SlideShare a Scribd company logo
1
อัมพชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๔. อัมพชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๔๔)
ว่าด้วยพระขรัวตาเฝ้ าสวนมะม่วง
(ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๑ กล่าวคาสาบานแก่ชฏิลโกงว่า)
[๑๗๓] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป
ขอหญิงนั้นจงตกอยู่ในอานาจของชายที่ย้อมผมให้ดา
และลาบากด้วยการใช้แหนบ(ถอนผมหงอกที่งอกแซมขึ้นมา)
(ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๒ กล่าวคาสาบานแก่ชฏิลโกงว่า)
[๑๗๔] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป
หญิงนั้นถึงจะมีอายุตั้ง ๒๐ ปี ๒๕ ปี หรือยังไม่ถึง ๓๐ ปี ก็ขออย่าหาผัวได้เลย
(ต่อจากนั้น ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๓ กล่าวคาสาบานว่า)
[๑๗๕] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป
ขอหญิงนั้นถึงจะกระเสือกกระสนเดินทางอันยาวไกลเพียงคนเดียว
ก็อย่าได้พบผัวแม้ในสถานที่ที่ได้นัดหมายกันไว้เลย
(ต่อจากนั้น ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๔ จึงกล่าวคาสาบานบ้างว่า)
[๑๗๖] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป
ขอหญิงนั้นถึงจะมีที่อยู่อันสะอาด ตกแต่งร่างกายสวยงาม
ประดับประดาด้วยระเบียบดอกไม้ ลูบไล้ด้วยกระแจะจันทน์
ก็จงนอนอยู่บนที่นอนเพียงคนเดียวเถิด
อัมพชาดกที่ ๔ จบ
-------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
อัมพชาดก
ว่าด้วย หญิงขโมยมะม่วง
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภพระเถระผู้เฝ้ ามะม่วงรูปหนึ่ง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี ดังนี้.
ได้ยินว่า พระเถระนั้นบวชเมื่อภายแก่ สร้างบรรณศาลาอยู่
ในสวนมะม่วงท้ายพระเชตวัน ดูแลรักษามะม่วง เคี้ยวกินมะม่วงสุกที่หล่นอยู่
ย่อมให้เฉพาะคนที่เกี่ยวข้องกับตน. เมื่อพระเถระนั้นเข้าไปภิกขาจาร
คนลักมะม่วงทาผลมะม่วงให้หล่นแล้วกินและถือเอาไป. ขณะนั้น ธิดาของเศรษฐี
๔ คน อาบน้าในแม่น้าอจิรวดีแล้วเที่ยวไป จึงเข้าไปยังสวนมะม่วงนั้น.
พระแก่มาเห็นธิดาเศรษฐีเหล่านั้นจึงกล่าวว่า พวกเจ้ากินมะม่วงของเรา.
ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ พวกดิฉันเพิ่งมา
2
ไม่ได้กินมะม่วงของท่าน. พระแก่กล่าวว่า ถ้าอย่างนั้นพวกเจ้าจงสบถ.
ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นรับคาว่าจะกระทาสบถ เจ้าข้า แล้วพากันกระทาสบถ.
พระแก่ให้ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นทาสบถให้ได้อาย แล้วจึงปล่อยตัวไป.
ภิกษุทั้งหลายได้ฟัง การกระทานั้นของพระแก่รูปนั้น
จึงสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย ได้ยินว่า
พระแก่รูปโน้นให้ธิดาเศรษฐีผู้เข้าไปยังสวนมะม่วงอันเป็นที่อยู่ของตนกระทาสบ
ถ ทาให้ได้อายแล้วปล่อยไป. พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย
บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันเรื่องอะไร?
เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย
มิใช่ชาตินี้เท่านั้น แม้ชาติก่อน พระแก่นี้ได้เป็นผู้เฝ้ ามะม่วง
ยังธิดาเศรษฐีเหล่านี้ให้ทาการสบถ ทาให้ได้อายแล้วปล่อยไป
แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์ทรงครองความเป็นท้าวสักกเทวราช. ในกาลนั้น
ชฎิลโกงผู้หนึ่งเข้าไปอาศัยนครพาราณสี สร้างบรรณศาลาในสวนมะม่วง ณ
ที่ใกล้ฝั่งแม่น้า รักษามะม่วงอยู่ กินผลมะม่วงสุกที่หล่น
ให้เฉพาะแก่คนที่เกี่ยวข้องกัน เลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพมีประการต่างๆ อยู่.
ในกาลนั้น ท้าวสักกเทวราชทรงดาริว่า ใครหนอบารุงบิดามารดา
ใครหนอประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้เจริญที่สุดในสกุล ใครให้ทานรักษาศีล
กระทาอุโบสถกรรม ใครบวชแล้วขวนขวายในสมณธรรมอยู่
ใครประพฤติอนาจาร จึงทรงตรวจดูชาวโลก
ทรงเห็นชฎิลโกงผู้เฝ้ ามะม่วงผู้นี้ไม่มีอาจาระ จึงทรงดาริว่า
ชฎิลโกงผู้นี้ละทิ้งสมณธรรมของตนมีบริกรรมกสิณเป็นต้น รักษาสวนมะม่วงอยู่
เราจักทาเขาให้สังเวชสลดใจ จึงในเวลาที่ชฎิลโกงนั้นเข้าไปภิกขาจารยังบ้าน
จึงบันดาลมะม่วงทั้งหลายให้ล้มลงด้วยอานุภาพของพระองค์
ทรงทาให้เสมือนหนึ่งถูกพวกโจรปล้น.
ในคราวนั้น ธิดาเศรษฐี ๔ คนจากนครพาราณสี
เข้าไปยังสวนมะม่วงนั้น. ชฎิลโกงเห็นธิดาเศรษฐีเหล่านั้นจึงอ้างเอาว่า
พวกท่านบริโภคมะม่วงของเรา. ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ
พวกฉันเพิ่งมาเดี๋ยวนี้เอง พวกดิฉันไม่ได้กินมะม่วงของท่าน.
ชฎิลโกงพูดว่า ถ้าอย่างนั้น พวกท่านจงสบถ.
ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นถามว่า ก็พวกดิฉันสบถแล้ว จักไปได้กระมัง?
ชฎิลโกงกล่าวว่า เออ สบถแล้วจักได้ไป.
ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นพากันรับคาว่า ดีแล้ว ท่านผู้เจริญ
เมื่อธิดาเศรษฐีคนใหญ่จะสบถ จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
3
หญิงใดลักมะม่วงของท่าน
หญิงนั้นจงตกอยู่ในอานาจของชายผู้ย้อมผมให้ดา และผู้เดือดร้อน
เพราะต้องถอนผมหงอกด้วยแหนบ.
คาที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า
ชายใดแต่งให้ผมดาซึ่งเอาผลไม้สีเขียวเป็ นต้นมาประกอบทา
เพื่อต้องการจะทาผมหงอกให้มีสีดา และผู้ถอนผมหงอกซึ่งแซมอยู่กับผมดา
ชื่อว่าเดือดร้อน คือลาบากเพราะแหนบ
หญิงผู้ลักมะม่วงของท่านจงตกอยู่ในอานาจของชายแก่เห็นปานนั้น
คือจงได้ผัวเห็นปานนั้น.
ดาบสกล่าวว่า เจ้าจงยืนอยู่ในส่วนข้างหนึ่ง
แล้วให้ธิดาเศรษฐีคนที่สองกระทาการสบถ.
ธิดาเศรษฐีคนที่สองนั้น เมื่อจะสบถ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นถึงจะมีอายุตั้ง ๒๐ ปี ๒๕ ปี
หรือไม่ถึง ๓๐ ปี โดยกาเนิด แม้เป็ นผู้มีวัยแก่เช่นนั้น ก็อย่าได้ผัวเลย.
คาที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า ธรรมดา
นารีทั้งหลายย่อมเป็นที่รักของพวกบุรุษ ในคราวมีอายุประมาณ ๑๕-๑๖ ปี
แต่หญิงผู้ลักมะม่วงของท่าน อย่าได้สามีในคราวเป็นสาวเห็นปานนั้น พอถึงอายุ
๒๐ ปี หรือ ๒๕ ปี หรือชื่อว่าหย่อน ๓๐ ปี เพราะหย่อนหนึ่งปี
สองปีโดยชาติกาเนิด แม้จะเป็นผู้เช่นนั้น คือเป็นผู้มีวัยแก่แล้ว ก็อย่าได้สามี.
เมื่อธิดาเศรษฐีคนที่สอง แม้นั้นสบถแล้ว ยืนอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง
ธิดาเศรษฐีคนที่สาม จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :-
หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นถึงจะกระเสือกกระสนเที่ยวหาผัว
เดินทางไกลแสนไกลลาพังผู้เดียว ถึงจะได้นัดแนะกันไว้แล้ว
ขออย่าได้พบได้เห็นผัวเลย.
คาที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า หญิงใดลักมะม่วงของท่าน
หญิงนั้นเมื่อปรารถนาผัว ชื่อว่าเป็ นผู้กระเสือกกระสน
เพราะรนไปในสานักของผัวนั้นลาพังผู้เดียว คือไม่มีเพื่อน
เดินทางไกลแสนไกลประมาณ ๑ คาวุต ๒ คาวุต
และแม้ครั้นไปถึงแล้วทาการนัดหมายกันว่า ท่านพึงมายังที่ชื่อโน้น
ก็อย่าได้พบเห็นผัวนั้นเลย.
เมื่อธิดาเศรษฐีคนที่สาม แม้นั้นสบถแล้วยืน ณ ส่วนข้างหนึ่ง
ธิดาเศรษฐีคนที่สี่ จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นถึงจะมีที่อยู่สะอาด ตกแต่งร่างกาย
ทัดทรงดอกไม้ ลูบไล้ด้วยกระแจะจันทน์
ก็จงนอนอยู่บนที่นอนแต่เพียงคนเดียวเถิด.
4
ดาบสโกงกล่าวว่า ท่านทั้งหลายทาการสบถแข็งแรงมาก
คนเหล่าอื่นคงจักกินมะม่วงของเรา บัดนี้พวกท่านไปได้
แล้วส่งธิดาเศรษฐีเหล่านั้นไป.
ท้าวสักกะจึงทรงแสดงรูปารมณ์อันน่ากลัว
ทาดาบสโกงให้หนีไปจากที่นั้น.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว
จึงทรงประชุมชาดกว่า
ชฎิลโกงในครั้งนั้น ได้เป็ น พระแก่เฝ้ ามะม่วงรูปนี้
ธิดาเศรษฐี ๔ คนในครั้งนั้น ได้เป็น ธิดาเศรษฐีเหล่านี้แหละ
ส่วนท้าวสักกเทวราชในครั้งนั้น ได้เป็น เราตถาคต ฉะนี้แล
จบ อรรถกถาอัมพชาดกที่ ๔
-------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

344 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๔. อัมพชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๔๔) ว่าด้วยพระขรัวตาเฝ้ าสวนมะม่วง (ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๑ กล่าวคาสาบานแก่ชฏิลโกงว่า) [๑๗๓] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป ขอหญิงนั้นจงตกอยู่ในอานาจของชายที่ย้อมผมให้ดา และลาบากด้วยการใช้แหนบ(ถอนผมหงอกที่งอกแซมขึ้นมา) (ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๒ กล่าวคาสาบานแก่ชฏิลโกงว่า) [๑๗๔] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป หญิงนั้นถึงจะมีอายุตั้ง ๒๐ ปี ๒๕ ปี หรือยังไม่ถึง ๓๐ ปี ก็ขออย่าหาผัวได้เลย (ต่อจากนั้น ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๓ กล่าวคาสาบานว่า) [๑๗๕] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป ขอหญิงนั้นถึงจะกระเสือกกระสนเดินทางอันยาวไกลเพียงคนเดียว ก็อย่าได้พบผัวแม้ในสถานที่ที่ได้นัดหมายกันไว้เลย (ต่อจากนั้น ลูกสาวเศรษฐีคนที่ ๔ จึงกล่าวคาสาบานบ้างว่า) [๑๗๖] หญิงใดได้ลักผลมะม่วงทั้งหลายของท่านไป ขอหญิงนั้นถึงจะมีที่อยู่อันสะอาด ตกแต่งร่างกายสวยงาม ประดับประดาด้วยระเบียบดอกไม้ ลูบไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ก็จงนอนอยู่บนที่นอนเพียงคนเดียวเถิด อัมพชาดกที่ ๔ จบ ------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา อัมพชาดก ว่าด้วย หญิงขโมยมะม่วง พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภพระเถระผู้เฝ้ ามะม่วงรูปหนึ่ง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มี ดังนี้. ได้ยินว่า พระเถระนั้นบวชเมื่อภายแก่ สร้างบรรณศาลาอยู่ ในสวนมะม่วงท้ายพระเชตวัน ดูแลรักษามะม่วง เคี้ยวกินมะม่วงสุกที่หล่นอยู่ ย่อมให้เฉพาะคนที่เกี่ยวข้องกับตน. เมื่อพระเถระนั้นเข้าไปภิกขาจาร คนลักมะม่วงทาผลมะม่วงให้หล่นแล้วกินและถือเอาไป. ขณะนั้น ธิดาของเศรษฐี ๔ คน อาบน้าในแม่น้าอจิรวดีแล้วเที่ยวไป จึงเข้าไปยังสวนมะม่วงนั้น. พระแก่มาเห็นธิดาเศรษฐีเหล่านั้นจึงกล่าวว่า พวกเจ้ากินมะม่วงของเรา. ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ พวกดิฉันเพิ่งมา
  • 2. 2 ไม่ได้กินมะม่วงของท่าน. พระแก่กล่าวว่า ถ้าอย่างนั้นพวกเจ้าจงสบถ. ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นรับคาว่าจะกระทาสบถ เจ้าข้า แล้วพากันกระทาสบถ. พระแก่ให้ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นทาสบถให้ได้อาย แล้วจึงปล่อยตัวไป. ภิกษุทั้งหลายได้ฟัง การกระทานั้นของพระแก่รูปนั้น จึงสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า อาวุโสทั้งหลาย ได้ยินว่า พระแก่รูปโน้นให้ธิดาเศรษฐีผู้เข้าไปยังสวนมะม่วงอันเป็นที่อยู่ของตนกระทาสบ ถ ทาให้ได้อายแล้วปล่อยไป. พระศาสดาเสด็จมาแล้วตรัสถามว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันเรื่องอะไร? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว จึงตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย มิใช่ชาตินี้เท่านั้น แม้ชาติก่อน พระแก่นี้ได้เป็นผู้เฝ้ ามะม่วง ยังธิดาเศรษฐีเหล่านี้ให้ทาการสบถ ทาให้ได้อายแล้วปล่อยไป แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ทรงครองความเป็นท้าวสักกเทวราช. ในกาลนั้น ชฎิลโกงผู้หนึ่งเข้าไปอาศัยนครพาราณสี สร้างบรรณศาลาในสวนมะม่วง ณ ที่ใกล้ฝั่งแม่น้า รักษามะม่วงอยู่ กินผลมะม่วงสุกที่หล่น ให้เฉพาะแก่คนที่เกี่ยวข้องกัน เลี้ยงชีวิตด้วยมิจฉาชีพมีประการต่างๆ อยู่. ในกาลนั้น ท้าวสักกเทวราชทรงดาริว่า ใครหนอบารุงบิดามารดา ใครหนอประพฤติอ่อนน้อมต่อผู้เจริญที่สุดในสกุล ใครให้ทานรักษาศีล กระทาอุโบสถกรรม ใครบวชแล้วขวนขวายในสมณธรรมอยู่ ใครประพฤติอนาจาร จึงทรงตรวจดูชาวโลก ทรงเห็นชฎิลโกงผู้เฝ้ ามะม่วงผู้นี้ไม่มีอาจาระ จึงทรงดาริว่า ชฎิลโกงผู้นี้ละทิ้งสมณธรรมของตนมีบริกรรมกสิณเป็นต้น รักษาสวนมะม่วงอยู่ เราจักทาเขาให้สังเวชสลดใจ จึงในเวลาที่ชฎิลโกงนั้นเข้าไปภิกขาจารยังบ้าน จึงบันดาลมะม่วงทั้งหลายให้ล้มลงด้วยอานุภาพของพระองค์ ทรงทาให้เสมือนหนึ่งถูกพวกโจรปล้น. ในคราวนั้น ธิดาเศรษฐี ๔ คนจากนครพาราณสี เข้าไปยังสวนมะม่วงนั้น. ชฎิลโกงเห็นธิดาเศรษฐีเหล่านั้นจึงอ้างเอาว่า พวกท่านบริโภคมะม่วงของเรา. ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นกล่าวว่า ท่านผู้เจริญ พวกฉันเพิ่งมาเดี๋ยวนี้เอง พวกดิฉันไม่ได้กินมะม่วงของท่าน. ชฎิลโกงพูดว่า ถ้าอย่างนั้น พวกท่านจงสบถ. ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นถามว่า ก็พวกดิฉันสบถแล้ว จักไปได้กระมัง? ชฎิลโกงกล่าวว่า เออ สบถแล้วจักได้ไป. ธิดาเศรษฐีเหล่านั้นพากันรับคาว่า ดีแล้ว ท่านผู้เจริญ เมื่อธิดาเศรษฐีคนใหญ่จะสบถ จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า :-
  • 3. 3 หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นจงตกอยู่ในอานาจของชายผู้ย้อมผมให้ดา และผู้เดือดร้อน เพราะต้องถอนผมหงอกด้วยแหนบ. คาที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า ชายใดแต่งให้ผมดาซึ่งเอาผลไม้สีเขียวเป็ นต้นมาประกอบทา เพื่อต้องการจะทาผมหงอกให้มีสีดา และผู้ถอนผมหงอกซึ่งแซมอยู่กับผมดา ชื่อว่าเดือดร้อน คือลาบากเพราะแหนบ หญิงผู้ลักมะม่วงของท่านจงตกอยู่ในอานาจของชายแก่เห็นปานนั้น คือจงได้ผัวเห็นปานนั้น. ดาบสกล่าวว่า เจ้าจงยืนอยู่ในส่วนข้างหนึ่ง แล้วให้ธิดาเศรษฐีคนที่สองกระทาการสบถ. ธิดาเศรษฐีคนที่สองนั้น เมื่อจะสบถ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :- หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นถึงจะมีอายุตั้ง ๒๐ ปี ๒๕ ปี หรือไม่ถึง ๓๐ ปี โดยกาเนิด แม้เป็ นผู้มีวัยแก่เช่นนั้น ก็อย่าได้ผัวเลย. คาที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า ธรรมดา นารีทั้งหลายย่อมเป็นที่รักของพวกบุรุษ ในคราวมีอายุประมาณ ๑๕-๑๖ ปี แต่หญิงผู้ลักมะม่วงของท่าน อย่าได้สามีในคราวเป็นสาวเห็นปานนั้น พอถึงอายุ ๒๐ ปี หรือ ๒๕ ปี หรือชื่อว่าหย่อน ๓๐ ปี เพราะหย่อนหนึ่งปี สองปีโดยชาติกาเนิด แม้จะเป็นผู้เช่นนั้น คือเป็นผู้มีวัยแก่แล้ว ก็อย่าได้สามี. เมื่อธิดาเศรษฐีคนที่สอง แม้นั้นสบถแล้ว ยืนอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง ธิดาเศรษฐีคนที่สาม จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ว่า :- หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นถึงจะกระเสือกกระสนเที่ยวหาผัว เดินทางไกลแสนไกลลาพังผู้เดียว ถึงจะได้นัดแนะกันไว้แล้ว ขออย่าได้พบได้เห็นผัวเลย. คาที่เป็นคาถานั้นมีใจความว่า หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นเมื่อปรารถนาผัว ชื่อว่าเป็ นผู้กระเสือกกระสน เพราะรนไปในสานักของผัวนั้นลาพังผู้เดียว คือไม่มีเพื่อน เดินทางไกลแสนไกลประมาณ ๑ คาวุต ๒ คาวุต และแม้ครั้นไปถึงแล้วทาการนัดหมายกันว่า ท่านพึงมายังที่ชื่อโน้น ก็อย่าได้พบเห็นผัวนั้นเลย. เมื่อธิดาเศรษฐีคนที่สาม แม้นั้นสบถแล้วยืน ณ ส่วนข้างหนึ่ง ธิดาเศรษฐีคนที่สี่ จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :- หญิงใดลักมะม่วงของท่าน หญิงนั้นถึงจะมีที่อยู่สะอาด ตกแต่งร่างกาย ทัดทรงดอกไม้ ลูบไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ก็จงนอนอยู่บนที่นอนแต่เพียงคนเดียวเถิด.
  • 4. 4 ดาบสโกงกล่าวว่า ท่านทั้งหลายทาการสบถแข็งแรงมาก คนเหล่าอื่นคงจักกินมะม่วงของเรา บัดนี้พวกท่านไปได้ แล้วส่งธิดาเศรษฐีเหล่านั้นไป. ท้าวสักกะจึงทรงแสดงรูปารมณ์อันน่ากลัว ทาดาบสโกงให้หนีไปจากที่นั้น. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว จึงทรงประชุมชาดกว่า ชฎิลโกงในครั้งนั้น ได้เป็ น พระแก่เฝ้ ามะม่วงรูปนี้ ธิดาเศรษฐี ๔ คนในครั้งนั้น ได้เป็น ธิดาเศรษฐีเหล่านี้แหละ ส่วนท้าวสักกเทวราชในครั้งนั้น ได้เป็น เราตถาคต ฉะนี้แล จบ อรรถกถาอัมพชาดกที่ ๔ -------------------------------