอเดชะ ชื่อจักกวิทธศิลปะแทงจักร พระพุทธเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า เจ้าจงแสดงศิลปะแม้อย่างอื่นเถิดพ่อ. พระมหาสัตว์จึงแสดงศิลปะชื่อสรลัฏฐิ คือศิลปะไม้เท้าแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรรัชชุ คือศิลปะรูปเชือกแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรเวณิ คือศิลปะมวยผมแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรปาสาทะ คือศิลปะรูปปราสาทลูกศร ชื่อสรมัณฑปะ คือศิลปะรูปมณฑปลูกศร
  • 14. 14 ชื่อสรโสปาณะคือศิลปะรูปบันไดลูกศร ชื่อสรมัณฑละ คือศิลปะรูปสนามแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรปาการะ คือศิลปะรูปกาแพงแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรวนะ คือศิลปะรูปป่าแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรโปกขรณี คือศิลปะรูปสระโบกขรณีแล้วด้วยลูกศร ชื่อสรปทุมะ คือศิลปะรูปดอกบัวแล้วด้วยลูกศร ยังศิลปะชื่อสรปุปผะ คือรูปดอกไม้แล้วด้วยลูกศรให้บาน ยังศิลปะชื่อสรวัสสะ คือรูปฝนแล้วด้วยลูกศรให้ตก. ครั้นพระมหาสัตว์แสดงศิลปะสิบสองอย่างเหล่านี้อันไม่ทั่วไปด้วยชนเ หล่าอื่นอย่างนี้แล้ว ทาลายชุมนุมใหญ่เจ็ดครั้งอันไม่ทั่วไปด้วยชนเหล่าอื่นอีก. พระมหาสัตว์ยิงแผ่นไม้สะแกหนา ๘ นิ้ว ยิงแผ่นไม้ประดู่หนา ๔ นิ้ว ยิงแผ่นทองแดงหนา ๒ นิ้ว ยิงแผ่นเหล็กหนา ๑ นิ้ว ยิงแผ่นกระดาน ๑๐๐ ครั้งให้ติดเนื่องเป็นอันเดียวกัน แล้วยิงลูกธนูไปทางเบื้องหน้าเกวียนบรรทุกใบไม้ เกวียนบรรทุกทรายและเกวียนบรรทุกแผ่นกระดานให้ทะลุออกทางเบื้องหลัง ยิงลูกศรไปทางเบื้องหลังให้ทะลุออกไปโดยทางหน้า ยิงลูกธนูไปยังที่ ๔ อุสภะในน้า ๘ อุสภะบนบก ยิงขนทรายในที่สุดแห่งอุสภะ ด้วยสัญญาผลมะแว้งเครือ. เมื่อโชติปาลกุมารแสดงศิลปะมีประมาณเท่านี้อยู่ พระอาทิตย์อัสดงคตไปแล้ว. ลาดับนั้น พระราชาตรัสสั่งให้กาหนดตาแหน่งเสนาบดีแก่เขา ตรัสว่า พ่อโชติปาละ วันนี้ค่าเสียแล้ว พรุ่งนี้เจ้าจักได้รับสักการะคือตาแหน่งเสนาบดี เจ้าจงไปตัดผม โกนหนวด อาบน้าแล้วมาเถิด ดังนี้แล้วได้พระราชทานทรัพย์แสนหนึ่งเพื่อเป็ นค่าเบี้ยเลี้ยงไปในวันนั้น. พระมหาสัตว์คิดว่า เราไม่มีความต้องการด้วยทรัพย์จานวนนี้ จึงคืนทรัพย์จานวน ๑๘ โกฏิแก่พวกเจ้าของ แล้วไปอาบน้ากับบริวารเป็ นอันมาก ให้ช่างตัดผมโกนหนวด อาบน้าประดับด้วยสรรพาลังการ แล้วเข้าไปยังเรือนด้วยสิริอันหาที่เปรียบมิได้ บริโภคโภชนะมีรสเลิศต่างๆ เสร็จแล้วขึ้นนอนยังที่นอนอันมีสิริ นอนตลอดสองยาม. ตื่นในเวลาปัจฉิมยาม ลุกขึ้นนั่งคู้บัลลังก์บนหลังที่นอน ตรวจดูเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุดแห่งศิลปะของตน พลางราพึงว่า การยังผู้อื่นให้ตายย่อมปรากฏแต่ตอนต้นแห่งศิลปะของเรา การบริโภคใช้สอยด้วยอานาจแห่งกิเลสปรากฏในท่ามกลาง การปฏิสนธิในนรกปรากฏในที่สุด ก็ปาณาติบาตกับความประมาท เพราะมัวเมายิ่งในการบริโภคใช้สอยด้วยอานาจกิเลส ย่อมให้ซึ่งปฏิสนธิในนรก
  • 15. 15 พระราชาทรงพระราชทานตาแหน่งเสนาบดีอันยิ่งใหญ่แก่เรา เราก็จักเป็นผู้มีอิสริยยศใหญ่ ภรรยาและบุตรธิดาก็จักมีมากมาย ก็วัตถุอันเป็นที่ตั้งของกิเลสอันถึงความไพบูลย์แล้วเป็ นของละได้โดยยาก ควรที่เราจะออกไปสู่ป่าเพียงผู้เดียวแล้วบวชเป็นฤาษีเสียในบัดนี้ทีเดียว. จึงลุกขึ้นจากที่นอนใหญ่ ไม่ให้ใครทราบลงจากปราสาท ออกทางประตูด้านอัครทวาร เข้าสู่ป่าลาพังผู้เดียว เดินมุ่งหน้าไปยังป่ามะขวิดใหญ่สามโยชน์ ใกล้ฝั่งแม่น้าโคธาวรี. ท้าวสักกเทวราชทรงทราบว่า โชติปาลกุมารนั้นออกแล้ว จึงตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมาตรัสสั่งว่า พ่อคุณ เจ้าโชติปาลกุมารออกอภิเนษกรมณ์จักมีสมาคมใหญ่ เธอจงไปเนรมิตอาศรมที่กปิฏฐวัน ใกล้ฝั่งแม่น้าโคธาวดี และตระเตรียมบริขารของบรรพชิตไว้ให้เสร็จ. วิสสุกรรมเทพบุตรนั้นได้กระทาตามเทวบัญชาทุกประการ. พระมหาสัตว์ถึงสถานที่นั้นแล้ว เห็นทางมีรอยเดินได้คนเดียว คิดว่าจะพึงมีสถานที่อยู่ของพวกบรรพชิตจึงเดินไปที่กปิฏฐวันตามทางนั้น ก็ไม่พบใคร จึงเข้าไปสู่บรรณศาลา เห็นบริขารของพวกบรรพชิต คิดว่า ชะรอยท้าวสักกเทวราชจะทรงทราบว่าเราออกอภิเนษกรมณ์ จึงเปลื้องผ้าสาฎกออก นุ่งห่มคากรองสีแดง กระทาหนังเสือเหลือง เฉวียงบ่าข้างหนึ่งมุ่นมณฑลชฎา ยกหาบหนักข้างหนึ่งไว้บนบ่า ถือไม้เท้าคนแก่ ออกจากบรรณศาลา ขึ้นสู่ที่จงกรมแล้วจงกรมไปๆ มาสิ้นวาระเล็กน้อย ยังป่าให้งดงามด้วยสิริคือบรรพชา กระทากสิณบริกรรม จาเดิมแต่กาลที่บวชแล้ว ในวันที่เจ็ดยังสมาบัติ ๘ อภิญญา ๕ ให้บังเกิด เป็นผู้มีผลหมากรากไม้ในป่าเป็ นอาหารด้วยอุญฉาจาริยวัตร อยู่แต่ผู้เดียวเท่านั้น. มารดาบิดามิตรสหายเป็นต้น แม้พวกญาติของโชติปาลกุมารนั้น เมื่อไม่เห็นโชติปาลกุมารต่างร่าไห้ปริเทวนาการเที่ยวไป. ลาดับนั้น พรานป่าคนหนึ่งเข้าไปสู่ป่า พบพระมหาสัตว์นั่งอยู่ในอาศรมบท ณ กปิฏฐวัน จาพระมหาสัตว์ได้ ทาการปฏิสัณฐานกับพระมหาสัตว์แล้ว กลับไปยังพระนคร บอกมารดาบิดาของท่านให้ทราบ. มารดาบิดาของพระมหาสัตว์จึงกราบทูลให้พระราชาทรงทราบ. พระราชาตรัสว่า มาเถิด เราจักไปเยี่ยมโชติปาลดาบสนั้น แล้วพามารดาบิดาของท่าน แวดล้อมด้วยมหาชน เสด็จถึงฝั่งแม่น้าโคธาวรี ตามทางที่นายพรานแสดง. พระโพธิสัตว์มายังฝั่งแม่น้า นั่งบนอากาศแสดงธรรม เชิญชนทั้งหมดเข้าไปสู่อาศรม นั่งบนอากาศนั่นแล
  • 16. 16 ประกาศโทษในกามทั้งหลายแล้วแสดงธรรมแก่ชนเหล่านั้นแม้ในที่นั้น. ชนทั้งหมดตั้งต้นแต่พระราชาไป พากันบวชสิ้น. พระโพธิสัตว์มีหมู่ฤาษีเป็นบริวาร อยู่ในที่นั้นแหละ ต่อมา ข่าวที่พระดาบสพานักอยู่ ณ ที่นั้นได้แพร่สะพัดไปในชมพูทวีปทั้งสิ้น. พระราชาองค์อื่นๆ พร้อมด้วยชาวแว่นแคว้น ก็พากันมาบวชในสานักของพระโพธิสัตว์นั้น นับเป็ นมหาสมาคมที่ยิ่งใหญ่ บริษัทแสนหนึ่งมิใช่น้อยได้มีแล้วโดยลาดับ. ผู้ใดตรึกกามวิตก พยาบาทวิตก หรือวิหิงสาวิตก พระมหาสัตว์ก็ไปในที่นั้นนั่งบนอากาศแสดงธรรม บอกกสิณบริกรรมข้างหน้าผู้นั้น. บริษัททั้งหลายตั้งอยู่ในโอวาทของพระมหาสัตว์ แล้วยังสมาบัติ ๘ ให้เกิดขึ้น ถึงความสาเร็จในฌาน. พระมหาสัตว์ได้มีอันเตวาสิกผู้ใหญ่ถึงเจ็ดท่าน คือสาลิสสระ ๑ เมณฑิสสระ ๑ ปัพพตะ ๑ กาลเทวละ ๑ กีสวัจฉะ ๑ อนุลิสสะ ๑ นารทะ ๑ ในเวลาต่อมา อาศรมในกปิฏฐวันก็เต็มบริบูรณ์. โอกาสที่อยู่ของหมู่ฤาษีไม่พอเพียง. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์จึงเรียกท่านสาลิสสระ มาสั่งว่า ท่านสาลิสสระ อาศรมนี้ไม่เพียงพอแก่หมู่ฤาษี ท่านจงพาหมู่ฤาษีนี้เข้าไปอาศัยลัมพจูลกนิคม ในแว่นแคว้นของพระเจ้าเมชฌราชอยู่เถิด. สาลิสสระดาบสรับคาของพระมหาสัตว์ว่าสาธุ แล้วพาหมู่ฤาษีพันเศษไปอยู่ในลัมพจูลกนิคมนั้น. เมื่อมนุษย์ทั้งหลายพากันมาบวชอยู่ อาศรมก็เต็มบริบูรณ์อีก พระโพธิสัตว์จึงเรียกท่านเมณฑิสสระมาสั่งว่า ท่านเมณฑิสสระ แม่น้าชื่อสาโตทกานที ระหว่างเขตแดนสุรัฏฐชนบทมีอยู่ ท่านจงพาหมู่ฤาษีนี้ไปอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้าสาโตทกานทีนั้นเถิด. โดยอุบายนั้นแหละ พระโพธิสัตว์เรียกปัพพตดาบสมาในวาระที่สามส่งไปว่า ท่านปัพพตะ ภูเขาชื่ออัญชนบรรพตมีอยู่ในดงใหญ่ ท่านจงเข้าไปอาศัยอัญชนบรรพตนั้นอยู่เถิด. ในวาระที่สี่ พระโพธิสัตว์เรียกกาลเทวลดาบสมาสั่งไปว่า ท่านกาลเทวละ ในแคว้นอวันตี ในทักขิณาชนบท มีภูเขาชื่อฆนเสลบรรพต ท่านจงเข้าไปอาศัยฆนเสลบรรพตนั้นอยู่เถิด อาศรมในกปิฏฐวันก็เต็มบริบูรณ์อีก ในสถานที่ทั้ง ๕ แห่งได้มีหมู่ฤาษีจานวนแสนเศษ. ส่วนกีสวัจฉดาบส อาลาพระมหาสัตว์ เข้าไปอาศัยท่านเสนาบดีอยู่ในพระราชอุทยาน ในกุมภวดีนคร
  • 17. 17 แว่นแคว้นของพระเจ้าทัณฑกีราช. ท่านนารทดาบสไปอยู่ที่เวิ้งเขาชื่ออัญชนคิรีในมัชฌิมประเทศ ส่วนอนุสิสสดาบสคงอยู่ในสานักของพระมหาสัตว์นั่นเอง. กาลครั้งนั้น พระเจ้าทัณฑกีราชทรงถอดหญิงแพศยาคนหนึ่ง ซึ่งได้สักการะแล้วจากตาแหน่ง นางเที่ยวไปตามธรรมดาของตน เดินไปสู่พระราชอุทยานพบท่านกีสวัจฉดาบส คิดว่า ดาบสผู้นี้คงจักเป็ นคนกาลกรรณี เราจักลอยตัวกลี ลงบนสรีระของดาบสผู้นี้ อาบน้าก่อนจึงจักไป ดังนี้แล้ว จึงเคี้ยวไม้สีฟัน แล้วถ่มเขฬะหนาๆ ลงบนสรีระของท่านดาบสนั้น ก่อนที่อื่นทั้งหมด แล้วถ่มลงไประหว่างชฎา แล้วโยนไม้สีฟันไปบนศีรษะของท่านกีสวัจฉดาบสนั้นอีก ตนเองสนานเกล้าแล้วไป. ต่อมาพระราชาทรงระลึกถึงนางแล้วจัดการสถาปนาไว้ตามเดิม. นางเป็ นคนหลงงมงาย ได้ทาความสาคัญว่า เพราะเราลอยตัวกลีไว้บนสรีระของคนกาลกรรณี พระราชาจึงทรงสถาปนาเราไว้ในตาแหน่งเดิม เราจึงกลับได้ยศอีก. ต่อมาไม่นานนัก พระราชาก็ทรงถอดปุโรหิตเสียจากฐานันดรศักดิ์ ปุโรหิตนั้นจึงไปยังสานักของหญิงคณิกานั้น ถามว่าเพราะเหตุไรท่านจึงได้ตาแหน่งคืน. ลาดับนั้น หญิงคณิกาจึงบอกว่า เพราะดิฉันลอยกลีโทษ บนสรีระของคนกาลกรรณีในพระราชอุทยาน. ปุโรหิตจึงไปลอยกลีโทษ บนสรีระของท่านกีสวัจฉดาบส อย่างนั้นเหมือนกัน พระราชาก็กลับทรงสถาปนาแม้ปุโรหิตนั้นไว้ในฐานันดรอีก. ในเวลาต่อมา ปลายพระราชอาณาเขตของพระเจ้าทัณฑกีราชนั้นเกิดจลาจล ท้าวเธอแวดล้อมไปด้วยองคเสนาเสด็จออกเพื่อยุทธนาการ ลาดับนั้น ปุโรหิตผู้หลงงมงายทูลถามพระราชาว่า ขอเดชะ พระมหาราชเจ้า พระองค์ทรงปรารถนาชัยชนะ หรือว่าความปราชัย เมื่อพระราชาตรัสตอบว่า ปรารถนาชัยชนะ จึงกราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น คนกาลกรรณีอยู่ในพระราชอุทยาน พระองค์จงโปรดให้ลอยกลีโทษที่สรีระของคนกาลกรรณีนั้นแล้วเสด็จไปเถิด. พระราชาเชื่อถ้อยคาของปุโรหิต ตรัสว่า ผู้ใดเมื่อจะไปกับเรา จงพากันไปลอยกลีโทษที่สรีระของคนกาลกรรณีเสียในพระราชอุทยาน แล้วเสด็จเข้าไปยังพระราชอุทยาน ทรงเคี้ยวไม้สีฟัน แล้วพระองค์เองทรงบ้วนเขฬะ และโยนไม้สีฟันลงในระหว่างชฏาของท่านกีสวัจฉดาบสนั้น ก่อนใครๆ ทั้งหมด แล้วทรงสรงสนานเกล้า แม้พลนิกายของพระองค์ก็ได้กระทาอย่างนั้น. เมื่อพระราชาเสด็จหลีกไปแล้ว เสนาบดีมาพบพระดาบสแล้ว
  • 18. 18 เก็บไม้สีฟันเป็นต้นทิ้ง ให้สรงสนานเป็ นอย่างดี แล้วเรียนถามว่า ท่านขอรับ อะไรจักมีแก่พระราชา. กีสวัจฉดาบสตอบว่า ขอเจริญพร ความคิดประทุษร้ายไม่มีในใจอาตมา แต่เทพยดาฟ้ าดินพิโรธ นับแต่นี้ไปเจ็ดวันจักกระทาแว่นแคว้นทั้งสิ้นให้ป่นปี้ ท่านจงหนีไปอยู่ที่อื่นโดยเร็วเถิด. เสนาบดีนั้นสะดุ้งตกใจกลัว จึงไปกราบทูลพระราชาให้ทรงทราบ. พระเจ้าทัณฑกีราชทรงฟังถ้อยคาเสนาบดีแล้ว ก็มิได้ทรงเชื่อถือ เสนาบดีนั้นจึงกลับไปยังเรือนของตน พาบุตรภรรยาหนีไปสู่แคว้นอื่น. ท่านสรภังคดาบสผู้ศาสดาจารย์ รู้เหตุนั้นแล้วส่งดาบสหนุ่มไปสองรูป ให้เอามัญจสีวิกาหามท่านกีสวัจฉดาบสมาทางอากาศ. พระราชาทรงรบจับโจรได้แล้ว เสด็จกลับไปยังพระนครทีเดียว. เมื่อพระราชาเสด็จมาแล้ว เทพยเจ้าทั้งหลายจึงบันดาลฝนให้ตกลงมาก่อน เมื่อศพทุกชนิดถูกห้วงน้าฝนพัดไปอยู่ ฝนทรายล้วนก็ตกลง ฝนดอกไม้ทิพย์ตกลงบนยอดฝนทราย ฝนมาสกตกลงบนยอดฝนดอกไม้ ฝนกหาปณะตกลงบนยอดฝนมาสก ฝนทิพพาภรณ์ตกลงบนยอดกหาปณะ มนุษย์ทั้งหลายถึงความโสมนัส เริ่มเก็บเงินทองและเครื่องอาภรณ์. ลาดับนั้น ฝนอาวุธอันโชติช่วงมีประการต่างๆ ตกลงเหนือสรีระของมนุษย์เหล่านั้น. มนุษย์ทั้งหลายขาดเป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่. ลาดับนั้น ถ่านเพลิงปราศจากเปลวใหญ่โตก็ตกลงเบื้องบนของมนุษย์เหล่านั้น ยอดบรรพตที่ลุกโพลงใหญ่โตตกลงเบื้องบนของมนุษย์เหล่านั้น ฝนทรายละเอียดอันยังที่ประมาณ ๖๐ โยชน์ให้เต็มตกลงเบื้องบนของมนุษย์เหล่านั้น สถานที่ ๖๐ โยชน์มิได้เป็นรัฐมณฑลด้วยอาการอย่างนี้. ความที่แว่นแคว้นนั้นพินาศไปอย่างนี้ ได้แพร่สะพัดไปในชมพูทวีปทั้งสิ้น. ครั้งนั้น พระราชา ๓ พระองค์ คือ พระเจ้ากาลิงคะ ๑ พระเจ้าอัฏฐกะ ๑ พระเจ้าภีมรถ ๑ ซึ่งเป็ นใหญ่ในแคว้นติดต่อกันกับแคว้นนั้นทรงคิดกันว่า ได้ยินว่าในปางก่อน พระเจ้ากลาพุกาสิราชในพระนครพาราณสี ประพฤติผิดในท่านขันติวาทีดาบส แล้วถูกแผ่นดินสูบ พระเจ้านาลิกีรราชให้สุนัขเคี้ยวกินพระดาบส และพระเจ้าอัชชุนะผู้ทรงกาลังแขนถึงพัน
  • 19. 19 ประพฤติผิดในท่านอังคีรสดาบสแล้วถูกแผ่นดินสูบเหมือนกัน. ได้ยินว่า คราวนี้พระเจ้าทัณฑกีราชผิดในท่านกีสวัจฉดาบส แล้วถึงความพินาศพร้อมด้วยแว่นแคว้น พวกเรายังไม่รู้สถานที่เกิดของพระราชาทั้งสี่เหล่านี้ เว้นท่านสรภังคศาสดาเสียแล้ว คนอื่นชื่อว่าสามารถเพื่อจะบอกเรื่องนั้นแก่เราไม่มี พวกเราจักเข้าไปถามปัญหาเหล่านี้. กษัตริย์ทั้ง ๓ พระองค์เหล่านั้นพร้อมด้วยข้าราชบริพารเป็ นอันมาก ต่างก็เสด็จออกเพื่อจะถามปัญหา แต่พระราชาทั้งสามนั้นมิได้ทรงทราบว่า แม้พระราชาองค์โน้นก็เสด็จออกแล้ว ต่างทรงสาคัญว่าเราไปเพียงผู้เดียวเท่านั้น สมาคมแห่งกษัตริย์เหล่านั้นได้มีไม่ไกลจากแม่น้าโคธาวรี พระราชาเหล่านั้นเสด็จลงจากรถแต่ละคันแล้ว เสด็จขึ้นรถคันเดียวกันไป ทั้งสามพระองค์ถึงยังฝั่งแม่น้าโคธาวรี. ขณะนั้น ท้าวสักกเทวราชประทับนั่งเหนือพระแท่นบัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ทรงคิดปัญหา ๗ ข้อแล้วทรงราพึงว่า เว้นท่านสรภังคศาสดาเสียแล้ว คนอื่นในมนุษยโลกพร้อมทั้งเทวโลก ที่ชื่อว่าสามารถเพื่อจะแก้ปัญหานี้ไม่มี เราจักถามปัญหาเหล่านี้กะท่านสรภังคศาสดานั้น. พระราชาทั้ง ๓ องค์แม้เหล่านี้มาถึงฝั่งแม่น้าโคธาวรี ก็เพื่อจะถามปัญหากะท่านสรภังคศาสดา เราเองจักเป็ นผู้ถามแม้ปัญหาของพระราชาเหล่านี้ อันเหล่าเทวดาในเทวโลกทั้งสองแวดล้อมแล้ว เสด็จลงจากเทวโลก. ในวันนั้นเอง ท่านกีสวัจฉดาบสก็ได้ทากาลกิริยาลง พระฤาษีทั้งหลายพันเศษในที่ทั้งสี่ ก็มาในที่นั้นเหมือนกัน เพื่อทาการปลงศพของท่านกีสวัจฉดาบสนั้น แล้วให้ทามณฑปไว้ และหมู่ฤาษีพันเศษในที่ทั้ง ๕ ช่วยกันทาจิตกาธานด้วยไม้จันทน์ เพื่อตั้งสรีระของท่านกีสวัจฉดาบส แล้วช่วยกันเผาสรีระศพ ฝนดอกโกสุมทิพย์ตกลงในสถานที่ประมาณกึ่งโยชน์รอบสุสาน พระมหาสัตว์ให้จัดการเก็บสรีรธาตุของท่านกีสวัจฉดาบสแล้วเข้าไปสู่ อาศรม แวดล้อมไปด้วยหมู่ฤาษีเหล่านั้นนั่นอยู่ ในกาลเมื่อพระราชาเหล่านั้นมาถึงฝั่งนที เสียงแห่งกองทัพใหญ่ เสียงพาหนะ และเสียงดนตรีได้มีแล้ว พระมหาสัตว์ได้สดับเสียงนั้นจึงเรียกอนุสิสสดาบสมาสั่งว่า พ่อคุณ เธอช่วยไปดูก่อนเถิด นั่นเป็นเสียงอะไร? ท่านอนุสิสสดาบสจึงถือหม้อตักน้าไปในที่นั้น พบพระราชาทั้ง ๓ องค์ จึงกล่าวคาถาที่ ๑ โดยเป็นคาถามความว่า
  • 20. 20 ท่านทั้งหลายผู้ประดับแล้ว สอดใส่กุณฑล นุ่งห่มผ้างดงาม เหน็บพระขรรค์มีด้ามประดับด้วยแก้วไพฑูรย์และแก้วมุกดา เป็นจอมพลรถยืนอยู่ เป็นใครกันหนอ ชนทั้งหลายในมนุษยโลก จะรู้จักท่านทั้งหลายอย่างไร? กษัตริย์ทั้งสามสดับคาของพระดาบสแล้ว เสด็จลงจากรถถวายนมัสการแล้ว ประทับยืนอยู่ ในกษัตริย์ทั้ง ๓ นั้น พระเจ้าอัฏฐกราช เมื่อจะทรงสนทนากับท่านอนุสิสสดาบส จึงตรัสคาถาที่ ๒ ความว่า ข้าพเจ้าเป็นกษัตริย์ชื่ออัฏฐกะ ท่านผู้นี้คือพระเจ้าภีมรถะ ส่วนท่านผู้นี้คือพระเจ้ากาลิงคราช มีพระเดชฟุ้ งเฟื่อง ข้าพเจ้าทั้งหลายมาในที่นี้ เพื่อเยี่ยมท่านฤาษีทั้งหลายผู้สารวมด้วยดี และเพื่อจะขอถามปัญหา. (พระเจ้าอัฏฐกราชตรัสว่า) ท่านขอรับ พวกข้าพเจ้าจะมาเพื่อเล่นกีฬาในป่าก็หามิได้ ที่แท้พวกข้าพเจ้ามาในที่นี้ ก็เพื่อจะเยี่ยมท่านฤาษีผู้มีศีล สารวมดีแล้วด้วยกายเป็นต้น. ลาดับนั้น ดาบสจึงทูลพระราชาเหล่านั้นว่า ขอถวายพระพรพระมหาราชเจ้า ดีแล้ว พระองค์ท่านทั้งหลายเป็ นผู้เสด็จมาในสถานที่ ซึ่งควรมาโดยแท้ ถ้าเช่นนั้น ขอเชิญสรงสนานแล้วเสด็จไปยังอาศรม ทรงไหว้หมู่ฤาษีแล้วตรัสถามปัญหากะท่านศาสดาเถิด ครั้นทาปฏิสัณฐานกับพระราชาเหล่านั้นแล้ว จึงยกหม้อน้าขึ้น เช็ดหยาดน้าพลางแลดูอากาศ เห็นท้าวสักกเทวราชแวดล้อมด้วยหมู่เทพยเจ้า เสด็จเหนือคอช้างเอราวัณตัวประเสริฐ กาลังเสด็จมา. เมื่อจะสนทนากับท้าวสักกเทวราชนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า ท่านเหาะลอยอยู่ในอากาศเวหา ดังพระจันทร์ลอยเด่นอยู่ ท่ามกลางท้องฟ้ าในวันเพ็ญ ๑๕ ค่าฉะนั้น ดูก่อนเทพยเจ้า อาตมภาพขอถามท่านผู้มีอานุภาพมาก ชนทั้งหลายในมนุษยโลกจะรู้จักท่านได้อย่างไร. ท้าวสักกเทวราชทรงสดับดังนั้น จึงตรัสคาถาที่ ๔ ความว่า ในเทวโลกเขาเรียกข้าพเจ้าว่าสุชัมบดี ในมนุษยโลกเขาเรียกข้าพเจ้าว่าท้าวมฆวา ข้าพเจ้านั้นคือท้าวเทวราช วันนี้มาถึงที่นี่ เพื่อขอเยี่ยมท่านฤาษีทั้งหลายผู้สารวมแล้วด้วยดี. มาสู่สถานที่นี้ ในบัดนี้. เพื่อจะเยี่ยมเยียนกราบนมัสการ และเพื่อถามปัญหากะท่านสรภังคศาสดาด้วย. ลาดับนั้น ท่านอนุสิสสดาบสจึงทูลท้าวสักกเทวราชว่า ดีละพระมหาราชเจ้า พระองค์โปรดเสด็จมาภายหลัง