SlideShare a Scribd company logo
1
อุมมาทันตีชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
๒. อุมมาทันตีชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๒๗)
ว่าด้วยเสนาบดีถวายนางอุมมาทันตีแด่พระราชา
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๕๗] สุนันทะ นี้เป็นนิเวศน์ของใครหนอ ล้อมด้วยกาแพงสีเหลือง
ใครหนอปรากฏอยู่ในที่ไกลประดุจเปลวไฟในอากาศ
และประดุจเปลวไฟบนยอดภูเขา
[๕๘] สุนันทะ หญิงนี้เป็ นธิดาของใครหนอ
เป็นลูกสะใภ้หรือเป็ นภรรยาของใคร เป็นหญิงโสดหรือว่ามีภัสดาในนิเวศน์นี้
เราถามแล้ว ท่านจงบอกมาโดยเร็วเถิด
(สุนันทสารถีกราบทูลว่า)
[๕๙] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน หญิงคนนั้น
ข้าพระองค์รู้จักทั้งมารดาและบิดาของนาง แม้สามีของนางข้าพระองค์ก็รู้จัก
ข้าแต่พระภูมิบาล บุรุษนั้นเป็ นข้าราชบริพารของพระองค์เอง
เป็นผู้ไม่ประมาทในราชกิจอันเป็ นประโยชน์ของพระองค์
ทั้งกลางวันและกลางคืน
[๖๐] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน ก็อามาตย์คนหนึ่งของพระองค์
ผู้ประสบความสาเร็จ มั่งคั่ง และเจริญรุ่งเรือง
นางเป็ นภรรยาของอภิปารกอามาตย์นั้นเอง ชื่อว่าอุมมาทันตี พระเจ้าข้า
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๖๑] พ่อมหาจาเริญ พ่อมหาจาเริญ ชื่อของนางนี้
มารดาและบิดาตั้งให้เหมาะสมดีจริง เป็นความจริงอย่างนั้น
เมื่อนางอุมมาทันตีมองดูเรา ได้ทาให้เราคล้ายจะเป็นบ้า
[๖๒] ในคืนเดือนเพ็ญ นางมีนัยน์ตาชะม้ายคล้ายตานางเนื้อทราย
ร่างกายมีผิวพรรณดุจกลีบดอกบุณฑริก นั่งอยู่ใกล้หน้าต่าง ในคืนนั้น
เราได้เห็นนางนุ่งผ้าสีแดงดุจสีเท้านกพิราบแล้ว สาคัญว่าดวงจันทร์ขึ้น ๒ ดวง
[๖๓] คราวใดนางชมดชม้อยชาเลืองมองดูเราด้วยอาการอันอ่อนหวาน
ด้วยใบหน้าอันเบิกบานงดงามบริสุทธิ์ ประดุจจะลักเอาดวงใจของเราไป
ประหนึ่งนางกินนรีเกิดที่ภูเขาในป่าลักเอาดวงใจของกินนรไป
[๖๔] คราวนั้นนางผู้เลอโฉม มีผิวกายสีทอง ใส่ตุ้มหูแก้วมณี
มีผ้านุ่งท่อนเดียว ชาเลืองดูเรา
ประดุจนางเนื้อทรายตื่นตกใจกลัวเมื่อเห็นนายพราน
2
[๖๕] เมื่อไรเล่า แม่นางผู้มีเล็บแดง มีขนงาม แขนอ่อนนุ่ม
ลูบไล้ด้วยจุรณแก่นจันทน์ มีนิ้วกลมกลึง งามตั้งแต่ศีรษะ
จักบาเรอเราด้วยกิริยาอันชดช้อยชาญฉลาด
[๖๖] เมื่อไรเล่า ธิดาของท่านติรีฏิ ผู้มีทับทรวงสังวาลทองคา
เอวเล็กเอวบาง จักกอดเราด้วยแขนทั้ง ๒ อันอ่อนนุ่ม
ประดุจเถาย่านทรายรึงรัดต้นไม้ที่เกิดในป่าใหญ่
[๖๗] เมื่อไรเล่า นางผู้มีผิวพรรณงามแดงดังน้าครั่ง
มีเต้าถันกลมกลึงประดุจฟองน้า ร่างกายมีผิวพรรณดังกลีบดอกบุณฑริก
จักโน้มปากเข้าจุมพิตปากเรา
เหมือนดังนักเลงสุรายื่นจอกสุราให้นักเลงสุราด้วยกัน
[๖๘] เมื่อใด เราได้เห็นนางผู้มีสรรพางค์กายอันเจริญ น่ารื่นรมย์ใจ
ยืนอยู่ เมื่อนั้น เราไม่รู้สึกตัวเลย
[๖๙] เราได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้ใส่ตุ้มหูแก้วมณีแล้ว
นอนไม่หลับทั้งกลางวันและกลางคืน เหมือนปราชัยต่อข้าศึกมาแล้วตั้งพันครั้ง
[๗๐] หากท้าวสักกะจะพึงประทานพรแก่เราไซร้ ขอเราพึงได้พรนั้นเถิด
อภิปารกเสนาบดีพึงอภิรมย์กับนางอุมมาทันตี ตลอดคืนหนึ่งหรือสองคืน
จากนั้นพระเจ้ากรุงสีพีพึงได้อภิรมย์กับนางบ้าง
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๗๑] ขอเดชะพระองค์ผู้เป็นจอมแห่งภูต
เมื่อข้าพระองค์นมัสการอยู่ซึ่งภูตทั้งหลาย
เทวดาตนหนึ่งได้มากล่าวเนื้อความนี้กับข้าพระองค์ว่า
พระทัยของพระราชาจดจ่ออยู่เฉพาะนางอุมมาทันตี
ข้าพระองค์ขอถวายนางแด่พระองค์ ขอพระองค์ทรงให้นางบาเรอเถิด
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๗๒] เราจะพึงคลาดไปจากบุญ และมิใช่เราจะไม่ตาย
ทั้งประชาชนจะพึงรู้ความชั่วของเรานี้ อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว
ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๗๓] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน นอกจากพระองค์และข้าพระองค์แล้ว
ประชาชนแม้ทั้งหมดไม่พึงรู้กรรมที่ทาแล้วได้
ข้าพระองค์ทูลถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ ข้าแต่พระราชา
ขอพระองค์โปรดทรงอภิรมย์ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า (ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า
หมายถึงการร่วมอภิรมย์กับนางอุมมาทันตี (ภรรยาผู้อื่น)
เป็นการทากรรมหยาบช้า คือ ตัณหาดุจต้นไม้ที่เจริญงอกงามอยู่ในป่า)
หรือไม่ก็ทรงสลัดนางทิ้งเสีย
3
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๗๔] คนผู้ทากรรมชั่วย่อมคิดว่า คนเหล่าอื่นอย่ารู้การกระทานี้เลย
แต่ว่า คนบนพื้นปฐพีที่ประกอบด้วยฤทธิ์ (นรชนผู้ประกอบด้วยฤทธิ์
หมายถึงพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพุทธบุตรผู้มีฤทธิ์) ยังมีอยู่
ย่อมจะเห็นเขาผู้กระทากรรมชั่วนั้น
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๗๕] คนอื่น ใครเล่าหนอบนพื้นปฐพีในโลกนี้ จะพึงเชื่อท่านว่า
นางมิได้เป็นที่รักของเรา อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว
ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๗๖] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน นางอุมมาทันตีนี้
เป็นที่รักของข้าพระองค์อย่างแท้จริง ข้าแต่พระภูมิบาล
นางมิได้เป็นที่รักของข้าพระองค์ก็หาไม่ ขอเดชะพระองค์ผู้ทรงพระเจริญ
ขอพระองค์เสด็จไปหานางอุมมาทันตีทันที ดุจราชสีห์เข้าไปยังถ้าศิลา
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๗๗] ปราชญ์ทั้งหลายถึงจะถูกความทุกข์ของตนบีบคั้นแล้ว
ก็จะไม่สละกรรมที่มีผลเป็นสุข หรือแม้ลุ่มหลงมัวเมาด้วยความสุข
ก็จะไม่ประพฤติกรรมชั่ว
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๗๘] ก็พระองค์ทรงเป็ นทั้งมารดาและบิดา เป็นภัสดา เป็นนาย
เป็นผู้ชุบเลี้ยง และเป็ นเทวดาของข้าพระองค์
ข้าพระองค์พร้อมทั้งบุตรและภรรยาเป็นทาสของพระองค์ ข้าแต่พระเจ้ากรุงสีพี
ขอพระองค์ทรงบริโภคกาม ตามความสาราญเถิด
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๗๙] ผู้ใดกระทาความชั่วด้วยสาคัญว่า เราเป็ นผู้ยิ่งใหญ่
ครั้นกระทาแล้ว ผู้นั้นก็ไม่หวั่นเกรงต่อชนเหล่าอื่น เพราะกรรมนั้น
เขาย่อมมีอายุอยู่ได้ไม่ยืนยาว
แม้เทพทั้งหลายก็มองเขาด้วยสายตาอันเหยียดหยาม
[๘๐] ชนเหล่าใดผู้ดารงอยู่ในธรรม รับทานที่เป็นของชนเหล่าอื่น
อันเจ้าของมอบให้แล้ว ชนเหล่านั้นชื่อว่าเป็นทั้งผู้รับ
เป็นทั้งผู้ให้ในทานนั้นแม้ทั้งหมด ย่อมทากรรมอันมีผลเป็นสุขทีเดียว
[๘๑] คนอื่น ใครเล่าหนอบนพื้นปฐพีในโลกนี้ จะพึงเชื่อท่านว่า
นางมิได้เป็นที่รักของเรา อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว
ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
4
[๘๒] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน นางอุมมาทันตีนี้
เป็นที่รักของข้าพระองค์อย่างแท้จริง ข้าแต่พระภูมิบาล
นางมิได้เป็นที่รักของข้าพระองค์ก็หาไม่
ข้าพระองค์ขอถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ ข้าแต่พระราชา
ขอพระองค์โปรดทรงอภิรมย์ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า หรือไม่ก็ทรงสลัดนางทิ้งเสีย
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๘๓] ผู้ใดก่อความทุกข์ให้แก่ผู้อื่นด้วยความทุกข์ของตน
หรือก่อความสุขให้แก่ตนด้วยความสุขของคนอื่น
(ผู้ใดก่อความทุกข์ให้แก่ผู้อื่นด้วยความทุกข์ของตน
หมายถึงผู้ที่ถูกทุกข์บีบคั้นแล้วใส่ทุกข์ให้แก่คนอื่นคือ
นาทุกข์ออกจากสรีระของตัวแล้วใส่ในสรีระของผู้อื่น
หรือก่อความสุขให้แก่ตนด้วยความสุขของคนอื่น
หมายถึงผู้ที่ถือเอาความสุขของคนอื่นมาใส่ไว้ในตน
ชื่อว่าทาผู้อื่นให้ถึงความทุกข์เพราะเข้าใจว่า “เราจักนาความทุกข์ออกจากตน”
ชื่อว่าทาผู้อื่นให้ถึงความทุกข์เพราะเข้าใจว่า “เราจักทาตนให้มีความสุขสบาย”
ชื่อว่าทาความสุขของคนอื่นให้พินาศเพราะเข้าใจว่า “เราจักทาตนให้มีความสุข”
คนนั้นชื่อว่าไม่รู้ธรรม ส่วนผู้ใดรู้อย่างนี้ว่า
“ความสุขและความทุกข์ของเรานั้นเป็ นอย่างไร ของคนอื่นก็เป็ นอย่างนั้น”
ผู้นั้นชื่อว่ารู้ธรรม คือ รู้จักธรรม) (ผู้นั้นชื่อว่า ไม่รู้ธรรม) ส่วนผู้ใดรู้อย่างนี้ว่า
ความทุกข์ ความสุขนี้ของเราเป็นอย่างไร ของคนเหล่าอื่นก็เป็ นอย่างนั้น
ผู้นั้นชื่อว่า รู้ธรรม
[๘๔] คนอื่น ใครเล่าหนอบนพื้นปฐพีในโลกนี้ จะพึงเชื่อท่านว่า
นางมิได้เป็นที่รักของเรา อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว
ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๘๕] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน พระองค์ทรงทราบว่า
นางอุมมาทันตีนี้เป็นที่รักของข้าพระองค์ ข้าแต่พระภูมิบาล
นางมิได้เป็นที่รักของข้าพระองค์ก็หาไม่ ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน
ด้วยความจงรักภักดีต่อพระองค์ ข้าพระองค์ขอถวายนางผู้เป็ นที่รักแด่พระองค์
ขอเดชะสมมติเทพ บุคคลให้สิ่งของอันเป็นที่รัก ย่อมได้สิ่งของอันเป็นที่รัก
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๘๖] เราจักฆ่าตนอันมีกามเป็นเหตุแน่
เพราะเราไม่สามารถจะฆ่าธรรมด้วยอธรรมได้
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
5
[๘๗] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน ผู้ประเสริฐแกล้วกล้ากว่านรชน
ถ้าพระองค์ไม่ทรงประสงค์นางอุมมาทันตี ผู้เป็นสมบัติของข้าพระองค์
ข้าพระองค์จะสละนางในท่ามกลางประชาชนทั้งปวง
พระองค์พึงนานางผู้พ้นขาดจากข้าพระองค์แล้วมาจากที่นั้นเถิด
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๘๘] นี่แน่ะท่านอภิปารกะ ผู้บาเพ็ญประโยชน์
หากท่านสละนางอุมมาทันตีผู้ไม่ประทุษร้ายต่อท่าน
ก็จะไม่พึงเป็ นไปเพื่อประโยชน์แก่ท่าน อนึ่ง
การกล่าวโทษอย่างใหญ่หลวงก็จะพึงมีแก่ท่าน
แม้คนผู้เป็นฝักฝ่ายของท่านในเมืองก็จะไม่พึงมีอีกด้วย
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๘๙] ข้าแต่พระภูมิบาล ข้าพระองค์จักอดกลั้นคากล่าวโทษ คานินทา
คาสรรเสริญ และคาติเตียนนั้นทุกอย่าง
ขอคานั้นทั้งหมดจงมาตกแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด ข้าแต่พระเจ้ากรุงสีพี
ขอพระองค์ทรงบริโภคกามตามความสาราญเถิด
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๙๐] ผู้ใดไม่ยึดถือคานินทา ไม่ยึดถือคาสรรเสริญ ไม่ยึดถือคาติเตียน
ทั้งไม่ยึดถือการบูชา สิริและปัญญาย่อมปราศจากผู้นั้น
เหมือนน้าฝนที่ตกจนโชกย่อมไหลไปจากที่ดอน
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๙๑] ความทุกข์ ความสุข อกุศลที่เป็นไปล่วงธรรม
และความคับแค้นใจจากการเสียสละนี้ทั้งหมด
ข้าพระองค์จักรับไว้ด้วยอกประดุจพื้นปฐพีรับไว้ได้ทุกอย่าง
ทั้งของบุคคลผู้มั่นคงและผู้หวาดสะดุ้ง
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๙๒] เราไม่ปรารถนาอกุศลที่เป็นไปล่วงธรรม ความคับแค้นใจ
และความทุกข์ของบุคคลเหล่าอื่น เราผู้ดารงอยู่ในธรรมจะไม่ทาประโยชน์อะไรๆ
ให้เสื่อมเสียไป เราจักนาภาระนี้ไปเพียงผู้เดียวเท่านั้น
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๙๓] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน
บุญกรรมอันนาให้ถึงโลกสวรรค์ของข้าพระองค์
ขอพระองค์อย่าทรงทาอันตรายเลย ข้าพระองค์มีใจเลื่อมใส
จะถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์
เหมือนกับพระราชาพระราชทานทรัพย์แก่พวกพราหมณ์ในการบูชายัญ
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
6
[๙๔] ท่านผู้บาเพ็ญประโยชน์ ท่านหวังประโยชน์แก่เราแน่แท้
ทั้งนางอุมมาทันตีและท่านก็เป็นเพื่อนของเรา เทวดา บิดา (บิดา
ในที่นี้หมายถึงพรหม) และประชาชนทั้งปวงจะพึงนินทาได้ อนึ่ง
เราก็ได้เห็นบาปในสัมปรายภพ
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๙๕] ข้าแต่พระเจ้ากรุงสีพี ชาวชนบทพร้อมทั้งชาวนิคมทั้งปวง
จะพึงกล่าวข้อนั้นว่าไม่เป็นธรรมหาได้ไม่
ข้าพระองค์ถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ เพราะนางอุมมาทันตี
ข้าพระองค์ถวายพระองค์แล้ว ข้าแต่พระราชา
ขอพระองค์โปรดทรงอภิรมย์ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า หรือไม่ก็ทรงสลัดนางทิ้งเสีย
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๙๖] นี่แน่ะท่านผู้บาเพ็ญประโยชน์ ท่านหวังประโยชน์แก่เราแน่แท้
นางอุมมาทันตีและท่านก็เป็นเพื่อนของเรา
ก็ธรรมของสัตบุรุษทั้งหลายที่ประกาศไว้ดีแล้ว ยากที่จะก้าวล่วงได้
เหมือนฝั่งสมุทร
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๙๗] พระองค์ทรงเป็ นอาหุเนยยบุคคล (อาหุเนยยบุคคล
หมายถึงบุคคลผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาคานับ)
ทรงอนุเคราะห์สิ่งที่เป็นประโยชน์ ทรงเป็ นผู้ปกป้ อง คุ้มครอง
และทรงรักษาความประสงค์ของข้าพระองค์ ข้าแต่พระราชา
ก็ยัญที่บูชาแล้วในพระองค์มีผลมาก ขอพระองค์ทรงรับนางอุมมาทันตี
ตามความประสงค์ของข้าพระองค์เถิด
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๙๘] อภิปารกกัตตุบุตร ก็ท่านได้ประพฤติธรรมทุกอย่างแก่เราโดยแท้
คนสองเท้าของท่าน คนอื่นใครเล่าหนอ
จะกระทาความสวัสดีให้แก่ท่านในเวลารุ่งอรุณ ในชีวโลกนี้
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
[๙๙] พระองค์ทรงเป็ นผู้ประเสริฐ ทรงเป็นผู้ยอดเยี่ยม
พระองค์ทรงมีธรรมคุ้มครอง เป็ นผู้ถึงธรรม ทรงรู้แจ้งธรรม ทรงมีปัญญาดี
พระองค์ผู้ทรงรักษาธรรม ขอพระองค์ผู้มีธรรมคุ้มครองแล้วนั้น
จงดารงพระชนม์ยั่งยืนนาน และโปรดทรงแสดงธรรมแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด
(พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
[๑๐๐] เชิญเถิด อภิปารกะ ท่านจงฟังคาของเรา
เราจักแสดงธรรมที่พวกสัตบุรุษส้องเสพแล้วแก่ท่าน
7
[๑๐๑] พระราชาทรงพอพระทัยในธรรมเป็นพระราชาที่ดี
คนมีความรู้รอบคอบเป็นคนดี ความไม่ประทุษร้ายมิตรเป็ นความดี
การไม่กระทาบาปเป็นเหตุนาสุขมาให้
[๑๐๒] ในแคว้นของพระราชาผู้ไม่กริ้ว ผู้ดารงอยู่ในธรรม
มนุษย์ทั้งหลายพึงหวังความสุขในเรือนของตน ภายใต้ร่มเงาอันร่มเย็น
[๑๐๓] กรรมใดที่มิได้พิจารณาแล้วกระทาลงไป เป็นกรรมไม่ชอบ
เราไม่ชอบกรรมนั้นเลย ฝ่ายพระราชาเหล่าใดทรงทราบแล้ว
จึงทรงกระทาลงไปด้วยพระองค์เอง เราชอบใจกรรมของพระราชาเหล่านั้น
ขอท่านจงฟังข้ออุปมาเหล่านี้ของเรา
[๑๐๔] เมื่อฝูงโคข้ามน้าไป ถ้าโคจ่าฝูงไปคดเคี้ยว
โคทั้งฝูงก็ไปคดเคี้ยวตามกัน ในเมื่อโคจ่าฝูงไปคดเคี้ยว
[๑๐๕] ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่
ถ้าผู้นั้นประพฤติไม่เป็นธรรม ประชาชนชาวเมืองนั้น
ก็จะประพฤติไม่เป็นธรรมตามไปด้วย หากพระราชาไม่ตั้งอยู่ในธรรม
ชาวเมืองนั้นก็อยู่เป็นทุกข์
[๑๐๖] เมื่อฝูงโคข้ามน้าไป ถ้าโคจ่าฝูงไปตรง โคทั้งฝูงก็ไปตรงตามกัน
ในเมื่อโคจ่าฝูงไปตรง
[๑๐๗] ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่
ถ้าผู้นั้นประพฤติชอบธรรม ประชาชนชาวเมืองนั้น
ก็จะประพฤติชอบธรรมตามไปด้วย หากพระราชาตั้งอยู่ในธรรม
ชาวเมืองนั้นก็อยู่เป็นสุข
[๑๐๘] อภิปารกะ เราไม่ปรารถนาความเป็ นเทวดา
หรือเพื่อจะชนะแผ่นดินทั้งปวงนี้โดยอธรรมเลย
[๑๐๙] แท้จริง รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ โค ทาส เงิน ผ้า
และจันทน์เหลือง ก็มีอยู่ในหมู่มนุษย์ในโลกนี้
[๑๑๐] อนึ่ง แม้ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ก็รักษา ม้า หญิง
และแก้วมณีไว้เพื่อเรา
เราไม่พึงประพฤติธรรมไม่สม่าเสมอเพราะเหตุแห่งรัตนะนั้นเลย
เพราะเราเกิดเป็นพระราชาผู้เจริญที่สุดท่ามกลางชาวกรุงสีพี
[๑๑๑] เราเป็นผู้นา เป็นผู้เกื้อกูล มีชื่อเสียง ปกครองแคว้น
ประพฤตินอบน้อมธรรมเพื่อชาวกรุงสีพีอยู่ เรานั้นคิดถึงธรรมนั้นอยู่เนืองๆ
เพราะเหตุนั้น จึงไม่ตกอยู่ในอานาจจิตของตน
(อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
8
[๑๑๒] ข้าแต่มหาราช พระองค์จักทรงปกครองราชสมบัติมิให้พินาศ
ให้ปลอดภัยอยู่เป็นนิตย์ตลอดกาลนานแน่แท้
เพราะพระปรีชาของพระองค์เป็นเช่นนั้น
[๑๑๓] พระองค์ไม่ทรงประมาทธรรมใด
ข้าพระองค์ขออนุโมทนาธรรมนั้นของพระองค์ กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่
ทรงประมาทธรรมแล้ว ย่อมเคลื่อนจากแคว้น
[๑๑๔] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์
ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในพระชนกและพระชนนีเถิด
พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๑๕] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์
ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในพระโอรสและพระชายาเถิด
พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๑๖] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์
ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในมิตรและอามาตย์เถิด
พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๑๗] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม
ในพาหนะและพลนิกายเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว
จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๑๘] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม
ในชาวบ้านและชาวนิคมเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว
จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๑๙] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม
ในแคว้นและชนบทเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว
จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๒๐] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม
ในสมณะและพราหมณ์เถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว
จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๒๑] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์
ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในหมู่เนื้อและหมู่นกเถิด
พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๒๒] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมเถิด
ธรรมที่พระองค์ประพฤติแล้วนาสุขมาให้
พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า
[๑๒๓] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมเถิด
เทวดาทั้งหลายพร้อมทั้งพระอินทร์และพระพรหม
9
บรรลุถึงโลกทิพย์ด้วยธรรมที่ตนประพฤติดีแล้ว
ขอพระองค์อย่าได้ทรงประมาทธรรมเลย พระเจ้าข้า
อุมมาทันตีชาดกที่ ๒ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
อุมมาทันตีชาดก
ว่าด้วย เสนาบดีถวายนางอุมมาทันตีแด่พระราชา
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร
ทรงพระปรารภอุกกัณฐิตภิกษุ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
ได้ยินว่า วันหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นเที่ยวไปบิณฑบาตในกรุงสาวัตถี
ได้มองเห็นหญิงคนหนึ่ง ซึ่งประดับตกแต่งร่างกาย มีรูปร่างงดงามอย่างยิ่ง
เกิดมีจิตปฏิพัทธ์ ไม่อาจจะกลับใจหักห้ามได้ มายังวิหาร.
จาเดิมแต่นั้น ก็เป็นผู้อ่อนแอเพราะโรค ดุจถูกลูกศรทิ่มแทงแล้ว
มีส่วนเปรียบด้วยเนื้อที่วิ่งพล่านไป ผ่ายผอม ร่างกายมีเส้นเอ็นขึ้นสะพรั่ง
กลายเป็นคนผอมเหลือง ไม่ยินดี (ในพระศาสนา)
เมื่อไม่ได้ความสบายใจแม้ในอิริยาบถหนึ่ง
จึงละเว้นวัตรมีอาจริยวัตรและอุปัชฌายวัตรเป็นต้น
อยู่ชนิดที่เว้นว่างจากการประกอบความเพียรในอุทเทส ปริปุจฉาและกัมมัฏฐาน.
เธอถูกพวกเพื่อนภิกษุถามว่า อาวุโส เมื่อก่อน ท่านมีอินทรีย์เปล่งปลั่ง
มีสีหน้าผ่องใส แต่เดี๋ยวนี้ หาได้เป็นอย่างนั้นไม่ เพราะเหตุอะไรกันหนอ?
จึงตอบว่า อาวุโส ผมไม่ยินดียิ่ง (ในพระศาสนา) เลย.
ลาดับนั้น พวกเพื่อนภิกษุเหล่านั้นจึงกล่าวสอนเธอว่า อาวุโสเอย!
ท่านจงยินดียิ่ง (ในพระศาสนา) เถิด ธรรมดาว่า การอุบัติเกิดแห่งพระพุทธเจ้า
เป็นสภาวะที่ได้โดยยาก การได้ฟังพระสัทธรรม และการได้อัตภาพเป็นมนุษย์
ก็เป็นสิ่งที่ได้โดยยากเหมือนกัน ท่านนั้นได้อัตภาพเป็นมนุษย์แล้ว
เมื่อปรารถนาจะทาที่สุดแห่งทุกข์ให้ได้ จึงละคน
ผู้เป็นญาติมีน้าตานองใบหน้าแล้ว บวชด้วยศรัทธา เพราะเหตุไร
ท่านจึงตกไปสู่อานาจแห่งกิเลสเล่า ขึ้นชื่อว่า
กิเลสเหล่านั้นมีทั่วไปแก่คนพาลทุกจาพวก ตั้งแต่สัตว์มีชีวิตไส้เดือนขึ้นไป
มีอุปมาเหมือนผลไม้ กิเลสเหล่านั้นเป็ นที่ตั้งแห่งวัตถุกาม.
กามแม้เหล่านั้นมีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก
โทษในกามเหล่านั้นมีประมาณยิ่ง.
กามทั้งหลายเปรียบเหมือนร่างกระดูก
กามทั้งหลายเปรียบเหมือนชิ้นเนื้อ กามทั้งหลายเปรียบเหมือนคบเพลิงหญ้า
กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง กามทั้งหลายเปรียบเหมือนความฝัน
10
กามทั้งหลายเปรียบเหมือนของที่ยืมเขามา
กามทั้งหลายเปรียบเหมือนผลของต้นไม้ที่มีพิษ
กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหอกและหลาว กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหัวงู.
ธรรมดาว่า ท่านบวชแล้วในพระศาสนาเห็นปานนี้
ยังตกไปสู่อานาจของเหล่ากิเลส ซึ่งเป็ นเหตุกระทาความพินาศถึงอย่างนั้นได้ดังนี้
เมื่อไม่สามารถจะให้ ภิกษุนั้นรับเอาถ้อยคาของตนได้
จึงพากันนาไปเข้าเฝ้ าพระศาสดา ยังธรรมสภา.
เมื่อพระองค์ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พวกเธอพาภิกษุผู้ไม่มีความปรารถนาจะมา ทาไม?
จึงพากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทราบว่า ภิกษุรูปนี้
เป็นผู้มีความเบื่อหน่าย เจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสถามว่า ที่เล่ามาเป็นความจริงหรือ.
เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า เป็นความจริง พระเจ้าข้า ดังนี้.
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ โปราณกบัณฑิตทั้งหลาย แม้ตามพร่าสอน
ซึ่งพระราชาผู้ครอบครองราชสมบัติอยู่ จนไม่ตกไปสู่อานาจกิเลสที่เกิดขึ้น
ห้ามจิตเสียได้ ไม่ยอมทาสิ่งที่ไม่สมควร ดังนี้.
แล้วทรงนาอดีตนิทานมาตรัสว่า
ในอดีตกาล ในแคว้นสีวี
พระราชาทรงพระนามว่า สีวี ทรงครอบครองราชสมบัติ ในอริฏฐบุรีนคร.
พระโพธิสัตว์บังเกิดในพระครรภ์พระอัครมเหสี ของพระราชาพระองค์นั้นแล้ว.
พระบรมวงศานุวงศ์ทั้งหลายพากันขนานพระนามพระราชโอรสนั้นว่า สีวิกุมาร.
แม้บุตรของท่านเสนาบดีก็คลอดแล้ว.
พวกหมู่ญาติพากันตั้งชื่อเด็กนั้นว่า อภิปารกะ. เด็กทั้งสองคนนั้นเป็ นสหายกัน
พอเจริญวัยมีอายุได้ ๑๖ ปี ไปยังกรุงตักกสิลา พอเล่าเรียนศิลปะจบแล้ว
ก็พากันกลับมา.
พระราชาได้ทรงพระราชทานพระราชสมบัติให้พระราชโอรสครอบคร
อง. แม้พระราชโอรสนั้นก็ทรงแต่งตั้งอภิปารกะไว้ในตาแหน่งเสนาบดีแล้ว
ทรงครอบครองราชสมบัติโดยธรรม.
ในพระนครนั้นนั่นเอง มีบุตรสาวของท่านติริฏิวัจฉเศรษฐี
ผู้มีทรัพย์สมบัติประมาณ ๘๐ โกฏิ เธอมีรูปร่างสวยยิ่งนัก เลอเลิศด้วยความงาม
ประกอบด้วยลักษณะอันงดงาม ในวันตั้งชื่อ หมู่ญาติได้ตั้งชื่อเธอว่า อุมมาทันตี.
ในเวลาเธอมีอายุได้ ๑๖ ปี เธอมีผิวพรรณเกินล้าหมู่มนุษย์ งดงาม น่าดูน่าชม
ปานเทพยดาชั้นฟ้ า. พวกปุถุชนที่พบเห็นเธอเข้าทุกคนๆ คน
ไม่สามารถจะดารงอยู่ได้โดยภาวะของตน เป็นผู้เมาแล้ว ด้วยความเมาคือกิเลส
เหมือนเมาแล้วด้วยน้าเมา ฉะนั้น ชื่อว่าสามารถจะตั้งสติได้ ไม่ได้มีแล้ว.
11
ครั้งนั้น ท่านติริฏิวัจฉะผู้เป็ นบิดาของนาง เข้าไปเฝ้ าพระราชา
แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ
อิตถีรัตนะอันสมควรแด่พระเจ้าแผ่นดิน
ได้บังเกิดขึ้นแล้วในเรือนของข้าพระองค์ ขอพระองค์ได้โปรดส่ง
พราหมณ์ผู้ทานายลักษณะทั้งหลายไปให้พิจารณาอิตถีรัตนะนั้นแล้ว
โปรดจงทาตามความพอพระทัยเถิด.
พระราชาทรงรับคาแล้ว ทรงสั่งพราหมณ์ทั้งหลายไปแล้ว.
พราหมณ์เหล่านั้นไปยังเรือนของท่านเศรษฐีแล้ว
ได้รับการต้อนรับด้วยสักการะและสัมมานะ พากันบริโภคข้าวปายาสแล้ว.
ในขณะนั้น
นางอุมมาทันตีผู้ประดับประดาด้วยเครื่องอลังการพร้อมสรรพ
ได้ไปสู่สานักของพราหมณ์เหล่านั้นแล้ว. พราหมณ์เหล่านั้นพอพบเห็นนางเข้า
ก็ไม่สามารถจะดารงสติไว้ได้ เป็นผู้เมาด้วยความเมาคือกิเลส
ไม่ได้รู้เลยว่าตนกาลังบริโภคค้างอยู่. บางพวกก็จับคาข้าวเอาวางไว้บนศีรษะ
ด้วยสาคัญว่าเราจะบริโภค. บางพวกก็ยัดใส่ในระหว่างซอกรักแร้.
บางพวกก็ทุบตีฝาเรือน. พวกพราหมณ์ได้กลายเป็นคนบ้าไป แม้ทั้งหมด.
นางเห็นพราหมณ์เหล่านั้นเข้า จึงกล่าวว่า
ทราบว่าพราหมณ์เหล่านี้จักตรวจดูลักษณะของเรา
ท่านทั้งหลายจงลากคอพราหมณ์เหล่านั้นออกไปให้หมด
ดังนี้แล้วให้คนรับใช้นาพราหมณ์เหล่านั้นออกไป.
พราหมณ์เหล่านั้นเป็นผู้ขวยเขิน ไปยังพระราชนิเวศน์แล้ว
โกรธต่อนางอุมมาทันตี จึงกราบทูลความเท็จว่า ขอเดชะ
ผู้หญิงคนนั้นเป็ นหญิงกาลกรรณี มิได้สมควรแก่พระองค์เลย พระเจ้าข้า.
พระราชาทรงทราบว่า หญิงคนนั้นเป็ นกาลกรรณี
จึงมิได้ทรงรับสั่งให้นาหญิงนั้นมา.
นางอุมมาทันตีได้ทราบเรื่องนั้นแล้วจึงกล่าวว่า
พระราชาไม่ทรงรับเราด้วยทรงสาคัญว่า ทราบว่า เราเป็นคนกาลกรรณี
ขึ้นชื่อว่าหญิงกาลกรรณี ย่อมไม่มีรูปร่างอย่างนี้เป็ นแน่ ดังนี้.
จึงผูกอาฆาตในพระราชาพระองค์นั้นว่า ช่างเถอะ
ก็ถ้าว่าเราจักได้เข้าเฝ้ าพระราชา ก็จักรู้กัน.
ครั้นต่อมา ท่านบิดาได้มอบเธอให้แก่ท่านอภิปารกะ. นางได้เป็ นที่รัก
ที่ชอบใจของท่านอภิปารกะเสนาบดี.
ถามว่า ก็นางได้มีรูปร่างงดงามอย่างนี้ เพราะวิบากแห่งกรรมอะไร?
ตอบว่า ด้วยวิบากแห่งการถวายผ้าแดง.
ได้ยินว่า ในอดีตกาล ในกรุงพาราณสี
12
นางได้บังเกิดในตระกูลที่ขัดสน. ในวันมหรสพ
เธอมองเห็นผู้หญิงทั้งหลายผู้สมบูรณ์ด้วยบุญ นุ่งผ้าที่ย้อมแล้วด้วยดอกคา
ประดับประดาตกแต่ง กาลังเล่นกันอยู่
เป็นเหตุให้เธอต้องการจะนุ่งผ้าเช่นนั้นเล่นกับเขาบ้าง
จึงบอกให้มารดาบิดาได้ทราบ. เมื่อท่านทั้ง ๒ นั้นกล่าวว่า ลูกเอ๋ย!
พวกเราเป็นคนจนขัดสน พวกเราจะได้ผ้าอย่างนั้นแต่ที่ไหนเล่า ดังนี้.
จึงกล่าวว่า ถ้าอย่างนั้น
ท่านจงอนุญาตให้เราทาการรับจ้างในตระกูลมั่งคั่งแห่งหนึ่งเถิด
พวกนายจ้างเหล่านั้นรู้คุณของเราแล้ว ก็คงจักให้เอง ดังนี้.
พอได้รับอนุญาตจากมารดาบิดาแล้ว จึงเข้าไปยังตระกูลหนึ่ง กล่าวว่า
ดิฉันมาสมัครทางานรับจ้าง เพื่อต้องการผ้าที่ย้อมด้วยดอกคา. ลาดับนั้น
พวกนายจ้างกล่าวกะเธอว่า เมื่อเจ้าทางานครบ ๓ ปีแล้ว
พวกเรารู้คุณความดีของเจ้า แล้วจักให้แน่. นางรับคาแล้วเริ่มทางาน
พวกนายจ้างเหล่านั้นรู้คุณความดีของนางแล้วในเมื่อยังไม่ครบ ๓
ปีบริบูรณ์ดีนั่นเอง จึงได้มอบผ้าชนิดอื่น
พร้อมกับผ้าที่ย้อมแล้วด้วยดอกคาชนิดเนื้อแน่นให้แก่นาง แล้วสั่งนางว่า
เธอจงไปอาบน้าพร้อมกับพวกสหายของเธอเสร็จแล้ว จงลองนุ่งผ้า (นี้ดู).
นางไปกับพวกหญิงสหายแล้ว วางผ้าที่ย้อมแล้วไว้บนฝั่ง อาบน้าแล้ว.
ในขณะนั้น พระสาวกของพระทศพลทรงพระนามว่ากัสสปะ รูปหนึ่ง
มีจีวรถูกโจรชิงเอาไป นุ่งและห่มกิ่งไม้ที่หัก ได้มาถึงยังที่นั้นแล้ว.
นางเห็นท่านแล้วคิดว่า ท่านผู้เจริญรูปนี้ เห็นทีจักถูกโจรชิงจีวรไปแล้ว
ผ้านุ่งของเราเป็ นของหาได้ยาก เพราะไม่ได้ให้ทานไว้ แม้ในกาลก่อน
จึงฉีกผ้านั้นออกเป็น ๒ ส่วน คิดว่าจักถวายส่วนหนึ่งแด่พระผู้เป็ นเจ้า ดังนี้
ขึ้นจากน้าแล้ว นุ่งผ้านุ่งสาหรับส่วนตัว แล้วกล่าวว่า ท่านเจ้าขา นิมนต์หยุดก่อน
เจ้าข้า. จึงไปไหว้พระเถระแล้ว ฉีกผ้านั้นในท่ามกลาง
ได้ถวายส่วนหนึ่งแก่พระเถระนั้น. พระเถระนั้นยืนอยู่ในที่กาบังส่วนหนึ่ง
ทิ้งกิ่งไม้ที่หักได้เสีย นุ่งผ้าผืนนั้นชายหนึ่ง ห่มชายหนึ่ง แล้วจึงออกไป.
ลาดับนั้น เพราะรัศมีแห่งผ้าอาบทั่วร่างพระเถระ
ได้มีแสงรัศมีเป็ นอันเดียวกัน ดุจดังพระอาทิตย์ทอแสงอ่อนๆ ฉะนั้น.
นางมองดูพระเถระนั้นแล้ว คิดว่า ทีแรก พระผู้เป็นเจ้าของเราไม่งามเลย บัดนี้
งามรุ่งโรจน์ดุจพระอาทิตย์ทอแสงอ่อนๆ ฉะนั้น. เราจักถวาย
แม้ผ้าท่อนนี้แก่พระผู้เป็นเจ้านี้แหละ แล้วถวายผ้าส่วนที่สอง
ได้ตั้งความปรารถนาว่า ท่านผู้เจริญ ดิฉันเที่ยวไปในภพ
พึงเป็ นผู้ทรงไว้ซึ่งรูปอันงดงาม คนใดคนหนึ่งพบเห็นดิฉันแล้ว
อย่าได้อาจดารงอยู่โดยภาวะของตนเลย. ผู้หญิงอื่นที่ชื่อว่า
13
มีรูปสวยงามเกินกว่าดิฉัน อย่าได้มีเลย. แม้พระเถระกระทาอนุโมทนาแล้ว
ก็หลีกไป.
นางท่องเที่ยวไปในเทวโลก บังเกิดในอริฏฐบุรี ในกาลนั้นแล้ว
ได้มีรูปร่างงดงาม เหมือนอย่างที่ได้ปรารถนาไว้แล้วนั้น.
ลาดับนั้น ในพระนครนั้น ประชาชนทั้งหลายได้โฆษณา
งานมหรสพประจาเดือนกัตติกมาส (เดือน)
ประชาชนทั้งหลายได้ตระเตรียมพระนครไว้ในวันมหรสพ
เพ็ญเดือนกัตติกมาสแล้ว.
ท่านอภิปารกเสนาบดี เมื่อจะไปยังที่รักษา (ที่ทางาน) ของตน
จึงเรียกภริยาสุดที่รักนั้นมาแล้วพูดว่า อุมมาทันตี น้องรัก! วันนี้
เวลาค่าคืนแห่งกัตติกมาสจะมีมหรสพ พระราชาจักทรงทาประทักษิณพระนคร
เสด็จผ่านประตูเรือนของเรานี้ เป็ นเรือนแรก
น้องอย่าปรากฏตัวให้พระราชาทรงเห็นนะ เพราะถ้าพระองค์เห็นน้องแล้ว
จักไม่อาจดารงสติไว้ได้.
นางอุมมาทันตีนั้นรับคาสามีว่า ไปเถอะ คุณพี่ (ถึงเวลานั้นแล้ว)
ดิฉันจักรู้ ดังนี้.
เมื่อสามีไปแล้ว จึงสั่งบังคับนางทาสีว่า
ในเวลาที่พระราชาเสด็จมายังประตูเรือนของเรานี้
เจ้าจงบอกแก่เราให้ทราบด้วยนะ. ลาดับนั้น เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว
พระจันทร์เพ็ญลอยเด่นขึ้นแทนที่. พระนครที่ประดับประดาตกแต่งแล้ว
ดูงดงามปานเทวนคร ประทีปลุกโพลง สว่างไสวทั่วทุกทิศ.
พระราชาทรงประดับตกแต่งด้วยเครื่องอลังการพร้อมสรรพ
ทรงประทับบนรถม้าคันประเสริฐ แวดล้อมด้วยหมู่อามาตย์
ทรงกระทาประทักษิณพระนครด้วยยศใหญ่
เสด็จถึงประตูเรือนของท่านอภิปารกเสนาบดีเป็นเรือนแรกทีเดียว.
ก็เรือนหลังนั้นแวดล้อมด้วยกาแพงสีดังมโนศิลา
มีหอคอยอยู่ที่ซุ้มประตูอันประดับตกแต่งจนงามเลิศ น่าดูชม.
ขณะนั้น นางทาสีได้เรียนแจ้งให้นางอุมมาทันตีทราบแล้ว.
นางอุมมาทันตีให้นางทาสีถือพานดอกไม้แล้ว
ยืนพิงบานหน้าต่างด้วยลีลาอันงดงามดุจนางกินรีโปรยดอกไม้ใส่พระราชา.
พระราชาเหลือบแลดูนาง ทันทีก็เกิดความเมาด้วยความเมา คือกิเลส
ไม่อาจจะดารงสติไว้ได้ จนไม่สามารถจะจาได้ว่า
เรือนหลังนี้เป็นของท่านอภิปารกเสนาบดี.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสเรียกนายสารถีมาแล้ว เมื่อจะตรัสถาม
จึงได้ตรัสพระคาถา ๒ คาถาว่า
14
[๒๐] ดูก่อนนายสุนันทสารถี
นี่เรือนของใครหนอล้อมด้วยกาแพงสีเหลือง ใครหนอปรากฏอยู่ในที่ไกล
เหมือนเปลวไฟอันลุกโพลงอยู่บนเวหาส และเหมือนเปลวไฟบนยอดภูเขา ฉะนั้น.
ดูก่อนนายสุนันทสารถี หญิงคนนี้เป็ นธิดาของใครหนอ
เป็นลูกสะใภ้หรือเป็ นภรรยาของใคร ไม่มีผู้หวงแหนหรือ สามีของนางมีหรือไม่
เราถามแล้ว ขอท่านจงบอกแก่เราโดยเร็ว.
ลาดับนั้น นายสารถี เมื่อจะกราบทูลแจ้งเนื้อความแด่พระราชา
จึงได้กราบทูลคาถา ๒ คาถาว่า
[๒๑] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมประชานิกร
ก็ข้าพระองค์ย่อมรู้จักหญิงนั้น พร้อมทั้งมารดา บิดา และสามีของนาง.
ข้าแต่พระจอมภูมิบาล บุรุษนั้นเป็ นผู้ไม่ประมาท ในประโยชน์ของพระองค์
ทั้งกลางคืนกลางวัน.
สามีของนางเป็นผู้มีอิทธิพล กว้างขวาง และมั่งคั่ง
ทั้งเป็ นอามาตย์คนหนึ่งของพระองค์. ข้าแต่พระราชา หญิงนั้น
คือภรรยาของอภิปารกเสนาบดี เธอมีชื่อว่า อุมมาทันตี พระเจ้าข้า.
พระราชาได้ทรงสดับคาทูลนั้นแล้ว.
เมื่อจะทรงชมเชยชื่อของนางนั้น จึงตรัสคาถาติดต่อกันว่า
[๒๒] ดูก่อนท่านผู้เจริญๆ ชื่อที่มารดาและบิดาตั้งให้หญิงคนนี้
เป็นชื่อเหมาะสมดีจริงอย่างนั้น เมื่อนางมองดูเรา ย่อมทาให้เราหลงใหล
คล้ายคนบ้า.
แม้นางอุมมาทันตีนั้นทราบว่า
พระราชาพระองค์นั้นทรงหวั่นไหวพระหทัยแล้ว จึงปิดหน้าต่างแล้ว
ได้เข้าสู่ห้องอันประกอบด้วยสิริตามเดิม.
จาเดิมแต่กาลที่พระราชาทรงทอดพระเนตรเห็นนางแล้ว
พระองค์ไม่ได้มีพระหทัยที่จะทรงกระทาประทักษิณพระนครเลย.
พระราชาตรัสเรียกนายสารถีมา แล้วตรัสว่า สุนันทะสหายเอ๋ย! เจ้าจงกลับรถเถิด
งานมหรสพนี้ไม่สมควรแก่พวกเรา แต่สมควรแก่อภิปารกเสนาบดี
ถึงพระราชสมบัติก็สมควรแก่อภิปารกเสนาบดีนั้นเหมือนกัน ดังนี้.
จึงให้นายสารถีกลับรถแล่นถึงสถานที่ เสด็จขึ้นพระปราสาทแล้ว
ทรงบรรทมบ่นเพ้อบนที่บรรทมอันประกอบด้วยสิริ ตรัสว่า
[๒๓] ในคืนเดือนเพ็ญ นางผู้มีนัยน์ตาชม้ายคล้ายเนื้อทราย
ร่างกายมีสีเหมือนดอกบุณฑริก นั่งอยู่ใกล้หน้าต่าง ในคืนนั้น
เราได้เห็นนางนุ่งห่มผ้าสีแดง เหมือนเท้านกพิราบ สาคัญว่า
พระจันทร์ขึ้นสองดวง.
15
คราวใด นางมีหน้ากว้าง ขาวสะอาด
ประเล้าประโลมอยู่ด้วยอาการอันงดงาม ชม้อยชม้ายชาเลืองดูเรา
ดังจะปล้นเอาดวงใจของเราไปเสียเลย เหมือนนางกินนรเกิดบนภูเขาในป่า
ฉะนั้น.
ก็คราวนั้น นางผู้พริ้งเพรามีตัวเป็นสีทอง สวมกุณฑลแก้วมณี
ผ้านุ่งผ้าห่มท่อนเดียว ชาเลืองดูเราประดุจนางเนื้อทราย มองดูนายพราน ฉะนั้น.
เมื่อไรหนอ นางผู้มีเล็บแดง มีขนงาม มีแขนนุ่มนิ่ม
ลูบไล้ด้วยแก่นจันทน์ มีนิ้วมือกลมเกลี้ยง มีกระบวนชดช้อย
งามตั้งแต่ศีรษะจักได้ยั่วยวนเรา.
เมื่อไรหนอ ธิดาของท่านเศรษฐีติริฏิวัจฉะ
ผู้มีทับทรวงอันกระทาด้วยข่ายทอง เอวกลม
จักกอดรัดเราด้วยแขนทั้งสองอันนุ่มนิ่ม ประดุจเถาย่านทราย
รวบรัดต้นไม้ที่เกิดในป่าใหญ่ ฉะนั้น.
เมื่อไรหนอ นางผู้มีผิวงามแดงดังน้าครั่ง มีถันเป็นปริมณฑลดังฟองน้า
มีอวัยวะฉาบด้วยผิวหนังเปล่งปลั่ง ดังดอกบุณฑริก จักจรดปากด้วยปากกะเรา
เหมือนดังนักเลงสุราจรดจอกสุรา ให้แก่นักเลงสุรา ฉะนั้น.
ในกาลใด เราได้เห็นนางผู้มีร่างกายทุกส่วนอันน่ารื่นรมย์ใจยืนอยู่
ในกาลนั้น เราไม่รู้สึกอะไรๆ แก่จิตของตนเลย.
เราได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้สวมสอดกุณฑลมณี แล้วนอนไม่หลับ
ทั้งกลางวันและกลางคืน เหมือนแพ้ข้าศึกมาตั้งพันครั้ง.
ถ้าท้าวสักกะพึงประทานพรให้แก่เรา ขอให้เราพึงได้พรนั้นเถิด
อภิปารกเสนาบดีพึงรื่นรมย์อยู่กับนางอุมมาทันตี คืนหนึ่งหรือสองคืน ต่อจากนั้น
พระเจ้าสีวิราชพึงได้รื่นรมย์บ้าง.
พวกราชบุรุษจึงพากันไปบอกแก่ท่านอภิปารกเสนาบดีว่า
ข้าแต่นายท่าน พระเจ้าแผ่นดินทรงกระทาประทักษิณพระนคร
พอมาถึงประตูบ้านของท่านแล้วก็เสด็จกลับวัง ขึ้นสู่ปราสาท.
อภิปารกเสนาบดีนั้นจึงไปยังเรือนของตนแล้ว เรียกนางอุมมาทันตีออกมา ถามว่า
น้องรักของพี่ น้องแสดงตัวปรากฏแก่พระราชา หรือจ๊ะ.
นางตอบว่า พี่จ๋า มีชายคนหนึ่ง ท้องใหญ่ เขี้ยวโต ยืนมาบนรถ
ดิฉันไม่รู้จักชายคนนั้นว่า เป็ นพระราชา หรือมิใช่พระราชา แต่เมื่อผู้คนเล่ากันว่า
เป็นเอกบุรุษเป็ นใหญ่ ดังนี้ ดิฉันยืนอยู่ริมหน้าต่าง จึงได้โปรยดอกไม้ลงไป
ชายผู้นั้นยืนอยู่สักครู่หนึ่งแล้ว ก็กลับไป.
อภิปารกเสนาบดีได้สดับคานั้นแล้ว จึงกล่าวว่า
น้องทาให้พี่ต้องฉิบหายเสียแล้ว เป็นแน่ ดังนี้.
ครั้นวันรุ่งขึ้น จึงรีบไปยังพระราชนิเวศน์แต่เช้าตรู่
16
ยืนอยู่ที่ประตูห้องอันเป็นสิริ ได้ยินเสียงพระราชาบ่นเพ้อถึงนางอุมมาทันตี
จึงคิดว่า พระราชาพระองค์นี้มีจิตรักใคร่ผูกพันในน้องอุมมาทันตี
ถ้าไม่ได้นางคงจักสวรรคตเป็ นแน่
เราควรจะช่วยปลดเปลื้องโทษอันมิใช่คุณทั้งของพระราชาและของเราเสีย
แล้วถวายชีวิตแด่พระราชาพระองค์นี้เถิด จึงกลับไปสู่เรือนของตน.
แล้วสั่งให้เรียกคนใช้คนสนิทผู้หนึ่งมาสั่งว่า นี่แน่ะพ่อคุณเอ๋ย
ตรงที่โน้นมีต้นไม้ใหญ่ มีโพรงอยู่ต้นหนึ่ง ท่านอย่าให้ใครๆ รู้นะ
พอพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว ท่านจงไปในที่นั้นแล้ว เข้าไปนั่งอยู่ภายในต้นไม้
เราจะทาพลีกรรมที่ต้นไม้นั้น พอไปถึงต้นไม้นั้น นมัสการเทวดาแล้ว
จักวิงวอนว่า ข้าแต่เทวราชาผู้ยิ่งใหญ่ เมื่อมหรสพมีในพระนคร
พระราชาของพวกข้าพเจ้าไม่ยอมทรงเล่น กลับเสด็จไปยังห้องอันเป็นสิริ
ทรงบรรทมบ่นเพ้อ พวกข้าพเจ้าไม่ทราบถึงเหตุในข้อนั้นเลย
พระราชาทรงมีอุปการะมากมายแก่พวกเทวดาฟ้ าดิน
ทรงสละทรัพย์พันหนึ่งให้กระทาพลีกรรมทุกกึ่งปี ขอพวกท่านจงบอกว่า
พระราชาทรงเพ้อราพัน เพราะอาศัยเหตุชื่อนี้ ดังนี้ เราจักอ้อนวอนว่า
จงให้ชีวิตทานแก่ราชาของพวกข้าพเจ้าด้วยเถิด.
ในขณะนั้น ตัวท่านพึงเปลี่ยนเสียง แล้วกล่าวว่า
ดูก่อนท่านเสนาบดี
ขึ้นชื่อว่าความเจ็บไข้มิได้มีแก่พระราชาของพวกท่านเลย
แต่พระองค์มีจิตผูกพันรักใคร่ในนางอุมมาทันตีผู้เป็นภรรยาของท่าน
หากพระองค์ได้นาง ก็จักดารงชีวิตอยู่ได้ ถ้าไม่ได้ก็จักสวรรคตเป็นแน่
ถ้าท่านปรารถนาจะให้พระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่
ก็จงถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์เถิด ดังนี้.
เมื่อเสนาบดีให้คนใช้จาเอาถ้อยคาอย่างนี้แล้ว ก็สั่งไป.
คนใช้นั้นไปนั่งอยู่ในต้นไม้นั้น.
ครั้นวันรุ่งขึ้น ท่านเสนาบดีไปยังสถานที่นั้นแล้ว จึงกล่าวคาอ้อนวอน.
คนใช้ได้ทาตามคาสั่งทุกประการ. ท่านเสนาบดีกล่าวว่า ดี (ใช้ได้)
แล้วไหว้เทวดาฟ้ าดิน บอกให้พวกอามาตย์ทราบเรื่องแล้ว เข้าไปยังพระนคร
ขึ้นไปบนราชนิเวศน์ แล้วเคาะประตูห้องบรรทมอันประกอบด้วยสิริ.
พอพระเจ้าแผ่นดินกลับได้สติ จึงตรัสถามว่า นั่นใคร.
เขากราบทูลว่า ขอเดชะ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ข้าพระองค์
คืออภิปารกเสนาบดี พระเจ้าข้า.
ลาดับนั้น พระราชาทรงเปิดพระทวาร (ประตู) ให้เขา.
เขาจึงเข้าไปถวายบังคมแด่พระราชาแล้ว กล่าวคาถาว่า
[๒๔] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นภูตบดี (ผู้เป็นจอมแห่งหมู่มนุษย์)
17
เมื่อข้าพระองค์นมัสการเทวดาทั้งหลายอยู่
เทวดามาบอกเนื้อความนี้แก่ข้าพระองค์ว่า
พระทัยของพระราชาคลุ้มคลั่งในนางอุมมาทันตี
ข้าพระองค์ขอถวายนางแด่พระองค์ ขอพระองค์ให้นางบาเรอเถิด.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสถามท่านเสนาบดีว่า ดูก่อนอภิปารกะผู้สหาย
แม้พวกเทวดาก็รู้เรื่องที่เราบ่นเพ้อ เพราะมีจิตรักใคร่ในนางอุมมาทันตีด้วยหรือ.
เสนาบดีทูลตอบว่า เป็ นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พระราชาทรงดาริว่า ข่าวว่า ความชั่วของเรา ชาวโลกทั้งหมดรู้กันแล้ว
ดังนี้.
จึงทรงดาริอยู่ในธรรมคือความตาย. แล้วตรัสคาถาติดต่อกันไปว่า
[๒๕] ก็เราพึงพรากเสียจากบุญและไม่เป็ นเทวดา อนึ่ง
คนพึงรู้ความชั่วของเรานี้ และเมื่อท่านให้นางอุมมาทันตีภรรยาสุดที่รัก
แล้วไม่เห็นนาง ความแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน.
คาถาที่เหลือที่เป็นคาถามและคาตอบของคนแม้ทั้งสอง
(คือของพระราชาและอภิปารกเสนาบดี) มีดังต่อไปนี้.
[๒๖] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมประชานิกร ประชาชน แม้ทั้งสิ้น
นอกจากข้าพระบาทและพระองค์ ไม่พึงรู้กรรมที่ทากัน
ข้าพระบาทยอมถวายนางอุมมาทันตีแก่พระองค์
พระองค์จงทรงอภิรมย์อยู่กับนางเต็มพระหทัยปรารถนาแล้ว จงทรงสลัดเสีย.
[๒๗] มนุษย์ใดกระทากรรมอันลามก มนุษย์นั้นย่อมสาคัญว่า
คนอื่นไม่รู้การกระทานี้ เพราะว่า นรชนเหล่าใดประกอบแล้ว บนพื้นปฐพี
นรชนเหล่านั้น ย่อมเห็นการกระทานี้
คนอื่นใครเล่าในแผ่นดินนี้ทั้งโลกพึงเชื่อท่าน หรือว่า
นางอุมมาทันตีไม่เป็นที่รักแห่งเรา เมื่อท่านให้นางอุมมาทันตีภรรยายอดรักแล้ว
ไม่เห็นนางภายหลัง ความคับแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน.
[๒๘] ข้าแต่พระจอมประชาชน
นางอุมมาทันตีนั้นเป็นที่รักของข้าพระบาทโดยแท้ ข้าแต่พระภูมิบาล
นางไม่เป็นที่รักของข้าพระบาทก็หาไม่ ขอความเจริญจงมีแด่พระองค์
เชิญพระองค์เสด็จไปหานางอุมมาทันตีเถิด เหมือนดังราชสีห์เข้าสู่ถ้าศิลา ฉะนั้น.
[๒๙] นักปราชญ์ทั้งหลายถูกความทุกข์ของตนบีบคั้นแล้ว
ย่อมไม่ละกรรมที่มีผลเป็นสุข แม้จะเป็นผู้หลงมัวเมาด้วยความสุข
ก็ย่อมไม่ประพฤติบาปกรรม.
[๓๐] ก็พระองค์เป็นทั้งพระมารดาและบิดา เป็ นผู้เลี้ยงดู เป็นเจ้านาย
เป็นผู้พอกเลี้ยง และเป็นเทวดาของข้าพระองค์
ข้าพระองค์พร้อมด้วยบุตรและภรรยา เป็นทาสของพระองค์
18
ขอพระองค์ทรงบริโภคกามตามความสุขเถิด.
[๓๑] ผู้ใดย่อมทาบาป ด้วยความสาคัญว่า เราเป็ นผู้ยิ่งใหญ่
และครั้นกระทาแล้ว ก็ไม่สะดุ้งกลัวต่อชนเหล่าอื่น
ผู้นั้นย่อมไม่เป็ นอยู่ตลอดอายุยืนยาว เพราะกรรมนั้น แม้เทวดาก็มองดูผู้นั้น
ด้วยนัยน์ตาอันเหยียดหยาม.
[๓๒] ชนเหล่าใดตั้งอยู่ในธรรม ย่อมรับทานที่เป็นของผู้อื่น
อันเจ้าของมอบให้แล้ว ชนเหล่านั้นเป็ นผู้รับด้วย เป็นผู้ให้ในทานนั้นด้วย
ได้ชื่อว่าทากรรมอันมีผลเป็นสุข ในเพราะทานนั้นแท้จริง.
[๓๓] คนอื่นใครเล่า ในแผ่นดินทั้งโลก จะพึงเชื่อท่าน หรือว่า
นางอุมมาทันตีไม่เป็นที่รักของเรา เมื่อท่านให้นางอุมมาทันตี ภรรยายอดรักแล้ว
ไม่เห็นนางภายหลัง ความคับแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน.
[๓๔]ข้าแต่พระจอมประชาชน
นางอุมมาทันตีนั้นเป็นที่รักของข้าพระบาทโดยแท้ ข้าแต่พระภูมิบาล
นางไม่เป็นที่รักของข้าพระบาทก็หาไม่
ข้าพระบาทยอมถวายนางอุมมาทันตีแก่พระองค์
พระองค์จงทรงอภิรมย์อยู่กับนาง เต็มพระหทัยปรารถนาแล้ว จงทรงสลัดเสีย.
[๓๕] ผู้ใดก่อทุกข์ให้แก่ผู้อื่น ด้วยทุกข์ของตน
หรือก่อความสุขของตน ด้วยความสุขของผู้อื่น ผู้ใดรู้อย่างนี้ว่า
ความสุขและความทุกข์ของเรานี้ ก็เหมือนของผู้อื่น ผู้นั้นชื่อว่า รู้ธรรม.
[๓๖] คนอื่นใครเล่า ในแผ่นดินทั้งโลก จะพึงเชื่อท่าน หรือว่า
นางอุมมาทันตีไม่เป็นที่รักของเรา เมื่อท่านให้นางอุมมาทันตีภรรยายอดรักแล้ว
ไม่เห็นนางภายหลัง ความคับแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน.
[๓๗] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมประชาชน พระองค์ย่อมทรงทราบว่า
นางอุมมาทันตีนี้เป็นที่รักของข้าพระบาท ข้าแต่พระจอมภูมิบาล
นางนั้นไม่เป็ นที่รักของข้าพระบาทก็หาไม่
ข้าพระบาทขอถวายสิ่งอันเป็ นที่รักแก่พระองค์ ด้วยสิ่งอันเป็นที่รัก
ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ ผู้ให้สิ่งอันเป็ นที่รักย่อมได้สิ่งอันเป็ นที่รัก.
[๓๘] เรานั้นจักฆ่าตนอันมีกามเป็นเหตุโดยแท้
เราไม่อาจฆ่าธรรมด้วยอธรรมได้เลย.
[๓๙] ข้าแต่พระจอมประชาชน ผู้แกล้วกล้ากว่านรชนผู้ประเสริฐ
ถ้าพระองค์ไม่ต้องพระประสงค์นางอุมมาทันตีผู้เป็นของข้าพระบาทไซร้
ข้าพระบาทจะสละนาง ในท่ามกลางชนทั้งปวง
พระองค์พึงรับสั่งให้นานางผู้พ้นจากข้าพระบาทแล้ว มาจากที่นั้นเถิด พระเจ้าข้า.
[๔๐] ดูก่อนอภิปารกเสนาบดี ผู้กระทาประโยชน์
ถ้าท่านจะสละนางอุมมาทันตี ผู้หาประโยชน์มิได้
19
เพื่อสิ่งอันไม่เป็ นประโยชน์แก่ท่าน ความค่อนว่าอย่างใหญ่หลวง จะพึงมีแก่ท่าน
อนึ่ง แม้การใส่ร้ายในพระนคร ก็จะพึงมีแก่ท่าน.
[๔๑] ข้าแต่พระจอมภูมิบาล ข้าพระบาทจักอดกลั้นคาค่อนว่า คานินทา
คาสรรเสริญ และคาติเตียนนี้ทั้งหมด คาค่อนว่าเป็ นต้นนั้น
จงตกอยู่แก่ข้าพระบาท ข้าแต่พระจอมแห่งชนชาวสีพี
ขอพระองค์ทรงบริโภคกามตามความสาราญเถิด.
ผู้ใดไม่ถือเอาความนินทา ความสรรเสริญ ความติเตียน
และแม้การบูชา สิริและปัญญาย่อมปราศไปจากผู้นั้น
เหมือนดังน้าฝนปราศไปจากที่ดอน ฉะนั้น.
ข้าพระบาทจักยอมรับความทุกข์และความสุข สิ่งที่ล่วงธรรมดา
และความคับแค้นใจทั้งหมด เพราะเหตุแห่งการสละนี้ด้วยอก
เหมือนดังแผ่นดินรองรับสิ่งของทั้งของคนมั่นคงและคนสะดุ้ง ฉะนั้น.
[๔๒] เราไม่ปรารถนาสิ่งที่ล่วงธรรมดา
ความคับแค้นใจและความทุกข์ของชนเหล่าอื่น
เราผู้เดียวเท่านั้นจักเป็ นผู้ตั้งอยู่ในธรรม ไม่ยังประโยชน์หน่อยหนึ่งให้เสื่อม
ข้ามภาระนี้ไป.
[๔๓] ข้าแต่จอมประชาชน บุญกรรมย่อมให้เข้าถึงสวรรค์
พระองค์อย่าได้ทรงทาอันตรายแก่ข้าพระบาทเสียเลย ข้าพระบาทมีใจเลื่อมใส
ขอถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์
ดังพระราชาทรงประทานทรัพย์สาหรับบูชายัญแก่พราหมณ์ทั้งหลาย ฉะนั้น.
[๔๔] ท่านเป็นผู้เกื้อกูลแก่เราในการกระทาประโยชน์แน่แท้
นางอุมมาทันตีและท่านเป็นสหายของเรา เทวดาและพรหมทั้งหมดเห็น
ความชั่วอันเป็ นไปในภายหน้า พึงติเตียนได้.
[๔๕] ข้าแต่พระเจ้าสีวิราช ชาวนิคมและชาวชนบททั้งหมด
ไม่พึงคัดค้านกรรมอันเป็นธรรมนั้นเลย
ข้าพระบาทขอถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์
พระองค์จงทรงอภิรมย์อยู่กับนางเต็มพระหทัยปรารถนา แล้วจงทรงสลัดเสีย.
[๔๖] ท่านเป็นผู้เกื้อกูลแก่เราในการกระทาประโยชน์แน่แท้
นางอุมมาทันตีและท่านเป็นสหายของเรา ธรรมของสัตบุรุษที่ประกาศดีแล้ว
ยากที่จะล่วงละเมิดได้ เหมือนเขตแดนของมหาสมุทร ฉะนั้น.
[๔๗] ข้าแต่พระราชา พระองค์เป็นผู้ควรของคานับของข้าพระองค์
เป็นผู้หวังประโยชน์เกื้อกูล เป็นผู้ทรงไว้ เป็นผู้ประทานความสุข
และทรงรักษาความปรารถนาไว้ ด้วยว่า ยัญที่บูชาในพระองค์ ย่อมมีผลมาก
ขอพระองค์ทรงรับนางอุมมาทันตีตามความปรารถนาของข้าพระบาทเถิด.
[๔๘] ดูก่อนอภิปารกเสนาบดีผู้เป็นบุตรแห่งท่านผู้กระทาประโยชน์
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

More Related Content

Similar to 527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Similar to 527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
103 เวริชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
318 กณเวรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
374 จูฬธนุคคหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
032 นัจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
258 มันธาตุราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
360 สุสันธีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
503 สัตติคุมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๔๐. ปภัสสรวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
306 สุชาตาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
182 สังคามาวจรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
259 ติรีฏวัจฉชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
343 กุนตินีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

More from maruay songtanin

๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 

527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒ ๒. อุมมาทันตีชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๒๗) ว่าด้วยเสนาบดีถวายนางอุมมาทันตีแด่พระราชา (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๕๗] สุนันทะ นี้เป็นนิเวศน์ของใครหนอ ล้อมด้วยกาแพงสีเหลือง ใครหนอปรากฏอยู่ในที่ไกลประดุจเปลวไฟในอากาศ และประดุจเปลวไฟบนยอดภูเขา [๕๘] สุนันทะ หญิงนี้เป็ นธิดาของใครหนอ เป็นลูกสะใภ้หรือเป็ นภรรยาของใคร เป็นหญิงโสดหรือว่ามีภัสดาในนิเวศน์นี้ เราถามแล้ว ท่านจงบอกมาโดยเร็วเถิด (สุนันทสารถีกราบทูลว่า) [๕๙] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน หญิงคนนั้น ข้าพระองค์รู้จักทั้งมารดาและบิดาของนาง แม้สามีของนางข้าพระองค์ก็รู้จัก ข้าแต่พระภูมิบาล บุรุษนั้นเป็ นข้าราชบริพารของพระองค์เอง เป็นผู้ไม่ประมาทในราชกิจอันเป็ นประโยชน์ของพระองค์ ทั้งกลางวันและกลางคืน [๖๐] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน ก็อามาตย์คนหนึ่งของพระองค์ ผู้ประสบความสาเร็จ มั่งคั่ง และเจริญรุ่งเรือง นางเป็ นภรรยาของอภิปารกอามาตย์นั้นเอง ชื่อว่าอุมมาทันตี พระเจ้าข้า (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๖๑] พ่อมหาจาเริญ พ่อมหาจาเริญ ชื่อของนางนี้ มารดาและบิดาตั้งให้เหมาะสมดีจริง เป็นความจริงอย่างนั้น เมื่อนางอุมมาทันตีมองดูเรา ได้ทาให้เราคล้ายจะเป็นบ้า [๖๒] ในคืนเดือนเพ็ญ นางมีนัยน์ตาชะม้ายคล้ายตานางเนื้อทราย ร่างกายมีผิวพรรณดุจกลีบดอกบุณฑริก นั่งอยู่ใกล้หน้าต่าง ในคืนนั้น เราได้เห็นนางนุ่งผ้าสีแดงดุจสีเท้านกพิราบแล้ว สาคัญว่าดวงจันทร์ขึ้น ๒ ดวง [๖๓] คราวใดนางชมดชม้อยชาเลืองมองดูเราด้วยอาการอันอ่อนหวาน ด้วยใบหน้าอันเบิกบานงดงามบริสุทธิ์ ประดุจจะลักเอาดวงใจของเราไป ประหนึ่งนางกินนรีเกิดที่ภูเขาในป่าลักเอาดวงใจของกินนรไป [๖๔] คราวนั้นนางผู้เลอโฉม มีผิวกายสีทอง ใส่ตุ้มหูแก้วมณี มีผ้านุ่งท่อนเดียว ชาเลืองดูเรา ประดุจนางเนื้อทรายตื่นตกใจกลัวเมื่อเห็นนายพราน
  • 2. 2 [๖๕] เมื่อไรเล่า แม่นางผู้มีเล็บแดง มีขนงาม แขนอ่อนนุ่ม ลูบไล้ด้วยจุรณแก่นจันทน์ มีนิ้วกลมกลึง งามตั้งแต่ศีรษะ จักบาเรอเราด้วยกิริยาอันชดช้อยชาญฉลาด [๖๖] เมื่อไรเล่า ธิดาของท่านติรีฏิ ผู้มีทับทรวงสังวาลทองคา เอวเล็กเอวบาง จักกอดเราด้วยแขนทั้ง ๒ อันอ่อนนุ่ม ประดุจเถาย่านทรายรึงรัดต้นไม้ที่เกิดในป่าใหญ่ [๖๗] เมื่อไรเล่า นางผู้มีผิวพรรณงามแดงดังน้าครั่ง มีเต้าถันกลมกลึงประดุจฟองน้า ร่างกายมีผิวพรรณดังกลีบดอกบุณฑริก จักโน้มปากเข้าจุมพิตปากเรา เหมือนดังนักเลงสุรายื่นจอกสุราให้นักเลงสุราด้วยกัน [๖๘] เมื่อใด เราได้เห็นนางผู้มีสรรพางค์กายอันเจริญ น่ารื่นรมย์ใจ ยืนอยู่ เมื่อนั้น เราไม่รู้สึกตัวเลย [๖๙] เราได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้ใส่ตุ้มหูแก้วมณีแล้ว นอนไม่หลับทั้งกลางวันและกลางคืน เหมือนปราชัยต่อข้าศึกมาแล้วตั้งพันครั้ง [๗๐] หากท้าวสักกะจะพึงประทานพรแก่เราไซร้ ขอเราพึงได้พรนั้นเถิด อภิปารกเสนาบดีพึงอภิรมย์กับนางอุมมาทันตี ตลอดคืนหนึ่งหรือสองคืน จากนั้นพระเจ้ากรุงสีพีพึงได้อภิรมย์กับนางบ้าง (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๗๑] ขอเดชะพระองค์ผู้เป็นจอมแห่งภูต เมื่อข้าพระองค์นมัสการอยู่ซึ่งภูตทั้งหลาย เทวดาตนหนึ่งได้มากล่าวเนื้อความนี้กับข้าพระองค์ว่า พระทัยของพระราชาจดจ่ออยู่เฉพาะนางอุมมาทันตี ข้าพระองค์ขอถวายนางแด่พระองค์ ขอพระองค์ทรงให้นางบาเรอเถิด (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๗๒] เราจะพึงคลาดไปจากบุญ และมิใช่เราจะไม่ตาย ทั้งประชาชนจะพึงรู้ความชั่วของเรานี้ อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๗๓] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน นอกจากพระองค์และข้าพระองค์แล้ว ประชาชนแม้ทั้งหมดไม่พึงรู้กรรมที่ทาแล้วได้ ข้าพระองค์ทูลถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ ข้าแต่พระราชา ขอพระองค์โปรดทรงอภิรมย์ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า (ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า หมายถึงการร่วมอภิรมย์กับนางอุมมาทันตี (ภรรยาผู้อื่น) เป็นการทากรรมหยาบช้า คือ ตัณหาดุจต้นไม้ที่เจริญงอกงามอยู่ในป่า) หรือไม่ก็ทรงสลัดนางทิ้งเสีย
  • 3. 3 (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๗๔] คนผู้ทากรรมชั่วย่อมคิดว่า คนเหล่าอื่นอย่ารู้การกระทานี้เลย แต่ว่า คนบนพื้นปฐพีที่ประกอบด้วยฤทธิ์ (นรชนผู้ประกอบด้วยฤทธิ์ หมายถึงพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพุทธบุตรผู้มีฤทธิ์) ยังมีอยู่ ย่อมจะเห็นเขาผู้กระทากรรมชั่วนั้น (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๗๕] คนอื่น ใครเล่าหนอบนพื้นปฐพีในโลกนี้ จะพึงเชื่อท่านว่า นางมิได้เป็นที่รักของเรา อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๗๖] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน นางอุมมาทันตีนี้ เป็นที่รักของข้าพระองค์อย่างแท้จริง ข้าแต่พระภูมิบาล นางมิได้เป็นที่รักของข้าพระองค์ก็หาไม่ ขอเดชะพระองค์ผู้ทรงพระเจริญ ขอพระองค์เสด็จไปหานางอุมมาทันตีทันที ดุจราชสีห์เข้าไปยังถ้าศิลา (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๗๗] ปราชญ์ทั้งหลายถึงจะถูกความทุกข์ของตนบีบคั้นแล้ว ก็จะไม่สละกรรมที่มีผลเป็นสุข หรือแม้ลุ่มหลงมัวเมาด้วยความสุข ก็จะไม่ประพฤติกรรมชั่ว (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๗๘] ก็พระองค์ทรงเป็ นทั้งมารดาและบิดา เป็นภัสดา เป็นนาย เป็นผู้ชุบเลี้ยง และเป็ นเทวดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์พร้อมทั้งบุตรและภรรยาเป็นทาสของพระองค์ ข้าแต่พระเจ้ากรุงสีพี ขอพระองค์ทรงบริโภคกาม ตามความสาราญเถิด (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๗๙] ผู้ใดกระทาความชั่วด้วยสาคัญว่า เราเป็ นผู้ยิ่งใหญ่ ครั้นกระทาแล้ว ผู้นั้นก็ไม่หวั่นเกรงต่อชนเหล่าอื่น เพราะกรรมนั้น เขาย่อมมีอายุอยู่ได้ไม่ยืนยาว แม้เทพทั้งหลายก็มองเขาด้วยสายตาอันเหยียดหยาม [๘๐] ชนเหล่าใดผู้ดารงอยู่ในธรรม รับทานที่เป็นของชนเหล่าอื่น อันเจ้าของมอบให้แล้ว ชนเหล่านั้นชื่อว่าเป็นทั้งผู้รับ เป็นทั้งผู้ให้ในทานนั้นแม้ทั้งหมด ย่อมทากรรมอันมีผลเป็นสุขทีเดียว [๘๑] คนอื่น ใครเล่าหนอบนพื้นปฐพีในโลกนี้ จะพึงเชื่อท่านว่า นางมิได้เป็นที่รักของเรา อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
  • 4. 4 [๘๒] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน นางอุมมาทันตีนี้ เป็นที่รักของข้าพระองค์อย่างแท้จริง ข้าแต่พระภูมิบาล นางมิได้เป็นที่รักของข้าพระองค์ก็หาไม่ ข้าพระองค์ขอถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ ข้าแต่พระราชา ขอพระองค์โปรดทรงอภิรมย์ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า หรือไม่ก็ทรงสลัดนางทิ้งเสีย (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๘๓] ผู้ใดก่อความทุกข์ให้แก่ผู้อื่นด้วยความทุกข์ของตน หรือก่อความสุขให้แก่ตนด้วยความสุขของคนอื่น (ผู้ใดก่อความทุกข์ให้แก่ผู้อื่นด้วยความทุกข์ของตน หมายถึงผู้ที่ถูกทุกข์บีบคั้นแล้วใส่ทุกข์ให้แก่คนอื่นคือ นาทุกข์ออกจากสรีระของตัวแล้วใส่ในสรีระของผู้อื่น หรือก่อความสุขให้แก่ตนด้วยความสุขของคนอื่น หมายถึงผู้ที่ถือเอาความสุขของคนอื่นมาใส่ไว้ในตน ชื่อว่าทาผู้อื่นให้ถึงความทุกข์เพราะเข้าใจว่า “เราจักนาความทุกข์ออกจากตน” ชื่อว่าทาผู้อื่นให้ถึงความทุกข์เพราะเข้าใจว่า “เราจักทาตนให้มีความสุขสบาย” ชื่อว่าทาความสุขของคนอื่นให้พินาศเพราะเข้าใจว่า “เราจักทาตนให้มีความสุข” คนนั้นชื่อว่าไม่รู้ธรรม ส่วนผู้ใดรู้อย่างนี้ว่า “ความสุขและความทุกข์ของเรานั้นเป็ นอย่างไร ของคนอื่นก็เป็ นอย่างนั้น” ผู้นั้นชื่อว่ารู้ธรรม คือ รู้จักธรรม) (ผู้นั้นชื่อว่า ไม่รู้ธรรม) ส่วนผู้ใดรู้อย่างนี้ว่า ความทุกข์ ความสุขนี้ของเราเป็นอย่างไร ของคนเหล่าอื่นก็เป็ นอย่างนั้น ผู้นั้นชื่อว่า รู้ธรรม [๘๔] คนอื่น ใครเล่าหนอบนพื้นปฐพีในโลกนี้ จะพึงเชื่อท่านว่า นางมิได้เป็นที่รักของเรา อีกประการหนึ่ง ครั้นให้แล้ว ท่านมิได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้เป็นที่รัก ท่านจะคับแค้นใจอย่างหนัก (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๘๕] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน พระองค์ทรงทราบว่า นางอุมมาทันตีนี้เป็นที่รักของข้าพระองค์ ข้าแต่พระภูมิบาล นางมิได้เป็นที่รักของข้าพระองค์ก็หาไม่ ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน ด้วยความจงรักภักดีต่อพระองค์ ข้าพระองค์ขอถวายนางผู้เป็ นที่รักแด่พระองค์ ขอเดชะสมมติเทพ บุคคลให้สิ่งของอันเป็นที่รัก ย่อมได้สิ่งของอันเป็นที่รัก (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๘๖] เราจักฆ่าตนอันมีกามเป็นเหตุแน่ เพราะเราไม่สามารถจะฆ่าธรรมด้วยอธรรมได้ (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
  • 5. 5 [๘๗] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน ผู้ประเสริฐแกล้วกล้ากว่านรชน ถ้าพระองค์ไม่ทรงประสงค์นางอุมมาทันตี ผู้เป็นสมบัติของข้าพระองค์ ข้าพระองค์จะสละนางในท่ามกลางประชาชนทั้งปวง พระองค์พึงนานางผู้พ้นขาดจากข้าพระองค์แล้วมาจากที่นั้นเถิด (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๘๘] นี่แน่ะท่านอภิปารกะ ผู้บาเพ็ญประโยชน์ หากท่านสละนางอุมมาทันตีผู้ไม่ประทุษร้ายต่อท่าน ก็จะไม่พึงเป็ นไปเพื่อประโยชน์แก่ท่าน อนึ่ง การกล่าวโทษอย่างใหญ่หลวงก็จะพึงมีแก่ท่าน แม้คนผู้เป็นฝักฝ่ายของท่านในเมืองก็จะไม่พึงมีอีกด้วย (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๘๙] ข้าแต่พระภูมิบาล ข้าพระองค์จักอดกลั้นคากล่าวโทษ คานินทา คาสรรเสริญ และคาติเตียนนั้นทุกอย่าง ขอคานั้นทั้งหมดจงมาตกแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด ข้าแต่พระเจ้ากรุงสีพี ขอพระองค์ทรงบริโภคกามตามความสาราญเถิด (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๙๐] ผู้ใดไม่ยึดถือคานินทา ไม่ยึดถือคาสรรเสริญ ไม่ยึดถือคาติเตียน ทั้งไม่ยึดถือการบูชา สิริและปัญญาย่อมปราศจากผู้นั้น เหมือนน้าฝนที่ตกจนโชกย่อมไหลไปจากที่ดอน (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๙๑] ความทุกข์ ความสุข อกุศลที่เป็นไปล่วงธรรม และความคับแค้นใจจากการเสียสละนี้ทั้งหมด ข้าพระองค์จักรับไว้ด้วยอกประดุจพื้นปฐพีรับไว้ได้ทุกอย่าง ทั้งของบุคคลผู้มั่นคงและผู้หวาดสะดุ้ง (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๙๒] เราไม่ปรารถนาอกุศลที่เป็นไปล่วงธรรม ความคับแค้นใจ และความทุกข์ของบุคคลเหล่าอื่น เราผู้ดารงอยู่ในธรรมจะไม่ทาประโยชน์อะไรๆ ให้เสื่อมเสียไป เราจักนาภาระนี้ไปเพียงผู้เดียวเท่านั้น (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๙๓] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมชน บุญกรรมอันนาให้ถึงโลกสวรรค์ของข้าพระองค์ ขอพระองค์อย่าทรงทาอันตรายเลย ข้าพระองค์มีใจเลื่อมใส จะถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ เหมือนกับพระราชาพระราชทานทรัพย์แก่พวกพราหมณ์ในการบูชายัญ (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า)
  • 6. 6 [๙๔] ท่านผู้บาเพ็ญประโยชน์ ท่านหวังประโยชน์แก่เราแน่แท้ ทั้งนางอุมมาทันตีและท่านก็เป็นเพื่อนของเรา เทวดา บิดา (บิดา ในที่นี้หมายถึงพรหม) และประชาชนทั้งปวงจะพึงนินทาได้ อนึ่ง เราก็ได้เห็นบาปในสัมปรายภพ (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๙๕] ข้าแต่พระเจ้ากรุงสีพี ชาวชนบทพร้อมทั้งชาวนิคมทั้งปวง จะพึงกล่าวข้อนั้นว่าไม่เป็นธรรมหาได้ไม่ ข้าพระองค์ถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ เพราะนางอุมมาทันตี ข้าพระองค์ถวายพระองค์แล้ว ข้าแต่พระราชา ขอพระองค์โปรดทรงอภิรมย์ตัณหาดุจต้นไม้ในป่า หรือไม่ก็ทรงสลัดนางทิ้งเสีย (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๙๖] นี่แน่ะท่านผู้บาเพ็ญประโยชน์ ท่านหวังประโยชน์แก่เราแน่แท้ นางอุมมาทันตีและท่านก็เป็นเพื่อนของเรา ก็ธรรมของสัตบุรุษทั้งหลายที่ประกาศไว้ดีแล้ว ยากที่จะก้าวล่วงได้ เหมือนฝั่งสมุทร (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๙๗] พระองค์ทรงเป็ นอาหุเนยยบุคคล (อาหุเนยยบุคคล หมายถึงบุคคลผู้ควรแก่สักการะที่เขานามาคานับ) ทรงอนุเคราะห์สิ่งที่เป็นประโยชน์ ทรงเป็ นผู้ปกป้ อง คุ้มครอง และทรงรักษาความประสงค์ของข้าพระองค์ ข้าแต่พระราชา ก็ยัญที่บูชาแล้วในพระองค์มีผลมาก ขอพระองค์ทรงรับนางอุมมาทันตี ตามความประสงค์ของข้าพระองค์เถิด (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๙๘] อภิปารกกัตตุบุตร ก็ท่านได้ประพฤติธรรมทุกอย่างแก่เราโดยแท้ คนสองเท้าของท่าน คนอื่นใครเล่าหนอ จะกระทาความสวัสดีให้แก่ท่านในเวลารุ่งอรุณ ในชีวโลกนี้ (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า) [๙๙] พระองค์ทรงเป็ นผู้ประเสริฐ ทรงเป็นผู้ยอดเยี่ยม พระองค์ทรงมีธรรมคุ้มครอง เป็ นผู้ถึงธรรม ทรงรู้แจ้งธรรม ทรงมีปัญญาดี พระองค์ผู้ทรงรักษาธรรม ขอพระองค์ผู้มีธรรมคุ้มครองแล้วนั้น จงดารงพระชนม์ยั่งยืนนาน และโปรดทรงแสดงธรรมแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด (พระเจ้ากรุงสีพีตรัสว่า) [๑๐๐] เชิญเถิด อภิปารกะ ท่านจงฟังคาของเรา เราจักแสดงธรรมที่พวกสัตบุรุษส้องเสพแล้วแก่ท่าน
  • 7. 7 [๑๐๑] พระราชาทรงพอพระทัยในธรรมเป็นพระราชาที่ดี คนมีความรู้รอบคอบเป็นคนดี ความไม่ประทุษร้ายมิตรเป็ นความดี การไม่กระทาบาปเป็นเหตุนาสุขมาให้ [๑๐๒] ในแคว้นของพระราชาผู้ไม่กริ้ว ผู้ดารงอยู่ในธรรม มนุษย์ทั้งหลายพึงหวังความสุขในเรือนของตน ภายใต้ร่มเงาอันร่มเย็น [๑๐๓] กรรมใดที่มิได้พิจารณาแล้วกระทาลงไป เป็นกรรมไม่ชอบ เราไม่ชอบกรรมนั้นเลย ฝ่ายพระราชาเหล่าใดทรงทราบแล้ว จึงทรงกระทาลงไปด้วยพระองค์เอง เราชอบใจกรรมของพระราชาเหล่านั้น ขอท่านจงฟังข้ออุปมาเหล่านี้ของเรา [๑๐๔] เมื่อฝูงโคข้ามน้าไป ถ้าโคจ่าฝูงไปคดเคี้ยว โคทั้งฝูงก็ไปคดเคี้ยวตามกัน ในเมื่อโคจ่าฝูงไปคดเคี้ยว [๑๐๕] ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่ ถ้าผู้นั้นประพฤติไม่เป็นธรรม ประชาชนชาวเมืองนั้น ก็จะประพฤติไม่เป็นธรรมตามไปด้วย หากพระราชาไม่ตั้งอยู่ในธรรม ชาวเมืองนั้นก็อยู่เป็นทุกข์ [๑๐๖] เมื่อฝูงโคข้ามน้าไป ถ้าโคจ่าฝูงไปตรง โคทั้งฝูงก็ไปตรงตามกัน ในเมื่อโคจ่าฝูงไปตรง [๑๐๗] ในหมู่มนุษย์ก็เหมือนกัน ผู้ใดได้รับแต่งตั้งให้เป็นใหญ่ ถ้าผู้นั้นประพฤติชอบธรรม ประชาชนชาวเมืองนั้น ก็จะประพฤติชอบธรรมตามไปด้วย หากพระราชาตั้งอยู่ในธรรม ชาวเมืองนั้นก็อยู่เป็นสุข [๑๐๘] อภิปารกะ เราไม่ปรารถนาความเป็ นเทวดา หรือเพื่อจะชนะแผ่นดินทั้งปวงนี้โดยอธรรมเลย [๑๐๙] แท้จริง รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ โค ทาส เงิน ผ้า และจันทน์เหลือง ก็มีอยู่ในหมู่มนุษย์ในโลกนี้ [๑๑๐] อนึ่ง แม้ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ก็รักษา ม้า หญิง และแก้วมณีไว้เพื่อเรา เราไม่พึงประพฤติธรรมไม่สม่าเสมอเพราะเหตุแห่งรัตนะนั้นเลย เพราะเราเกิดเป็นพระราชาผู้เจริญที่สุดท่ามกลางชาวกรุงสีพี [๑๑๑] เราเป็นผู้นา เป็นผู้เกื้อกูล มีชื่อเสียง ปกครองแคว้น ประพฤตินอบน้อมธรรมเพื่อชาวกรุงสีพีอยู่ เรานั้นคิดถึงธรรมนั้นอยู่เนืองๆ เพราะเหตุนั้น จึงไม่ตกอยู่ในอานาจจิตของตน (อภิปารกเสนาบดีกราบทูลว่า)
  • 8. 8 [๑๑๒] ข้าแต่มหาราช พระองค์จักทรงปกครองราชสมบัติมิให้พินาศ ให้ปลอดภัยอยู่เป็นนิตย์ตลอดกาลนานแน่แท้ เพราะพระปรีชาของพระองค์เป็นเช่นนั้น [๑๑๓] พระองค์ไม่ทรงประมาทธรรมใด ข้าพระองค์ขออนุโมทนาธรรมนั้นของพระองค์ กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ ทรงประมาทธรรมแล้ว ย่อมเคลื่อนจากแคว้น [๑๑๔] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์ ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในพระชนกและพระชนนีเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๑๕] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์ ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในพระโอรสและพระชายาเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๑๖] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์ ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในมิตรและอามาตย์เถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๑๗] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม ในพาหนะและพลนิกายเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๑๘] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม ในชาวบ้านและชาวนิคมเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๑๙] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม ในแคว้นและชนบทเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๒๐] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรม ในสมณะและพราหมณ์เถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๒๑] ข้าแต่มหาราชผู้เป็นกษัตริย์ ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมในหมู่เนื้อและหมู่นกเถิด พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๒๒] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมเถิด ธรรมที่พระองค์ประพฤติแล้วนาสุขมาให้ พระองค์ครั้นทรงประพฤติธรรมในโลกนี้แล้ว จักเสด็จไปสู่สวรรค์ พระเจ้าข้า [๑๒๓] ข้าแต่มหาราช ขอพระองค์ทรงประพฤติธรรมเถิด เทวดาทั้งหลายพร้อมทั้งพระอินทร์และพระพรหม
  • 9. 9 บรรลุถึงโลกทิพย์ด้วยธรรมที่ตนประพฤติดีแล้ว ขอพระองค์อย่าได้ทรงประมาทธรรมเลย พระเจ้าข้า อุมมาทันตีชาดกที่ ๒ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา อุมมาทันตีชาดก ว่าด้วย เสนาบดีถวายนางอุมมาทันตีแด่พระราชา พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภอุกกัณฐิตภิกษุ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. ได้ยินว่า วันหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นเที่ยวไปบิณฑบาตในกรุงสาวัตถี ได้มองเห็นหญิงคนหนึ่ง ซึ่งประดับตกแต่งร่างกาย มีรูปร่างงดงามอย่างยิ่ง เกิดมีจิตปฏิพัทธ์ ไม่อาจจะกลับใจหักห้ามได้ มายังวิหาร. จาเดิมแต่นั้น ก็เป็นผู้อ่อนแอเพราะโรค ดุจถูกลูกศรทิ่มแทงแล้ว มีส่วนเปรียบด้วยเนื้อที่วิ่งพล่านไป ผ่ายผอม ร่างกายมีเส้นเอ็นขึ้นสะพรั่ง กลายเป็นคนผอมเหลือง ไม่ยินดี (ในพระศาสนา) เมื่อไม่ได้ความสบายใจแม้ในอิริยาบถหนึ่ง จึงละเว้นวัตรมีอาจริยวัตรและอุปัชฌายวัตรเป็นต้น อยู่ชนิดที่เว้นว่างจากการประกอบความเพียรในอุทเทส ปริปุจฉาและกัมมัฏฐาน. เธอถูกพวกเพื่อนภิกษุถามว่า อาวุโส เมื่อก่อน ท่านมีอินทรีย์เปล่งปลั่ง มีสีหน้าผ่องใส แต่เดี๋ยวนี้ หาได้เป็นอย่างนั้นไม่ เพราะเหตุอะไรกันหนอ? จึงตอบว่า อาวุโส ผมไม่ยินดียิ่ง (ในพระศาสนา) เลย. ลาดับนั้น พวกเพื่อนภิกษุเหล่านั้นจึงกล่าวสอนเธอว่า อาวุโสเอย! ท่านจงยินดียิ่ง (ในพระศาสนา) เถิด ธรรมดาว่า การอุบัติเกิดแห่งพระพุทธเจ้า เป็นสภาวะที่ได้โดยยาก การได้ฟังพระสัทธรรม และการได้อัตภาพเป็นมนุษย์ ก็เป็นสิ่งที่ได้โดยยากเหมือนกัน ท่านนั้นได้อัตภาพเป็นมนุษย์แล้ว เมื่อปรารถนาจะทาที่สุดแห่งทุกข์ให้ได้ จึงละคน ผู้เป็นญาติมีน้าตานองใบหน้าแล้ว บวชด้วยศรัทธา เพราะเหตุไร ท่านจึงตกไปสู่อานาจแห่งกิเลสเล่า ขึ้นชื่อว่า กิเลสเหล่านั้นมีทั่วไปแก่คนพาลทุกจาพวก ตั้งแต่สัตว์มีชีวิตไส้เดือนขึ้นไป มีอุปมาเหมือนผลไม้ กิเลสเหล่านั้นเป็ นที่ตั้งแห่งวัตถุกาม. กามแม้เหล่านั้นมีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามเหล่านั้นมีประมาณยิ่ง. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนร่างกระดูก กามทั้งหลายเปรียบเหมือนชิ้นเนื้อ กามทั้งหลายเปรียบเหมือนคบเพลิงหญ้า กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิง กามทั้งหลายเปรียบเหมือนความฝัน
  • 10. 10 กามทั้งหลายเปรียบเหมือนของที่ยืมเขามา กามทั้งหลายเปรียบเหมือนผลของต้นไม้ที่มีพิษ กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหอกและหลาว กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหัวงู. ธรรมดาว่า ท่านบวชแล้วในพระศาสนาเห็นปานนี้ ยังตกไปสู่อานาจของเหล่ากิเลส ซึ่งเป็ นเหตุกระทาความพินาศถึงอย่างนั้นได้ดังนี้ เมื่อไม่สามารถจะให้ ภิกษุนั้นรับเอาถ้อยคาของตนได้ จึงพากันนาไปเข้าเฝ้ าพระศาสดา ยังธรรมสภา. เมื่อพระองค์ตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพาภิกษุผู้ไม่มีความปรารถนาจะมา ทาไม? จึงพากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทราบว่า ภิกษุรูปนี้ เป็นผู้มีความเบื่อหน่าย เจ้าข้า. พระศาสดาตรัสถามว่า ที่เล่ามาเป็นความจริงหรือ. เมื่อภิกษุนั้นกราบทูลว่า เป็นความจริง พระเจ้าข้า ดังนี้. จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ โปราณกบัณฑิตทั้งหลาย แม้ตามพร่าสอน ซึ่งพระราชาผู้ครอบครองราชสมบัติอยู่ จนไม่ตกไปสู่อานาจกิเลสที่เกิดขึ้น ห้ามจิตเสียได้ ไม่ยอมทาสิ่งที่ไม่สมควร ดังนี้. แล้วทรงนาอดีตนิทานมาตรัสว่า ในอดีตกาล ในแคว้นสีวี พระราชาทรงพระนามว่า สีวี ทรงครอบครองราชสมบัติ ในอริฏฐบุรีนคร. พระโพธิสัตว์บังเกิดในพระครรภ์พระอัครมเหสี ของพระราชาพระองค์นั้นแล้ว. พระบรมวงศานุวงศ์ทั้งหลายพากันขนานพระนามพระราชโอรสนั้นว่า สีวิกุมาร. แม้บุตรของท่านเสนาบดีก็คลอดแล้ว. พวกหมู่ญาติพากันตั้งชื่อเด็กนั้นว่า อภิปารกะ. เด็กทั้งสองคนนั้นเป็ นสหายกัน พอเจริญวัยมีอายุได้ ๑๖ ปี ไปยังกรุงตักกสิลา พอเล่าเรียนศิลปะจบแล้ว ก็พากันกลับมา. พระราชาได้ทรงพระราชทานพระราชสมบัติให้พระราชโอรสครอบคร อง. แม้พระราชโอรสนั้นก็ทรงแต่งตั้งอภิปารกะไว้ในตาแหน่งเสนาบดีแล้ว ทรงครอบครองราชสมบัติโดยธรรม. ในพระนครนั้นนั่นเอง มีบุตรสาวของท่านติริฏิวัจฉเศรษฐี ผู้มีทรัพย์สมบัติประมาณ ๘๐ โกฏิ เธอมีรูปร่างสวยยิ่งนัก เลอเลิศด้วยความงาม ประกอบด้วยลักษณะอันงดงาม ในวันตั้งชื่อ หมู่ญาติได้ตั้งชื่อเธอว่า อุมมาทันตี. ในเวลาเธอมีอายุได้ ๑๖ ปี เธอมีผิวพรรณเกินล้าหมู่มนุษย์ งดงาม น่าดูน่าชม ปานเทพยดาชั้นฟ้ า. พวกปุถุชนที่พบเห็นเธอเข้าทุกคนๆ คน ไม่สามารถจะดารงอยู่ได้โดยภาวะของตน เป็นผู้เมาแล้ว ด้วยความเมาคือกิเลส เหมือนเมาแล้วด้วยน้าเมา ฉะนั้น ชื่อว่าสามารถจะตั้งสติได้ ไม่ได้มีแล้ว.
  • 11. 11 ครั้งนั้น ท่านติริฏิวัจฉะผู้เป็ นบิดาของนาง เข้าไปเฝ้ าพระราชา แล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ อิตถีรัตนะอันสมควรแด่พระเจ้าแผ่นดิน ได้บังเกิดขึ้นแล้วในเรือนของข้าพระองค์ ขอพระองค์ได้โปรดส่ง พราหมณ์ผู้ทานายลักษณะทั้งหลายไปให้พิจารณาอิตถีรัตนะนั้นแล้ว โปรดจงทาตามความพอพระทัยเถิด. พระราชาทรงรับคาแล้ว ทรงสั่งพราหมณ์ทั้งหลายไปแล้ว. พราหมณ์เหล่านั้นไปยังเรือนของท่านเศรษฐีแล้ว ได้รับการต้อนรับด้วยสักการะและสัมมานะ พากันบริโภคข้าวปายาสแล้ว. ในขณะนั้น นางอุมมาทันตีผู้ประดับประดาด้วยเครื่องอลังการพร้อมสรรพ ได้ไปสู่สานักของพราหมณ์เหล่านั้นแล้ว. พราหมณ์เหล่านั้นพอพบเห็นนางเข้า ก็ไม่สามารถจะดารงสติไว้ได้ เป็นผู้เมาด้วยความเมาคือกิเลส ไม่ได้รู้เลยว่าตนกาลังบริโภคค้างอยู่. บางพวกก็จับคาข้าวเอาวางไว้บนศีรษะ ด้วยสาคัญว่าเราจะบริโภค. บางพวกก็ยัดใส่ในระหว่างซอกรักแร้. บางพวกก็ทุบตีฝาเรือน. พวกพราหมณ์ได้กลายเป็นคนบ้าไป แม้ทั้งหมด. นางเห็นพราหมณ์เหล่านั้นเข้า จึงกล่าวว่า ทราบว่าพราหมณ์เหล่านี้จักตรวจดูลักษณะของเรา ท่านทั้งหลายจงลากคอพราหมณ์เหล่านั้นออกไปให้หมด ดังนี้แล้วให้คนรับใช้นาพราหมณ์เหล่านั้นออกไป. พราหมณ์เหล่านั้นเป็นผู้ขวยเขิน ไปยังพระราชนิเวศน์แล้ว โกรธต่อนางอุมมาทันตี จึงกราบทูลความเท็จว่า ขอเดชะ ผู้หญิงคนนั้นเป็ นหญิงกาลกรรณี มิได้สมควรแก่พระองค์เลย พระเจ้าข้า. พระราชาทรงทราบว่า หญิงคนนั้นเป็ นกาลกรรณี จึงมิได้ทรงรับสั่งให้นาหญิงนั้นมา. นางอุมมาทันตีได้ทราบเรื่องนั้นแล้วจึงกล่าวว่า พระราชาไม่ทรงรับเราด้วยทรงสาคัญว่า ทราบว่า เราเป็นคนกาลกรรณี ขึ้นชื่อว่าหญิงกาลกรรณี ย่อมไม่มีรูปร่างอย่างนี้เป็ นแน่ ดังนี้. จึงผูกอาฆาตในพระราชาพระองค์นั้นว่า ช่างเถอะ ก็ถ้าว่าเราจักได้เข้าเฝ้ าพระราชา ก็จักรู้กัน. ครั้นต่อมา ท่านบิดาได้มอบเธอให้แก่ท่านอภิปารกะ. นางได้เป็ นที่รัก ที่ชอบใจของท่านอภิปารกะเสนาบดี. ถามว่า ก็นางได้มีรูปร่างงดงามอย่างนี้ เพราะวิบากแห่งกรรมอะไร? ตอบว่า ด้วยวิบากแห่งการถวายผ้าแดง. ได้ยินว่า ในอดีตกาล ในกรุงพาราณสี
  • 12. 12 นางได้บังเกิดในตระกูลที่ขัดสน. ในวันมหรสพ เธอมองเห็นผู้หญิงทั้งหลายผู้สมบูรณ์ด้วยบุญ นุ่งผ้าที่ย้อมแล้วด้วยดอกคา ประดับประดาตกแต่ง กาลังเล่นกันอยู่ เป็นเหตุให้เธอต้องการจะนุ่งผ้าเช่นนั้นเล่นกับเขาบ้าง จึงบอกให้มารดาบิดาได้ทราบ. เมื่อท่านทั้ง ๒ นั้นกล่าวว่า ลูกเอ๋ย! พวกเราเป็นคนจนขัดสน พวกเราจะได้ผ้าอย่างนั้นแต่ที่ไหนเล่า ดังนี้. จึงกล่าวว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านจงอนุญาตให้เราทาการรับจ้างในตระกูลมั่งคั่งแห่งหนึ่งเถิด พวกนายจ้างเหล่านั้นรู้คุณของเราแล้ว ก็คงจักให้เอง ดังนี้. พอได้รับอนุญาตจากมารดาบิดาแล้ว จึงเข้าไปยังตระกูลหนึ่ง กล่าวว่า ดิฉันมาสมัครทางานรับจ้าง เพื่อต้องการผ้าที่ย้อมด้วยดอกคา. ลาดับนั้น พวกนายจ้างกล่าวกะเธอว่า เมื่อเจ้าทางานครบ ๓ ปีแล้ว พวกเรารู้คุณความดีของเจ้า แล้วจักให้แน่. นางรับคาแล้วเริ่มทางาน พวกนายจ้างเหล่านั้นรู้คุณความดีของนางแล้วในเมื่อยังไม่ครบ ๓ ปีบริบูรณ์ดีนั่นเอง จึงได้มอบผ้าชนิดอื่น พร้อมกับผ้าที่ย้อมแล้วด้วยดอกคาชนิดเนื้อแน่นให้แก่นาง แล้วสั่งนางว่า เธอจงไปอาบน้าพร้อมกับพวกสหายของเธอเสร็จแล้ว จงลองนุ่งผ้า (นี้ดู). นางไปกับพวกหญิงสหายแล้ว วางผ้าที่ย้อมแล้วไว้บนฝั่ง อาบน้าแล้ว. ในขณะนั้น พระสาวกของพระทศพลทรงพระนามว่ากัสสปะ รูปหนึ่ง มีจีวรถูกโจรชิงเอาไป นุ่งและห่มกิ่งไม้ที่หัก ได้มาถึงยังที่นั้นแล้ว. นางเห็นท่านแล้วคิดว่า ท่านผู้เจริญรูปนี้ เห็นทีจักถูกโจรชิงจีวรไปแล้ว ผ้านุ่งของเราเป็ นของหาได้ยาก เพราะไม่ได้ให้ทานไว้ แม้ในกาลก่อน จึงฉีกผ้านั้นออกเป็น ๒ ส่วน คิดว่าจักถวายส่วนหนึ่งแด่พระผู้เป็ นเจ้า ดังนี้ ขึ้นจากน้าแล้ว นุ่งผ้านุ่งสาหรับส่วนตัว แล้วกล่าวว่า ท่านเจ้าขา นิมนต์หยุดก่อน เจ้าข้า. จึงไปไหว้พระเถระแล้ว ฉีกผ้านั้นในท่ามกลาง ได้ถวายส่วนหนึ่งแก่พระเถระนั้น. พระเถระนั้นยืนอยู่ในที่กาบังส่วนหนึ่ง ทิ้งกิ่งไม้ที่หักได้เสีย นุ่งผ้าผืนนั้นชายหนึ่ง ห่มชายหนึ่ง แล้วจึงออกไป. ลาดับนั้น เพราะรัศมีแห่งผ้าอาบทั่วร่างพระเถระ ได้มีแสงรัศมีเป็ นอันเดียวกัน ดุจดังพระอาทิตย์ทอแสงอ่อนๆ ฉะนั้น. นางมองดูพระเถระนั้นแล้ว คิดว่า ทีแรก พระผู้เป็นเจ้าของเราไม่งามเลย บัดนี้ งามรุ่งโรจน์ดุจพระอาทิตย์ทอแสงอ่อนๆ ฉะนั้น. เราจักถวาย แม้ผ้าท่อนนี้แก่พระผู้เป็นเจ้านี้แหละ แล้วถวายผ้าส่วนที่สอง ได้ตั้งความปรารถนาว่า ท่านผู้เจริญ ดิฉันเที่ยวไปในภพ พึงเป็ นผู้ทรงไว้ซึ่งรูปอันงดงาม คนใดคนหนึ่งพบเห็นดิฉันแล้ว อย่าได้อาจดารงอยู่โดยภาวะของตนเลย. ผู้หญิงอื่นที่ชื่อว่า
  • 13. 13 มีรูปสวยงามเกินกว่าดิฉัน อย่าได้มีเลย. แม้พระเถระกระทาอนุโมทนาแล้ว ก็หลีกไป. นางท่องเที่ยวไปในเทวโลก บังเกิดในอริฏฐบุรี ในกาลนั้นแล้ว ได้มีรูปร่างงดงาม เหมือนอย่างที่ได้ปรารถนาไว้แล้วนั้น. ลาดับนั้น ในพระนครนั้น ประชาชนทั้งหลายได้โฆษณา งานมหรสพประจาเดือนกัตติกมาส (เดือน) ประชาชนทั้งหลายได้ตระเตรียมพระนครไว้ในวันมหรสพ เพ็ญเดือนกัตติกมาสแล้ว. ท่านอภิปารกเสนาบดี เมื่อจะไปยังที่รักษา (ที่ทางาน) ของตน จึงเรียกภริยาสุดที่รักนั้นมาแล้วพูดว่า อุมมาทันตี น้องรัก! วันนี้ เวลาค่าคืนแห่งกัตติกมาสจะมีมหรสพ พระราชาจักทรงทาประทักษิณพระนคร เสด็จผ่านประตูเรือนของเรานี้ เป็ นเรือนแรก น้องอย่าปรากฏตัวให้พระราชาทรงเห็นนะ เพราะถ้าพระองค์เห็นน้องแล้ว จักไม่อาจดารงสติไว้ได้. นางอุมมาทันตีนั้นรับคาสามีว่า ไปเถอะ คุณพี่ (ถึงเวลานั้นแล้ว) ดิฉันจักรู้ ดังนี้. เมื่อสามีไปแล้ว จึงสั่งบังคับนางทาสีว่า ในเวลาที่พระราชาเสด็จมายังประตูเรือนของเรานี้ เจ้าจงบอกแก่เราให้ทราบด้วยนะ. ลาดับนั้น เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว พระจันทร์เพ็ญลอยเด่นขึ้นแทนที่. พระนครที่ประดับประดาตกแต่งแล้ว ดูงดงามปานเทวนคร ประทีปลุกโพลง สว่างไสวทั่วทุกทิศ. พระราชาทรงประดับตกแต่งด้วยเครื่องอลังการพร้อมสรรพ ทรงประทับบนรถม้าคันประเสริฐ แวดล้อมด้วยหมู่อามาตย์ ทรงกระทาประทักษิณพระนครด้วยยศใหญ่ เสด็จถึงประตูเรือนของท่านอภิปารกเสนาบดีเป็นเรือนแรกทีเดียว. ก็เรือนหลังนั้นแวดล้อมด้วยกาแพงสีดังมโนศิลา มีหอคอยอยู่ที่ซุ้มประตูอันประดับตกแต่งจนงามเลิศ น่าดูชม. ขณะนั้น นางทาสีได้เรียนแจ้งให้นางอุมมาทันตีทราบแล้ว. นางอุมมาทันตีให้นางทาสีถือพานดอกไม้แล้ว ยืนพิงบานหน้าต่างด้วยลีลาอันงดงามดุจนางกินรีโปรยดอกไม้ใส่พระราชา. พระราชาเหลือบแลดูนาง ทันทีก็เกิดความเมาด้วยความเมา คือกิเลส ไม่อาจจะดารงสติไว้ได้ จนไม่สามารถจะจาได้ว่า เรือนหลังนี้เป็นของท่านอภิปารกเสนาบดี. ลาดับนั้น พระราชาตรัสเรียกนายสารถีมาแล้ว เมื่อจะตรัสถาม จึงได้ตรัสพระคาถา ๒ คาถาว่า
  • 14. 14 [๒๐] ดูก่อนนายสุนันทสารถี นี่เรือนของใครหนอล้อมด้วยกาแพงสีเหลือง ใครหนอปรากฏอยู่ในที่ไกล เหมือนเปลวไฟอันลุกโพลงอยู่บนเวหาส และเหมือนเปลวไฟบนยอดภูเขา ฉะนั้น. ดูก่อนนายสุนันทสารถี หญิงคนนี้เป็ นธิดาของใครหนอ เป็นลูกสะใภ้หรือเป็ นภรรยาของใคร ไม่มีผู้หวงแหนหรือ สามีของนางมีหรือไม่ เราถามแล้ว ขอท่านจงบอกแก่เราโดยเร็ว. ลาดับนั้น นายสารถี เมื่อจะกราบทูลแจ้งเนื้อความแด่พระราชา จึงได้กราบทูลคาถา ๒ คาถาว่า [๒๑] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมประชานิกร ก็ข้าพระองค์ย่อมรู้จักหญิงนั้น พร้อมทั้งมารดา บิดา และสามีของนาง. ข้าแต่พระจอมภูมิบาล บุรุษนั้นเป็ นผู้ไม่ประมาท ในประโยชน์ของพระองค์ ทั้งกลางคืนกลางวัน. สามีของนางเป็นผู้มีอิทธิพล กว้างขวาง และมั่งคั่ง ทั้งเป็ นอามาตย์คนหนึ่งของพระองค์. ข้าแต่พระราชา หญิงนั้น คือภรรยาของอภิปารกเสนาบดี เธอมีชื่อว่า อุมมาทันตี พระเจ้าข้า. พระราชาได้ทรงสดับคาทูลนั้นแล้ว. เมื่อจะทรงชมเชยชื่อของนางนั้น จึงตรัสคาถาติดต่อกันว่า [๒๒] ดูก่อนท่านผู้เจริญๆ ชื่อที่มารดาและบิดาตั้งให้หญิงคนนี้ เป็นชื่อเหมาะสมดีจริงอย่างนั้น เมื่อนางมองดูเรา ย่อมทาให้เราหลงใหล คล้ายคนบ้า. แม้นางอุมมาทันตีนั้นทราบว่า พระราชาพระองค์นั้นทรงหวั่นไหวพระหทัยแล้ว จึงปิดหน้าต่างแล้ว ได้เข้าสู่ห้องอันประกอบด้วยสิริตามเดิม. จาเดิมแต่กาลที่พระราชาทรงทอดพระเนตรเห็นนางแล้ว พระองค์ไม่ได้มีพระหทัยที่จะทรงกระทาประทักษิณพระนครเลย. พระราชาตรัสเรียกนายสารถีมา แล้วตรัสว่า สุนันทะสหายเอ๋ย! เจ้าจงกลับรถเถิด งานมหรสพนี้ไม่สมควรแก่พวกเรา แต่สมควรแก่อภิปารกเสนาบดี ถึงพระราชสมบัติก็สมควรแก่อภิปารกเสนาบดีนั้นเหมือนกัน ดังนี้. จึงให้นายสารถีกลับรถแล่นถึงสถานที่ เสด็จขึ้นพระปราสาทแล้ว ทรงบรรทมบ่นเพ้อบนที่บรรทมอันประกอบด้วยสิริ ตรัสว่า [๒๓] ในคืนเดือนเพ็ญ นางผู้มีนัยน์ตาชม้ายคล้ายเนื้อทราย ร่างกายมีสีเหมือนดอกบุณฑริก นั่งอยู่ใกล้หน้าต่าง ในคืนนั้น เราได้เห็นนางนุ่งห่มผ้าสีแดง เหมือนเท้านกพิราบ สาคัญว่า พระจันทร์ขึ้นสองดวง.
  • 15. 15 คราวใด นางมีหน้ากว้าง ขาวสะอาด ประเล้าประโลมอยู่ด้วยอาการอันงดงาม ชม้อยชม้ายชาเลืองดูเรา ดังจะปล้นเอาดวงใจของเราไปเสียเลย เหมือนนางกินนรเกิดบนภูเขาในป่า ฉะนั้น. ก็คราวนั้น นางผู้พริ้งเพรามีตัวเป็นสีทอง สวมกุณฑลแก้วมณี ผ้านุ่งผ้าห่มท่อนเดียว ชาเลืองดูเราประดุจนางเนื้อทราย มองดูนายพราน ฉะนั้น. เมื่อไรหนอ นางผู้มีเล็บแดง มีขนงาม มีแขนนุ่มนิ่ม ลูบไล้ด้วยแก่นจันทน์ มีนิ้วมือกลมเกลี้ยง มีกระบวนชดช้อย งามตั้งแต่ศีรษะจักได้ยั่วยวนเรา. เมื่อไรหนอ ธิดาของท่านเศรษฐีติริฏิวัจฉะ ผู้มีทับทรวงอันกระทาด้วยข่ายทอง เอวกลม จักกอดรัดเราด้วยแขนทั้งสองอันนุ่มนิ่ม ประดุจเถาย่านทราย รวบรัดต้นไม้ที่เกิดในป่าใหญ่ ฉะนั้น. เมื่อไรหนอ นางผู้มีผิวงามแดงดังน้าครั่ง มีถันเป็นปริมณฑลดังฟองน้า มีอวัยวะฉาบด้วยผิวหนังเปล่งปลั่ง ดังดอกบุณฑริก จักจรดปากด้วยปากกะเรา เหมือนดังนักเลงสุราจรดจอกสุรา ให้แก่นักเลงสุรา ฉะนั้น. ในกาลใด เราได้เห็นนางผู้มีร่างกายทุกส่วนอันน่ารื่นรมย์ใจยืนอยู่ ในกาลนั้น เราไม่รู้สึกอะไรๆ แก่จิตของตนเลย. เราได้เห็นนางอุมมาทันตีผู้สวมสอดกุณฑลมณี แล้วนอนไม่หลับ ทั้งกลางวันและกลางคืน เหมือนแพ้ข้าศึกมาตั้งพันครั้ง. ถ้าท้าวสักกะพึงประทานพรให้แก่เรา ขอให้เราพึงได้พรนั้นเถิด อภิปารกเสนาบดีพึงรื่นรมย์อยู่กับนางอุมมาทันตี คืนหนึ่งหรือสองคืน ต่อจากนั้น พระเจ้าสีวิราชพึงได้รื่นรมย์บ้าง. พวกราชบุรุษจึงพากันไปบอกแก่ท่านอภิปารกเสนาบดีว่า ข้าแต่นายท่าน พระเจ้าแผ่นดินทรงกระทาประทักษิณพระนคร พอมาถึงประตูบ้านของท่านแล้วก็เสด็จกลับวัง ขึ้นสู่ปราสาท. อภิปารกเสนาบดีนั้นจึงไปยังเรือนของตนแล้ว เรียกนางอุมมาทันตีออกมา ถามว่า น้องรักของพี่ น้องแสดงตัวปรากฏแก่พระราชา หรือจ๊ะ. นางตอบว่า พี่จ๋า มีชายคนหนึ่ง ท้องใหญ่ เขี้ยวโต ยืนมาบนรถ ดิฉันไม่รู้จักชายคนนั้นว่า เป็ นพระราชา หรือมิใช่พระราชา แต่เมื่อผู้คนเล่ากันว่า เป็นเอกบุรุษเป็ นใหญ่ ดังนี้ ดิฉันยืนอยู่ริมหน้าต่าง จึงได้โปรยดอกไม้ลงไป ชายผู้นั้นยืนอยู่สักครู่หนึ่งแล้ว ก็กลับไป. อภิปารกเสนาบดีได้สดับคานั้นแล้ว จึงกล่าวว่า น้องทาให้พี่ต้องฉิบหายเสียแล้ว เป็นแน่ ดังนี้. ครั้นวันรุ่งขึ้น จึงรีบไปยังพระราชนิเวศน์แต่เช้าตรู่
  • 16. 16 ยืนอยู่ที่ประตูห้องอันเป็นสิริ ได้ยินเสียงพระราชาบ่นเพ้อถึงนางอุมมาทันตี จึงคิดว่า พระราชาพระองค์นี้มีจิตรักใคร่ผูกพันในน้องอุมมาทันตี ถ้าไม่ได้นางคงจักสวรรคตเป็ นแน่ เราควรจะช่วยปลดเปลื้องโทษอันมิใช่คุณทั้งของพระราชาและของเราเสีย แล้วถวายชีวิตแด่พระราชาพระองค์นี้เถิด จึงกลับไปสู่เรือนของตน. แล้วสั่งให้เรียกคนใช้คนสนิทผู้หนึ่งมาสั่งว่า นี่แน่ะพ่อคุณเอ๋ย ตรงที่โน้นมีต้นไม้ใหญ่ มีโพรงอยู่ต้นหนึ่ง ท่านอย่าให้ใครๆ รู้นะ พอพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว ท่านจงไปในที่นั้นแล้ว เข้าไปนั่งอยู่ภายในต้นไม้ เราจะทาพลีกรรมที่ต้นไม้นั้น พอไปถึงต้นไม้นั้น นมัสการเทวดาแล้ว จักวิงวอนว่า ข้าแต่เทวราชาผู้ยิ่งใหญ่ เมื่อมหรสพมีในพระนคร พระราชาของพวกข้าพเจ้าไม่ยอมทรงเล่น กลับเสด็จไปยังห้องอันเป็นสิริ ทรงบรรทมบ่นเพ้อ พวกข้าพเจ้าไม่ทราบถึงเหตุในข้อนั้นเลย พระราชาทรงมีอุปการะมากมายแก่พวกเทวดาฟ้ าดิน ทรงสละทรัพย์พันหนึ่งให้กระทาพลีกรรมทุกกึ่งปี ขอพวกท่านจงบอกว่า พระราชาทรงเพ้อราพัน เพราะอาศัยเหตุชื่อนี้ ดังนี้ เราจักอ้อนวอนว่า จงให้ชีวิตทานแก่ราชาของพวกข้าพเจ้าด้วยเถิด. ในขณะนั้น ตัวท่านพึงเปลี่ยนเสียง แล้วกล่าวว่า ดูก่อนท่านเสนาบดี ขึ้นชื่อว่าความเจ็บไข้มิได้มีแก่พระราชาของพวกท่านเลย แต่พระองค์มีจิตผูกพันรักใคร่ในนางอุมมาทันตีผู้เป็นภรรยาของท่าน หากพระองค์ได้นาง ก็จักดารงชีวิตอยู่ได้ ถ้าไม่ได้ก็จักสวรรคตเป็นแน่ ถ้าท่านปรารถนาจะให้พระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่ ก็จงถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์เถิด ดังนี้. เมื่อเสนาบดีให้คนใช้จาเอาถ้อยคาอย่างนี้แล้ว ก็สั่งไป. คนใช้นั้นไปนั่งอยู่ในต้นไม้นั้น. ครั้นวันรุ่งขึ้น ท่านเสนาบดีไปยังสถานที่นั้นแล้ว จึงกล่าวคาอ้อนวอน. คนใช้ได้ทาตามคาสั่งทุกประการ. ท่านเสนาบดีกล่าวว่า ดี (ใช้ได้) แล้วไหว้เทวดาฟ้ าดิน บอกให้พวกอามาตย์ทราบเรื่องแล้ว เข้าไปยังพระนคร ขึ้นไปบนราชนิเวศน์ แล้วเคาะประตูห้องบรรทมอันประกอบด้วยสิริ. พอพระเจ้าแผ่นดินกลับได้สติ จึงตรัสถามว่า นั่นใคร. เขากราบทูลว่า ขอเดชะ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ข้าพระองค์ คืออภิปารกเสนาบดี พระเจ้าข้า. ลาดับนั้น พระราชาทรงเปิดพระทวาร (ประตู) ให้เขา. เขาจึงเข้าไปถวายบังคมแด่พระราชาแล้ว กล่าวคาถาว่า [๒๔] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นภูตบดี (ผู้เป็นจอมแห่งหมู่มนุษย์)
  • 17. 17 เมื่อข้าพระองค์นมัสการเทวดาทั้งหลายอยู่ เทวดามาบอกเนื้อความนี้แก่ข้าพระองค์ว่า พระทัยของพระราชาคลุ้มคลั่งในนางอุมมาทันตี ข้าพระองค์ขอถวายนางแด่พระองค์ ขอพระองค์ให้นางบาเรอเถิด. ลาดับนั้น พระราชาตรัสถามท่านเสนาบดีว่า ดูก่อนอภิปารกะผู้สหาย แม้พวกเทวดาก็รู้เรื่องที่เราบ่นเพ้อ เพราะมีจิตรักใคร่ในนางอุมมาทันตีด้วยหรือ. เสนาบดีทูลตอบว่า เป็ นอย่างนั้น พระเจ้าข้า. พระราชาทรงดาริว่า ข่าวว่า ความชั่วของเรา ชาวโลกทั้งหมดรู้กันแล้ว ดังนี้. จึงทรงดาริอยู่ในธรรมคือความตาย. แล้วตรัสคาถาติดต่อกันไปว่า [๒๕] ก็เราพึงพรากเสียจากบุญและไม่เป็ นเทวดา อนึ่ง คนพึงรู้ความชั่วของเรานี้ และเมื่อท่านให้นางอุมมาทันตีภรรยาสุดที่รัก แล้วไม่เห็นนาง ความแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน. คาถาที่เหลือที่เป็นคาถามและคาตอบของคนแม้ทั้งสอง (คือของพระราชาและอภิปารกเสนาบดี) มีดังต่อไปนี้. [๒๖] ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมประชานิกร ประชาชน แม้ทั้งสิ้น นอกจากข้าพระบาทและพระองค์ ไม่พึงรู้กรรมที่ทากัน ข้าพระบาทยอมถวายนางอุมมาทันตีแก่พระองค์ พระองค์จงทรงอภิรมย์อยู่กับนางเต็มพระหทัยปรารถนาแล้ว จงทรงสลัดเสีย. [๒๗] มนุษย์ใดกระทากรรมอันลามก มนุษย์นั้นย่อมสาคัญว่า คนอื่นไม่รู้การกระทานี้ เพราะว่า นรชนเหล่าใดประกอบแล้ว บนพื้นปฐพี นรชนเหล่านั้น ย่อมเห็นการกระทานี้ คนอื่นใครเล่าในแผ่นดินนี้ทั้งโลกพึงเชื่อท่าน หรือว่า นางอุมมาทันตีไม่เป็นที่รักแห่งเรา เมื่อท่านให้นางอุมมาทันตีภรรยายอดรักแล้ว ไม่เห็นนางภายหลัง ความคับแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน. [๒๘] ข้าแต่พระจอมประชาชน นางอุมมาทันตีนั้นเป็นที่รักของข้าพระบาทโดยแท้ ข้าแต่พระภูมิบาล นางไม่เป็นที่รักของข้าพระบาทก็หาไม่ ขอความเจริญจงมีแด่พระองค์ เชิญพระองค์เสด็จไปหานางอุมมาทันตีเถิด เหมือนดังราชสีห์เข้าสู่ถ้าศิลา ฉะนั้น. [๒๙] นักปราชญ์ทั้งหลายถูกความทุกข์ของตนบีบคั้นแล้ว ย่อมไม่ละกรรมที่มีผลเป็นสุข แม้จะเป็นผู้หลงมัวเมาด้วยความสุข ก็ย่อมไม่ประพฤติบาปกรรม. [๓๐] ก็พระองค์เป็นทั้งพระมารดาและบิดา เป็ นผู้เลี้ยงดู เป็นเจ้านาย เป็นผู้พอกเลี้ยง และเป็นเทวดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์พร้อมด้วยบุตรและภรรยา เป็นทาสของพระองค์
  • 18. 18 ขอพระองค์ทรงบริโภคกามตามความสุขเถิด. [๓๑] ผู้ใดย่อมทาบาป ด้วยความสาคัญว่า เราเป็ นผู้ยิ่งใหญ่ และครั้นกระทาแล้ว ก็ไม่สะดุ้งกลัวต่อชนเหล่าอื่น ผู้นั้นย่อมไม่เป็ นอยู่ตลอดอายุยืนยาว เพราะกรรมนั้น แม้เทวดาก็มองดูผู้นั้น ด้วยนัยน์ตาอันเหยียดหยาม. [๓๒] ชนเหล่าใดตั้งอยู่ในธรรม ย่อมรับทานที่เป็นของผู้อื่น อันเจ้าของมอบให้แล้ว ชนเหล่านั้นเป็ นผู้รับด้วย เป็นผู้ให้ในทานนั้นด้วย ได้ชื่อว่าทากรรมอันมีผลเป็นสุข ในเพราะทานนั้นแท้จริง. [๓๓] คนอื่นใครเล่า ในแผ่นดินทั้งโลก จะพึงเชื่อท่าน หรือว่า นางอุมมาทันตีไม่เป็นที่รักของเรา เมื่อท่านให้นางอุมมาทันตี ภรรยายอดรักแล้ว ไม่เห็นนางภายหลัง ความคับแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน. [๓๔]ข้าแต่พระจอมประชาชน นางอุมมาทันตีนั้นเป็นที่รักของข้าพระบาทโดยแท้ ข้าแต่พระภูมิบาล นางไม่เป็นที่รักของข้าพระบาทก็หาไม่ ข้าพระบาทยอมถวายนางอุมมาทันตีแก่พระองค์ พระองค์จงทรงอภิรมย์อยู่กับนาง เต็มพระหทัยปรารถนาแล้ว จงทรงสลัดเสีย. [๓๕] ผู้ใดก่อทุกข์ให้แก่ผู้อื่น ด้วยทุกข์ของตน หรือก่อความสุขของตน ด้วยความสุขของผู้อื่น ผู้ใดรู้อย่างนี้ว่า ความสุขและความทุกข์ของเรานี้ ก็เหมือนของผู้อื่น ผู้นั้นชื่อว่า รู้ธรรม. [๓๖] คนอื่นใครเล่า ในแผ่นดินทั้งโลก จะพึงเชื่อท่าน หรือว่า นางอุมมาทันตีไม่เป็นที่รักของเรา เมื่อท่านให้นางอุมมาทันตีภรรยายอดรักแล้ว ไม่เห็นนางภายหลัง ความคับแค้นใจอย่างร้ายแรง จะพึงมีแก่ท่าน. [๓๗] ข้าแต่พระองค์ผู้จอมประชาชน พระองค์ย่อมทรงทราบว่า นางอุมมาทันตีนี้เป็นที่รักของข้าพระบาท ข้าแต่พระจอมภูมิบาล นางนั้นไม่เป็ นที่รักของข้าพระบาทก็หาไม่ ข้าพระบาทขอถวายสิ่งอันเป็ นที่รักแก่พระองค์ ด้วยสิ่งอันเป็นที่รัก ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ ผู้ให้สิ่งอันเป็ นที่รักย่อมได้สิ่งอันเป็ นที่รัก. [๓๘] เรานั้นจักฆ่าตนอันมีกามเป็นเหตุโดยแท้ เราไม่อาจฆ่าธรรมด้วยอธรรมได้เลย. [๓๙] ข้าแต่พระจอมประชาชน ผู้แกล้วกล้ากว่านรชนผู้ประเสริฐ ถ้าพระองค์ไม่ต้องพระประสงค์นางอุมมาทันตีผู้เป็นของข้าพระบาทไซร้ ข้าพระบาทจะสละนาง ในท่ามกลางชนทั้งปวง พระองค์พึงรับสั่งให้นานางผู้พ้นจากข้าพระบาทแล้ว มาจากที่นั้นเถิด พระเจ้าข้า. [๔๐] ดูก่อนอภิปารกเสนาบดี ผู้กระทาประโยชน์ ถ้าท่านจะสละนางอุมมาทันตี ผู้หาประโยชน์มิได้
  • 19. 19 เพื่อสิ่งอันไม่เป็ นประโยชน์แก่ท่าน ความค่อนว่าอย่างใหญ่หลวง จะพึงมีแก่ท่าน อนึ่ง แม้การใส่ร้ายในพระนคร ก็จะพึงมีแก่ท่าน. [๔๑] ข้าแต่พระจอมภูมิบาล ข้าพระบาทจักอดกลั้นคาค่อนว่า คานินทา คาสรรเสริญ และคาติเตียนนี้ทั้งหมด คาค่อนว่าเป็ นต้นนั้น จงตกอยู่แก่ข้าพระบาท ข้าแต่พระจอมแห่งชนชาวสีพี ขอพระองค์ทรงบริโภคกามตามความสาราญเถิด. ผู้ใดไม่ถือเอาความนินทา ความสรรเสริญ ความติเตียน และแม้การบูชา สิริและปัญญาย่อมปราศไปจากผู้นั้น เหมือนดังน้าฝนปราศไปจากที่ดอน ฉะนั้น. ข้าพระบาทจักยอมรับความทุกข์และความสุข สิ่งที่ล่วงธรรมดา และความคับแค้นใจทั้งหมด เพราะเหตุแห่งการสละนี้ด้วยอก เหมือนดังแผ่นดินรองรับสิ่งของทั้งของคนมั่นคงและคนสะดุ้ง ฉะนั้น. [๔๒] เราไม่ปรารถนาสิ่งที่ล่วงธรรมดา ความคับแค้นใจและความทุกข์ของชนเหล่าอื่น เราผู้เดียวเท่านั้นจักเป็ นผู้ตั้งอยู่ในธรรม ไม่ยังประโยชน์หน่อยหนึ่งให้เสื่อม ข้ามภาระนี้ไป. [๔๓] ข้าแต่จอมประชาชน บุญกรรมย่อมให้เข้าถึงสวรรค์ พระองค์อย่าได้ทรงทาอันตรายแก่ข้าพระบาทเสียเลย ข้าพระบาทมีใจเลื่อมใส ขอถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ ดังพระราชาทรงประทานทรัพย์สาหรับบูชายัญแก่พราหมณ์ทั้งหลาย ฉะนั้น. [๔๔] ท่านเป็นผู้เกื้อกูลแก่เราในการกระทาประโยชน์แน่แท้ นางอุมมาทันตีและท่านเป็นสหายของเรา เทวดาและพรหมทั้งหมดเห็น ความชั่วอันเป็ นไปในภายหน้า พึงติเตียนได้. [๔๕] ข้าแต่พระเจ้าสีวิราช ชาวนิคมและชาวชนบททั้งหมด ไม่พึงคัดค้านกรรมอันเป็นธรรมนั้นเลย ข้าพระบาทขอถวายนางอุมมาทันตีแด่พระองค์ พระองค์จงทรงอภิรมย์อยู่กับนางเต็มพระหทัยปรารถนา แล้วจงทรงสลัดเสีย. [๔๖] ท่านเป็นผู้เกื้อกูลแก่เราในการกระทาประโยชน์แน่แท้ นางอุมมาทันตีและท่านเป็นสหายของเรา ธรรมของสัตบุรุษที่ประกาศดีแล้ว ยากที่จะล่วงละเมิดได้ เหมือนเขตแดนของมหาสมุทร ฉะนั้น. [๔๗] ข้าแต่พระราชา พระองค์เป็นผู้ควรของคานับของข้าพระองค์ เป็นผู้หวังประโยชน์เกื้อกูล เป็นผู้ทรงไว้ เป็นผู้ประทานความสุข และทรงรักษาความปรารถนาไว้ ด้วยว่า ยัญที่บูชาในพระองค์ ย่อมมีผลมาก ขอพระองค์ทรงรับนางอุมมาทันตีตามความปรารถนาของข้าพระบาทเถิด. [๔๘] ดูก่อนอภิปารกเสนาบดีผู้เป็นบุตรแห่งท่านผู้กระทาประโยชน์