SlideShare a Scribd company logo
1
กัณหชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒. กัณหชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๔๐)
ว่าด้วยกัณหฤาษี
(ท้าวสักกะตรัสกับฤๅษีกัณหะว่า)
[๑๑] ชายคนนี้ผิวดาหนอ บริโภคอาหารสีดา อยู่ในภูมิประเทศสีดา
เราไม่ชอบใจเลย
(ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า)
[๑๒] ท้าวสุชัมบดีสักกเทวราช เพราะผิวไม่นับว่าเป็ นคนดา
เพราะพราหมณ์มีความดีเป็นแก่นในภายใน ผู้ที่มีกรรมชั่วนั่นแหละ
นับว่าเป็ นคนดา
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๑๓] ท่านพราหมณ์ เพราะถ้อยคาที่ท่านเจรจานั้น ไพเราะ เหมาะสม
เป็นสุภาษิต ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่านตามที่ใจของท่านปรารถนา
(ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า)
[๑๔] ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง
หากพระองค์จะประทานพรแก่อาตมา อาตมาหวังเฉพาะความประพฤติของตน
คือ อย่ามีความโกรธ อย่ามีโทสะ อย่ามีความโลภ และอย่ามีความเสน่หา
ขอพระองค์ทรงประทานพรทั้ง ๔ ประการเหล่านี้แก่อาตมาเถิด
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๑๕] พราหมณ์ ท่านเห็นโทษอะไรในความโกรธ ในโทสะ ในความโลภ
หรือในความเสน่หา ข้าพเจ้าถามแล้วขอท่านจงบอกแก่ข้าพเจ้า
(ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า)
[๑๖] ความโกรธนั้นเกิดจากความไม่อดทน ถึงจะน้อย ก็จะมากได้
ต่อไปก็จะเพิ่มพูนยิ่งขึ้น เป็ นความขัดข้องใจ มีความคับแค้นใจเป็นอันมาก
เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบความโกรธ
[๑๗] คนถูกโทสะครอบงามีวาจาหยาบคาย ต่อไปก็ประหมัดตบตีกัน
ใช้ท่อนไม้ประหารกัน ที่สุดก็จะใช้ศัสตราประหัตประหารกัน
โทสะมีความโกรธเป็นสมุฏฐาน เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบโทสะ
[๑๘] การปล้นฆ่าชาวบ้าน การจี้ข่มขู่เอาทรัพย์ การคดโกง
และการหลอกลวงย่อมปรากฏมีอยู่ในบุคคลผู้มีความโลภ เพราะฉะนั้น
อาตมาจึงไม่ชอบความโลภ
2
[๑๙]
ความผูกพันที่ถูกความเสน่หาร้อยรัดไว้อันเกิดแต่ใจนอนเนื่องอยู่เป็นอันมาก
ย่อมทาให้เดือดร้อนมากมาย เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบความเสน่หา
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๒๐] พราหมณ์ เพราะถ้อยคาที่ท่านเจรจานั้น ไพเราะ เหมาะสม
เป็นสุภาษิต ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่านตามที่ใจของท่านปรารถนา
(ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า)
[๒๑] ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง
หากพระองค์จะประทานพรแก่อาตมา อาตมาเมื่ออยู่ในป่า
ก็อยู่เพียงผู้เดียวเป็นนิตย์
อาพาธทั้งหลายที่ร้ายกาจซึ่งกระทาอันตรายได้ขออย่าได้เกิดขึ้นเลย
(ท้าวสักกะตรัสว่า)
[๒๒] พราหมณ์ เพราะถ้อยคาที่ท่านเจรจานั้น ไพเราะ เหมาะสม
เป็นสุภาษิต ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่านตามที่ใจของท่านปรารถนา
(ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า)
[๒๓] ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง
หากพระองค์จะประทานพรแก่อาตมา ใจก็ตาม กายก็ตาม
ขออย่าได้เข้าไปกระทบกระทั่งใครๆ ในกาลไหนๆ
เพราะการกระทาของอาตมาเลย อาตมาปรารถนาพรดังนี้
กัณหชาดกที่ ๒ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
กัณหชาดก
ว่าด้วย ขอพร
พระศาสดา เมื่อเสด็จเข้าไปอาศัยพระนครกบิลพัสดุ์ ประทับอยู่ ณ
นิโครธาราม ทรงปรารภความยิ้มแย้ม จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ได้ยินว่า คราวนั้น เวลาเย็นพระศาสดาแวดล้อมไปด้วยภิกษุสงฆ์
เสด็จพุทธดาเนินไปตามบริเวณวิหารนิโครธาราม ได้ทรงยิ้มแย้ม ณ
ประเทศแห่งหนึ่ง พระอานนท์เถระจึงคิดว่า อะไรหนอแลเป็ นเหตุ
เป็นปัจจัยให้พระผู้มีพระภาคทรงยิ้มแย้ม
พระตถาคตทั้งหลายจะทรงยิ้มแย้มโดยไม่มีเหตุ หามิได้ เราจักทูลถามก่อน
แล้วประคองอัญชลี ทูลถามเหตุที่ทรงยิ้มแย้ม.
ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสเหตุที่ทรงยิ้มแย้มแก่พระอานนทเถระว่า
ดูก่อนอานนท์ เรื่องเคยมีมาแล้ว
มีฤๅษีตนหนึ่งชื่อว่ากัณหะ ท่านอยู่ในภูมิประเทศนี้ เป็ นผู้ได้ฌาน
3
และรื่นรมย์อยู่ในฌาน
ด้วยเดชแห่งศีลของท่านบันดาลให้ภพของท้าวสักกเทวราชหวั่นไหว ดังนี้
โดยที่เรื่องนั้นไม่มีปรากฏ พระเถระจึงทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว
พระองค์ได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธกดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี
มีพราหมณ์คนหนึ่งมีสมบัติ ๘๐ โกฏิ ไม่มีบุตร ได้สมาทานศีลปรารถนาบุตร
พระโพธิสัตว์บังเกิดในครรภ์นางพราหมณีภรรยาของพราหมณ์นั้น
ในวันตั้งชื่อพระโพธิสัตว์
ญาติทั้งหลายได้ตั้งชื่อให้ว่า กัณหกุมาร เพราะมีผิวดา กัณหกุมารนั้นเมื่อมีอายุได้
๑๖ ปี มีรูปงดงามดังรูปที่ทาด้วยแก้วมณี บิดาส่งไปเรียนศิลปะในเมืองตักกสิลา
ครั้นเรียนสาเร็จแล้วก็กลับมา ครั้งนั้น บิดาให้เขาแต่งงานกับภรรยาที่สมควรกัน
กาลต่อมา เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไปแล้ว
เขาได้เป็นใหญ่ปกครองทรัพย์สมบัติทั้งหมด.
อยู่มาวันหนึ่ง กัณหกุมารได้ตรวจตราเรือนคลังรัตนะทั้งหลาย
แล้วขึ้นนั่งท่ามกลางบัลลังก์ ให้นาบัญชีที่เป็ นแผ่นทองมา เห็นอักษรที่ญาติก่อนๆ
จดจารึกไว้ในแผ่นทองว่า ทรัพย์เท่านี้ญาติคนโน้นให้เกิดขึ้น
ทรัพย์เท่านี้ญาติคนโน้นให้เกิดขึ้น จึงคิดว่า ผู้ที่ทาทรัพย์นี้ให้เกิดขึ้นไม่ปรากฏ
ตายไปหมดแล้ว ปรากฏอยู่แต่ทรัพย์อย่างเดียว
ผู้ที่ถือเอาทรัพย์นี้ไปด้วยแม้คนหนึ่งก็มิได้มี
ความจริงไม่มีใครอาจขนเอาห่อทรัพย์ติดไปปรโลกได้เลย
ทรัพย์เป็นของไม่มีสาระ เพราะจะต้องสาธารณะด้วยภัย ๕ ประการ คือ ราชภัย
โจรภัย อัคคีภัย อุทกภัย อัปปิยทายาทภัย. การให้ทรัพย์เป็นทาน เป็ นสาระ
ร่างกายไม่เป็นสาระเพราะจะต้องสาธารณะด้วยโรคมากมาย
คนทาความดีมีกราบไหว้ท่านผู้มีศีลเป็นต้น เป็ นสาระ,
ชีวิตไม่เป็นสาระเพราะไม่เที่ยงแท้แน่นอน
การประกอบความเพียรเจริญวิปัสสนาด้วยสามารถไตรลักษณ์ เป็นสาระ
เพราะฉะนั้น เราจักให้ทาน เพื่อถือเอาสาระจากโภคะที่ไม่เป็นสาระ.
คิดดังนี้แล้ว จึงลุกออกจากอาสนะไปเฝ้ าพระราชา
แล้วถวายบังคมลาพระราชา มาบาเพ็ญทานเป็นการใหญ่ เมื่อบาเพ็ญทานได้ ๗
วัน เขาเห็นทรัพย์มิได้หมดสิ้นไป จึงคิดว่า ประโยชน์อะไรด้วยทรัพย์สาหรับเรา
ขณะที่ยังไม่ถูกชราครอบงานี้ เราจักบวชทาอภิญญาและสมาบัติให้เกิด
แล้วจักมีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
คิดดังนี้แล้ว ก็ให้เปิดประตูเรือนทุกประตู ประกาศว่า
สิ่งของทั้งหมดเราได้ให้แล้ว ผู้มีความต้องการจงนาไปเถิด
4
เขาเกลียดชังสมบัติเหมือนของโสโครก ละวัตถุกามเสีย
เมื่อมหาชนกาลังร้องไห้คร่าครวญถึงอยู่ เขาได้ออกจากเมือง
เข้าหิมวันตประเทศบวชเป็นฤๅษี
เที่ยวแลดูภูมิภาคที่น่ารื่นรมย์เพื่อเป็นที่อยู่ของตน.
ได้มาถึงที่ที่ตถาคตยืนอยู่ตรงนี้
คิดว่า เราจักอยู่ในที่นี้
ดังนี้แล้วจึงอธิษฐานเอาต้นอินทวารุณพฤกษ์ต้นหนึ่งเป็ นที่อยู่ที่กิน อยู่ ณ
โคนต้นไม้นั้น ได้ละเสนาสนะภายในบ้านเสีย ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
ไม่สร้างบรรณศาลา ถือการอยู่โคนต้นไม้เป็นวัตรบ้าง
ถือการอยู่ที่แจ้งเป็นวัตรบ้าง ถือการไม่นอนเป็นวัตรบ้าง
ถ้าจะนอนก็นอนบนพื้นดินเท่านั้น ถือการใช้ฟันเป็ นดังสาก ใช้ฟันเคี้ยวอย่างเดียว
เคี้ยวกินแต่ของที่ไม่สุกด้วยไฟ ไม่เคี้ยวกินของอะไรๆ ที่มีแกลบหุ้ม
บริโภคอาหารวันละครั้งเท่านั้น ยับยั้งอยู่เหนือแผ่นดิน ทาตนเสมอด้วย ดิน น้า
ไฟ ลม สมาทานธุดงคคุณมีประมาณเท่านี้อยู่.
ได้ยินว่า ในชาดกนี้ พระโพธิสัตว์เป็นผู้มักน้อยอย่างยิ่ง
ต่อมาไม่นานนัก ท่านก็ได้อภิญญาและสมาบัติ เล่นฌานเพลิดเพลินอยู่ ณ ที่นั้น
แม้ต้องการผลาหารก็ไม่ไปที่อื่น เมื่อต้นไม้ผลิผลก็กินผล เมื่อผลิดอกก็กินดอก
เมื่อมีใบก็กินใบ เมื่อใบไม้ไม่มีกินก็กินสะเก็ดไม้
ท่านเป็ นผู้สันโดษอย่างยิ่งถึงเพียงนี้ อยู่ในสถานที่นี้นาน.
เวลาเช้าวันหนึ่งท่านเก็บผลไม้สุก
เมื่อจะเก็บก็มิได้มีความโลภเที่ยวเก็บในที่อื่น คงนั่งอยู่ที่เดิมนั่นแหละ
เหยียดมือไปเก็บผลไม้ที่พอมือถึง บรรดาผลไม้เหล่านั้น
ท่านก็มิได้เลือกว่าชอบใจหรือไม่ชอบใจ แล้วแต่ถึงมือก็เก็บเอามา
ด้วยเดชแห่งศีลของท่านซึ่งสันโดษอย่างยิ่งเพียงนี้
บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ของท้าวสักกเทวราชได้แสดงอาการร้อนผิดปกติ.
ได้ยินว่า อาสนะนั้นจะร้อนขึ้นด้วยเหตุ ๔ ประการ
คือ ท้าวสักกะสิ้นอายุ ๑ จะสิ้นบุญ ๑ มีสัตว์ผู้มีอานุภาพใหญ่อื่นปรารถนาที่นั้น
๑ ด้วยเดชศีลของสมณพราหมณ์ที่มีฤทธิ์มากตั้งอยู่ในธรรม ๑.
ท้าวสักกเทวราชทรงราพึงว่า
ใครหนอที่ประสงค์จะให้เราเคลื่อนจากที่แล้วได้ทอดพระเนตรเห็นกัณหฤๅษีกาลัง
เก็บผลไม้อยู่ในประเทศนี้ จึงทรงดาริว่า พระฤๅษีนี้มีตบะกล้า
ชนะอินทรีย์แล้วอย่างยิ่ง เราจักให้บันลือสีหนาทด้วยธรรมกถา
ได้ฟังเหตุดีแล้วจักบารุงให้อิ่มหนาด้วยพร
ทาต้นไม้ให้มีผลเป็ นนิจสาหรับพระฤๅษีนี้แล้วจักมา.
ครั้นทรงดาริดังนี้แล้ว ก็เสด็จลงมาโดยเร็วด้วยอานุภาพใหญ่
5
ประทับยืนอยู่ที่โคนต้นไม้ ข้างหลังพระฤๅษี เมื่อจะทดลองดูว่า
เมื่อเรากล่าวโทษขึ้นแล้ว ท่านจักโกรธหรือไม่
จึงตรัสพระคาถาที่ ๑ ว่า :-
บุรุษนี้ดาจริงหนอ บริโภคโภชนะก็ดา อยู่ในภูมิประเทศก็ดา
เราไม่ชอบใจเลย.
กัณหฤๅษีได้ฟังคาของท้าวสักกะแล้ว พิจารณาดูด้วยทิพยจักษุว่า
ใครหนอมาพูดกับเรา รู้ว่าเป็ นท้าวสักกะ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ โดยไม่แลดูเลยว่า :-
คนประกอบด้วยตบะไม่ชื่อว่าคนดา เพราะคนที่มีแก่นในภายใน
ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ บาปกรรมมีอยู่ในคนใด คนนั้นแหละชื่อว่าเป็นคนดา
นะท้าวสุชัมบดี.
ครั้นพระฤๅษีกล่าวอย่างนี้แล้ว
จึงจาแนกประเภทบาปกรรมที่ทาให้สัตว์เหล่านี้เป็ นคนดาโดยพิสดาร
ติเตียนบาปเหล่านั้นแม้ทั้งหมด สรรเสริญคุณมีศีลเป็นต้น
แสดงธรรมแก่ท้าวสักกะ ประดุจว่าให้ดวงจันทร์ตั้งขึ้นในอากาศ
ท้าวสักกะทรงสดับธรรมกถาของกัณหฤๅษีแล้ว มีความเบิกบาน เกิดความโสมนัส
เมื่อจะนิมนต์พระมหาสัตว์ด้วยพร ได้ตรัสพระคาถาที่ ๓ ว่า :-
ข้าแต่พราหมณ์ คานั้นท่านกล่าวดีแล้วเป็นสุภาษิตอันสมควร
ข้าพเจ้าจะให้พรท่านตามแต่ใจท่านปรารถนาเถิด.
ความว่า
คานี้ใดอันท่านผู้เป็ นราวกะว่าเป็ นพระสัพพัญญูพุทธเจ้ากล่าวดีแล้ว
คานั้นอันท่านกล่าวดีแล้ว เป็ นสุภาษิต ชื่อว่าสมควร
เพราะเป็ นคาที่สมควรแก่ท่าน ท่านปรารถนาพรอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยใจ
คือพรใดอันท่านอยากได้แล้วปรารถนาแล้ว ข้าพเจ้าจะให้พรนั้นทั้งหมดแก่ท่าน.
พระมหาสัตว์ได้ฟังดังนั้นแล้ว คิดว่า ท้าวสักกะนี้ เมื่อจะทดลองเราว่า
เมื่อถูกกล่าวโทษของตนจักโกรธหรือไม่หนอ? ได้แสร้งติเตียนฉวีวรรณ
โภชนะและที่อยู่ของเรา บัดนี้รู้ว่าเราไม่โกรธ จึงมีจิตเลื่อมใสแล้วให้พร
เธอคงสาคัญเราว่าประพฤติพรหมจรรย์
เพื่อความเป็นใหญ่ชั้นท้าวสักกะชั้นพรหมเป็นแน่
เราจะตัดความสงสัยของท้าวสักกะในเรื่องนั้นเสีย ควรจะรับพร ๔
ประการเหล่านี้ คือ อย่าให้ความโกรธต่อผู้อื่นเกิดขึ้นแก่เรา ๑
อย่าให้โทสะต่อผู้อื่นเกิดขึ้นแก่เรา
๑ อย่าให้ความโลภในสมบัติของผู้อื่นเกิดขึ้นแก่เรา
๑ อย่าให้สิเนหาในผู้อื่นเกิดขึ้น ๑
เราพึงเป็ นกลางอยู่เท่านั้น คิดดังนี้แล้ว เมื่อจะรับพร ๔ ประการ
เพื่อจะตัดความสงสัยของท้าวสักกะ จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
6
ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง
ถ้าจะโปรดประทานพรแก่ข้าพระองค์
ข้าพระองค์ปรารถนาให้ความประพฤติของตน อย่าให้มีความโกรธ
อย่าให้มีโทสะ อย่าให้มีความโลภ อย่าให้มีความสิเนหา
ขอได้ทรงโปรดประทานพร ๔ ประการนี้แก่ข้าพระองค์เถิด.
ถามว่า ก็พระมหาสัตว์ไม่ทราบหรือว่า ใครๆ
ไม่อาจรับพรในสานักของท้าวสักกะ แล้วขจัดความโกรธเป็ นต้นได้ด้วยพร.
ตอบว่า ไม่ทราบหามิได้ แต่ที่รับพรเพราะคิดว่า
เมื่อท้าวสักกะประทานพร การพูดว่า ข้าพเจ้าไม่รับไม่สมควร
และเพื่อจะตัดความสงสัยของท้าวสักกะนั้น จึงรับพร.
ลาดับนั้น ท้าวสักกะทรงดาริว่า กัณหบัณฑิตเมื่อจะรับพร
ก็รับแต่พรที่หาโทษมิได้ทั้งนั้น
เราจักถามถึงคุณและโทษในพรเหล่านี้กะพระฤๅษีก่อน
ครานั้น เมื่อพระองค์จะถามพระฤๅษี จึงตรัสพระคาถาที่ ๕ ว่า :-
ดูก่อนท่านพราหมณ์ ท่านเห็นโทษในความโกรธ ในโทสะ
ในโลภะและในสิเนหา เป็นอย่างไรหรือ? ข้าพเจ้าขอถามความนั้น
ขอท่านจงบอกแก่ข้าพเจ้าเถิด.
พึงทราบความแห่งเรื่องนั้นว่า ดูก่อนท่านพราหมณ์
ท่านเห็นโทษในความโกรธ ในโทสะ ในโลภะ หรือในสิเนหาอย่างไรหรือหนอ?
ข้าพเจ้าขอถามความนั้น ขอท่านจงบอกแก่ข้าพเจ้าก่อนเถิด เพราะว่า
ข้าพเจ้าไม่ทราบถึงโทษในอกุศลธรรมนั้น.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์กล่าวกะท้าวสักกะว่า ถ้าเช่นนี้ท่านจงฟัง
ดังนี้แล้ว
กล่าวคาถา ๔ คาถาว่า :-
ความโกรธเกิดแต่ความไม่อดทน ทีแรกเป็นของน้อย
แต่ภายหลังเป็ นของมาก ย่อมเจริญขึ้นโดยลาดับ ความโกรธมักทาความเกี่ยวข้อง
มีความคับแค้นมาก เพราะฉะนั้น ข้าพระองค์จึงไม่ชอบใจความโกรธ.
วาจาของผู้ประกอบด้วยโทสะ เป็นวาจาหยาบคาย
ถัดจากนั้นก็เกิดปรามาสถูกต้องกัน ต่อจากนั้นก็ชกต่อยกันด้วยมือ
ต่อไปก็จับท่อนไม้เข้าทุบตีกัน จนถึงจับศัสตราเข้าฟันแทงกันเป็นที่สุด
โทสะเกิดแต่ความโกรธ เพราะฉะนั้น ข้าพระองค์จึงไม่ชอบใจโทสะ
ความโลภก่อให้เกิดอาการหยาบ เป็นเหตุให้เที่ยวปล้นขู่เอาสิ่งของเขา
แสดงของปลอมเปลี่ยนเอาของคนอื่น ประกอบอุบายล่อลวง
บาปธรรมทั้งหลายนี้มีอยู่ในโลภธรรม เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่ชอบใจโลภ.
กิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งหลาย เป็ นเครื่องสาเร็จได้ด้วยใจ
7
ถูกสิเนหาผูกมัดเข้าอีกด้วยแล้ว ถ้านอนเนื่องอยู่เป็นอันมาก
มักทาให้บุคคลเดือดร้อนยิ่งนัก เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่ชอบใจสิเนหา.
ท้าวสักกเทวราชได้ทรงสดับคาวิสัชนาปัญหาแล้ว จึงตรัสว่า
ข้าแต่ท่านกัณหบัณฑิต ปัญหานี้ท่านกล่าวดี เปรียบดังพุทธลีลา
ข้าพเจ้ายินดีเหลือเกิน ฉะนั้น ขอท่านจงรับพรอย่างอื่นอีก
แล้วตรัสพระคาถาที่ ๑๐ ว่า :-
ข้าแต่ท่านพราหมณ์ คานั้นท่านกล่าวดีแล้ว เป็นสุภาษิตอันสมควร
ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่าน ตามแต่ใจท่านปรารถนาเถิด.
ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์ได้กล่าวคาถาต่อไปว่า :-
ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง
ถ้าจะโปรดประทานพรแก่ข้าพระองค์ ขออาพาธทั้งหลายอันเป็นของร้ายแรง
ซึ่งจะทาอันตรายแก่ตบะกรรมได้ อย่าพึงเกิดขึ้นแก่ข้าพระองค์ผู้อยู่ในป่า
ซึ่งอยู่แต่ผู้เดียวเป็ นนิตย์.
ท้าวสักกะได้ทรงสดับดังนั้นแล้วทรงดาริว่า กัณหบัณฑิต เมื่อจะรับพร
ก็ไม่รับพรที่อาศัยอามิส รับแต่พรที่อาศัยตบะกรรมเท่านั้น
ท้าวเธอยิ่งทรงเลื่อมใสมากขึ้น.
เมื่อจะประทานพรอื่นอีก จึงตรัสพระคาถานอกนี้ว่า :-
ดูก่อนท่านพราหมณ์ คานั้นท่านกล่าวดีแล้ว เป็นสุภาษิตอันสมควร
ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่าน ตามแต่ใจท่านปรารถนาเถิด.
แม้พระโพธิสัตว์ เมื่อจะแสดงธรรมแก่ท้าวสักกะโดยอ้างการรับพร
จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า:-
ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง
ถ้าจะโปรดประทานพรแก่ข้าพระองค์ ขอใจหรือร่างกายของข้าพระองค์
อย่าเข้าไปกระทบกระทั่งใครๆ ในกาลไหนๆ เลย
ขอได้ทรงโปรดประทานพรนี้เถิด.
ข้อนี้มีอธิบายว่า ข้าแต่ท้าวสักกเทวราช
ขออย่าให้กรรมที่เป็นไปในทวารแม้ทั้ง ๓ นี้เข้าไปกระทบแก่ใครๆ
คือแก่ท้าวสักกะในกาลไหนๆ เพราะเหตุแห่งข้าพระองค์
คือเพราะอาศัยข้าพระองค์
ได้แก่เพราะความที่แห่งข้าพระองค์เป็ นผู้ใคร่ต่อความพินาศ
คือขอกรรมที่เป็นไปในทวารทั้ง ๓ นี้ พึงเป็นธรรมชาติอันหลุดพ้นแล้ว
คือบริสุทธิ์แล้วจากอกุศลกรรมบถทั้ง ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั่นเทียว.
พระมหาสัตว์
เมื่อจะรับพรในฐานะทั้ง ๖ ได้รับเอาพรอันอาศัยเนกขัมมะเหล่านั้นด้วยประการฉ
ะนี้. จริงอยู่ พระโพธิสัตว์นั้นย่อมทราบว่า
8
ขึ้นชื่อว่าสรีระย่อมมีความเจ็บเป็ นธรรมดา
ท้าวสักกะไม่อาจเพื่อจะกระทาสรีระนั้นให้มีความไม่เจ็บเป็ นธรรมดาได้. อนึ่ง
ความที่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็ นผู้มีตนอันบริสุทธิ์แล้วในทวารทั้ง ๓ อันท้าวสักกะก็ไ
ม่อาจทาให้เป็นนิสัยของตนได้เลย แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น
พระมหาสัตว์ก็ได้รับพรเหล่านี้แล้ว เพื่อแสดงธรรมแก่ท้าวสักกะนั้น
แม้ท้าวสักกเทวราชก็ได้ทรงบันดาลต้นไม้นั้นให้มีผลหวานอร่อย
นมัสการพระมหาสัตว์ ประคองอัญชลีเหนือพระเศียร ตรัสว่า
ขอท่านจงอยู่ที่นี้โดยปราศจากโรคเถิด แล้วได้เสด็จไปยังพิมานของพระองค์.
แม้พระโพธิสัตว์ก็มิได้เสื่อมจากฌาน
ได้เป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนอานนท์ ที่นี้เป็ นภูมิประเทศที่เราเคยอยู่มาแล้ว
ดังนี้แล้วทรงประชุมชาดกว่า
ท้าวสักกะในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอนุรุทธะ ในบัดนี้
ส่วนกัณหบัณฑิต ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถากัณหชาดกที่ ๒
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
maruay songtanin
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Similar to 440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
307 ปลาสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
338 ถุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
336 พรหาฉัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
470 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
496 ภิกขาปรัมปรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
 
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
376 อวาริยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
458 อุทยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
254 กุณฑกกุจฉิสินธวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมห...
 
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

More from maruay songtanin

๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
maruay songtanin
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๖. ปัญจปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๕. ติโรกุฑฑเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔. ปิฏฐธีตลิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓. ปูติมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒. สูกรมุขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑. เขตตูปมเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐. คำนำ เปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 

440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๒. กัณหชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๔๐) ว่าด้วยกัณหฤาษี (ท้าวสักกะตรัสกับฤๅษีกัณหะว่า) [๑๑] ชายคนนี้ผิวดาหนอ บริโภคอาหารสีดา อยู่ในภูมิประเทศสีดา เราไม่ชอบใจเลย (ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า) [๑๒] ท้าวสุชัมบดีสักกเทวราช เพราะผิวไม่นับว่าเป็ นคนดา เพราะพราหมณ์มีความดีเป็นแก่นในภายใน ผู้ที่มีกรรมชั่วนั่นแหละ นับว่าเป็ นคนดา (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๑๓] ท่านพราหมณ์ เพราะถ้อยคาที่ท่านเจรจานั้น ไพเราะ เหมาะสม เป็นสุภาษิต ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่านตามที่ใจของท่านปรารถนา (ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า) [๑๔] ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง หากพระองค์จะประทานพรแก่อาตมา อาตมาหวังเฉพาะความประพฤติของตน คือ อย่ามีความโกรธ อย่ามีโทสะ อย่ามีความโลภ และอย่ามีความเสน่หา ขอพระองค์ทรงประทานพรทั้ง ๔ ประการเหล่านี้แก่อาตมาเถิด (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๑๕] พราหมณ์ ท่านเห็นโทษอะไรในความโกรธ ในโทสะ ในความโลภ หรือในความเสน่หา ข้าพเจ้าถามแล้วขอท่านจงบอกแก่ข้าพเจ้า (ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า) [๑๖] ความโกรธนั้นเกิดจากความไม่อดทน ถึงจะน้อย ก็จะมากได้ ต่อไปก็จะเพิ่มพูนยิ่งขึ้น เป็ นความขัดข้องใจ มีความคับแค้นใจเป็นอันมาก เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบความโกรธ [๑๗] คนถูกโทสะครอบงามีวาจาหยาบคาย ต่อไปก็ประหมัดตบตีกัน ใช้ท่อนไม้ประหารกัน ที่สุดก็จะใช้ศัสตราประหัตประหารกัน โทสะมีความโกรธเป็นสมุฏฐาน เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบโทสะ [๑๘] การปล้นฆ่าชาวบ้าน การจี้ข่มขู่เอาทรัพย์ การคดโกง และการหลอกลวงย่อมปรากฏมีอยู่ในบุคคลผู้มีความโลภ เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบความโลภ
  • 2. 2 [๑๙] ความผูกพันที่ถูกความเสน่หาร้อยรัดไว้อันเกิดแต่ใจนอนเนื่องอยู่เป็นอันมาก ย่อมทาให้เดือดร้อนมากมาย เพราะฉะนั้น อาตมาจึงไม่ชอบความเสน่หา (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๒๐] พราหมณ์ เพราะถ้อยคาที่ท่านเจรจานั้น ไพเราะ เหมาะสม เป็นสุภาษิต ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่านตามที่ใจของท่านปรารถนา (ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า) [๒๑] ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง หากพระองค์จะประทานพรแก่อาตมา อาตมาเมื่ออยู่ในป่า ก็อยู่เพียงผู้เดียวเป็นนิตย์ อาพาธทั้งหลายที่ร้ายกาจซึ่งกระทาอันตรายได้ขออย่าได้เกิดขึ้นเลย (ท้าวสักกะตรัสว่า) [๒๒] พราหมณ์ เพราะถ้อยคาที่ท่านเจรจานั้น ไพเราะ เหมาะสม เป็นสุภาษิต ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่านตามที่ใจของท่านปรารถนา (ฤๅษีกัณหะกล่าวว่า) [๒๓] ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่แห่งภูตทั้งปวง หากพระองค์จะประทานพรแก่อาตมา ใจก็ตาม กายก็ตาม ขออย่าได้เข้าไปกระทบกระทั่งใครๆ ในกาลไหนๆ เพราะการกระทาของอาตมาเลย อาตมาปรารถนาพรดังนี้ กัณหชาดกที่ ๒ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา กัณหชาดก ว่าด้วย ขอพร พระศาสดา เมื่อเสด็จเข้าไปอาศัยพระนครกบิลพัสดุ์ ประทับอยู่ ณ นิโครธาราม ทรงปรารภความยิ้มแย้ม จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ได้ยินว่า คราวนั้น เวลาเย็นพระศาสดาแวดล้อมไปด้วยภิกษุสงฆ์ เสด็จพุทธดาเนินไปตามบริเวณวิหารนิโครธาราม ได้ทรงยิ้มแย้ม ณ ประเทศแห่งหนึ่ง พระอานนท์เถระจึงคิดว่า อะไรหนอแลเป็ นเหตุ เป็นปัจจัยให้พระผู้มีพระภาคทรงยิ้มแย้ม พระตถาคตทั้งหลายจะทรงยิ้มแย้มโดยไม่มีเหตุ หามิได้ เราจักทูลถามก่อน แล้วประคองอัญชลี ทูลถามเหตุที่ทรงยิ้มแย้ม. ลาดับนั้น พระศาสดาตรัสเหตุที่ทรงยิ้มแย้มแก่พระอานนทเถระว่า ดูก่อนอานนท์ เรื่องเคยมีมาแล้ว มีฤๅษีตนหนึ่งชื่อว่ากัณหะ ท่านอยู่ในภูมิประเทศนี้ เป็ นผู้ได้ฌาน
  • 3. 3 และรื่นรมย์อยู่ในฌาน ด้วยเดชแห่งศีลของท่านบันดาลให้ภพของท้าวสักกเทวราชหวั่นไหว ดังนี้ โดยที่เรื่องนั้นไม่มีปรากฏ พระเถระจึงทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว พระองค์ได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธกดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี มีพราหมณ์คนหนึ่งมีสมบัติ ๘๐ โกฏิ ไม่มีบุตร ได้สมาทานศีลปรารถนาบุตร พระโพธิสัตว์บังเกิดในครรภ์นางพราหมณีภรรยาของพราหมณ์นั้น ในวันตั้งชื่อพระโพธิสัตว์ ญาติทั้งหลายได้ตั้งชื่อให้ว่า กัณหกุมาร เพราะมีผิวดา กัณหกุมารนั้นเมื่อมีอายุได้ ๑๖ ปี มีรูปงดงามดังรูปที่ทาด้วยแก้วมณี บิดาส่งไปเรียนศิลปะในเมืองตักกสิลา ครั้นเรียนสาเร็จแล้วก็กลับมา ครั้งนั้น บิดาให้เขาแต่งงานกับภรรยาที่สมควรกัน กาลต่อมา เมื่อมารดาบิดาล่วงลับไปแล้ว เขาได้เป็นใหญ่ปกครองทรัพย์สมบัติทั้งหมด. อยู่มาวันหนึ่ง กัณหกุมารได้ตรวจตราเรือนคลังรัตนะทั้งหลาย แล้วขึ้นนั่งท่ามกลางบัลลังก์ ให้นาบัญชีที่เป็ นแผ่นทองมา เห็นอักษรที่ญาติก่อนๆ จดจารึกไว้ในแผ่นทองว่า ทรัพย์เท่านี้ญาติคนโน้นให้เกิดขึ้น ทรัพย์เท่านี้ญาติคนโน้นให้เกิดขึ้น จึงคิดว่า ผู้ที่ทาทรัพย์นี้ให้เกิดขึ้นไม่ปรากฏ ตายไปหมดแล้ว ปรากฏอยู่แต่ทรัพย์อย่างเดียว ผู้ที่ถือเอาทรัพย์นี้ไปด้วยแม้คนหนึ่งก็มิได้มี ความจริงไม่มีใครอาจขนเอาห่อทรัพย์ติดไปปรโลกได้เลย ทรัพย์เป็นของไม่มีสาระ เพราะจะต้องสาธารณะด้วยภัย ๕ ประการ คือ ราชภัย โจรภัย อัคคีภัย อุทกภัย อัปปิยทายาทภัย. การให้ทรัพย์เป็นทาน เป็ นสาระ ร่างกายไม่เป็นสาระเพราะจะต้องสาธารณะด้วยโรคมากมาย คนทาความดีมีกราบไหว้ท่านผู้มีศีลเป็นต้น เป็ นสาระ, ชีวิตไม่เป็นสาระเพราะไม่เที่ยงแท้แน่นอน การประกอบความเพียรเจริญวิปัสสนาด้วยสามารถไตรลักษณ์ เป็นสาระ เพราะฉะนั้น เราจักให้ทาน เพื่อถือเอาสาระจากโภคะที่ไม่เป็นสาระ. คิดดังนี้แล้ว จึงลุกออกจากอาสนะไปเฝ้ าพระราชา แล้วถวายบังคมลาพระราชา มาบาเพ็ญทานเป็นการใหญ่ เมื่อบาเพ็ญทานได้ ๗ วัน เขาเห็นทรัพย์มิได้หมดสิ้นไป จึงคิดว่า ประโยชน์อะไรด้วยทรัพย์สาหรับเรา ขณะที่ยังไม่ถูกชราครอบงานี้ เราจักบวชทาอภิญญาและสมาบัติให้เกิด แล้วจักมีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า. คิดดังนี้แล้ว ก็ให้เปิดประตูเรือนทุกประตู ประกาศว่า สิ่งของทั้งหมดเราได้ให้แล้ว ผู้มีความต้องการจงนาไปเถิด
  • 4. 4 เขาเกลียดชังสมบัติเหมือนของโสโครก ละวัตถุกามเสีย เมื่อมหาชนกาลังร้องไห้คร่าครวญถึงอยู่ เขาได้ออกจากเมือง เข้าหิมวันตประเทศบวชเป็นฤๅษี เที่ยวแลดูภูมิภาคที่น่ารื่นรมย์เพื่อเป็นที่อยู่ของตน. ได้มาถึงที่ที่ตถาคตยืนอยู่ตรงนี้ คิดว่า เราจักอยู่ในที่นี้ ดังนี้แล้วจึงอธิษฐานเอาต้นอินทวารุณพฤกษ์ต้นหนึ่งเป็ นที่อยู่ที่กิน อยู่ ณ โคนต้นไม้นั้น ได้ละเสนาสนะภายในบ้านเสีย ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร ไม่สร้างบรรณศาลา ถือการอยู่โคนต้นไม้เป็นวัตรบ้าง ถือการอยู่ที่แจ้งเป็นวัตรบ้าง ถือการไม่นอนเป็นวัตรบ้าง ถ้าจะนอนก็นอนบนพื้นดินเท่านั้น ถือการใช้ฟันเป็ นดังสาก ใช้ฟันเคี้ยวอย่างเดียว เคี้ยวกินแต่ของที่ไม่สุกด้วยไฟ ไม่เคี้ยวกินของอะไรๆ ที่มีแกลบหุ้ม บริโภคอาหารวันละครั้งเท่านั้น ยับยั้งอยู่เหนือแผ่นดิน ทาตนเสมอด้วย ดิน น้า ไฟ ลม สมาทานธุดงคคุณมีประมาณเท่านี้อยู่. ได้ยินว่า ในชาดกนี้ พระโพธิสัตว์เป็นผู้มักน้อยอย่างยิ่ง ต่อมาไม่นานนัก ท่านก็ได้อภิญญาและสมาบัติ เล่นฌานเพลิดเพลินอยู่ ณ ที่นั้น แม้ต้องการผลาหารก็ไม่ไปที่อื่น เมื่อต้นไม้ผลิผลก็กินผล เมื่อผลิดอกก็กินดอก เมื่อมีใบก็กินใบ เมื่อใบไม้ไม่มีกินก็กินสะเก็ดไม้ ท่านเป็ นผู้สันโดษอย่างยิ่งถึงเพียงนี้ อยู่ในสถานที่นี้นาน. เวลาเช้าวันหนึ่งท่านเก็บผลไม้สุก เมื่อจะเก็บก็มิได้มีความโลภเที่ยวเก็บในที่อื่น คงนั่งอยู่ที่เดิมนั่นแหละ เหยียดมือไปเก็บผลไม้ที่พอมือถึง บรรดาผลไม้เหล่านั้น ท่านก็มิได้เลือกว่าชอบใจหรือไม่ชอบใจ แล้วแต่ถึงมือก็เก็บเอามา ด้วยเดชแห่งศีลของท่านซึ่งสันโดษอย่างยิ่งเพียงนี้ บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ของท้าวสักกเทวราชได้แสดงอาการร้อนผิดปกติ. ได้ยินว่า อาสนะนั้นจะร้อนขึ้นด้วยเหตุ ๔ ประการ คือ ท้าวสักกะสิ้นอายุ ๑ จะสิ้นบุญ ๑ มีสัตว์ผู้มีอานุภาพใหญ่อื่นปรารถนาที่นั้น ๑ ด้วยเดชศีลของสมณพราหมณ์ที่มีฤทธิ์มากตั้งอยู่ในธรรม ๑. ท้าวสักกเทวราชทรงราพึงว่า ใครหนอที่ประสงค์จะให้เราเคลื่อนจากที่แล้วได้ทอดพระเนตรเห็นกัณหฤๅษีกาลัง เก็บผลไม้อยู่ในประเทศนี้ จึงทรงดาริว่า พระฤๅษีนี้มีตบะกล้า ชนะอินทรีย์แล้วอย่างยิ่ง เราจักให้บันลือสีหนาทด้วยธรรมกถา ได้ฟังเหตุดีแล้วจักบารุงให้อิ่มหนาด้วยพร ทาต้นไม้ให้มีผลเป็ นนิจสาหรับพระฤๅษีนี้แล้วจักมา. ครั้นทรงดาริดังนี้แล้ว ก็เสด็จลงมาโดยเร็วด้วยอานุภาพใหญ่
  • 5. 5 ประทับยืนอยู่ที่โคนต้นไม้ ข้างหลังพระฤๅษี เมื่อจะทดลองดูว่า เมื่อเรากล่าวโทษขึ้นแล้ว ท่านจักโกรธหรือไม่ จึงตรัสพระคาถาที่ ๑ ว่า :- บุรุษนี้ดาจริงหนอ บริโภคโภชนะก็ดา อยู่ในภูมิประเทศก็ดา เราไม่ชอบใจเลย. กัณหฤๅษีได้ฟังคาของท้าวสักกะแล้ว พิจารณาดูด้วยทิพยจักษุว่า ใครหนอมาพูดกับเรา รู้ว่าเป็ นท้าวสักกะ จึงกล่าวคาถาที่ ๒ โดยไม่แลดูเลยว่า :- คนประกอบด้วยตบะไม่ชื่อว่าคนดา เพราะคนที่มีแก่นในภายใน ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ บาปกรรมมีอยู่ในคนใด คนนั้นแหละชื่อว่าเป็นคนดา นะท้าวสุชัมบดี. ครั้นพระฤๅษีกล่าวอย่างนี้แล้ว จึงจาแนกประเภทบาปกรรมที่ทาให้สัตว์เหล่านี้เป็ นคนดาโดยพิสดาร ติเตียนบาปเหล่านั้นแม้ทั้งหมด สรรเสริญคุณมีศีลเป็นต้น แสดงธรรมแก่ท้าวสักกะ ประดุจว่าให้ดวงจันทร์ตั้งขึ้นในอากาศ ท้าวสักกะทรงสดับธรรมกถาของกัณหฤๅษีแล้ว มีความเบิกบาน เกิดความโสมนัส เมื่อจะนิมนต์พระมหาสัตว์ด้วยพร ได้ตรัสพระคาถาที่ ๓ ว่า :- ข้าแต่พราหมณ์ คานั้นท่านกล่าวดีแล้วเป็นสุภาษิตอันสมควร ข้าพเจ้าจะให้พรท่านตามแต่ใจท่านปรารถนาเถิด. ความว่า คานี้ใดอันท่านผู้เป็ นราวกะว่าเป็ นพระสัพพัญญูพุทธเจ้ากล่าวดีแล้ว คานั้นอันท่านกล่าวดีแล้ว เป็ นสุภาษิต ชื่อว่าสมควร เพราะเป็ นคาที่สมควรแก่ท่าน ท่านปรารถนาพรอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยใจ คือพรใดอันท่านอยากได้แล้วปรารถนาแล้ว ข้าพเจ้าจะให้พรนั้นทั้งหมดแก่ท่าน. พระมหาสัตว์ได้ฟังดังนั้นแล้ว คิดว่า ท้าวสักกะนี้ เมื่อจะทดลองเราว่า เมื่อถูกกล่าวโทษของตนจักโกรธหรือไม่หนอ? ได้แสร้งติเตียนฉวีวรรณ โภชนะและที่อยู่ของเรา บัดนี้รู้ว่าเราไม่โกรธ จึงมีจิตเลื่อมใสแล้วให้พร เธอคงสาคัญเราว่าประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความเป็นใหญ่ชั้นท้าวสักกะชั้นพรหมเป็นแน่ เราจะตัดความสงสัยของท้าวสักกะในเรื่องนั้นเสีย ควรจะรับพร ๔ ประการเหล่านี้ คือ อย่าให้ความโกรธต่อผู้อื่นเกิดขึ้นแก่เรา ๑ อย่าให้โทสะต่อผู้อื่นเกิดขึ้นแก่เรา ๑ อย่าให้ความโลภในสมบัติของผู้อื่นเกิดขึ้นแก่เรา ๑ อย่าให้สิเนหาในผู้อื่นเกิดขึ้น ๑ เราพึงเป็ นกลางอยู่เท่านั้น คิดดังนี้แล้ว เมื่อจะรับพร ๔ ประการ เพื่อจะตัดความสงสัยของท้าวสักกะ จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
  • 6. 6 ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง ถ้าจะโปรดประทานพรแก่ข้าพระองค์ ข้าพระองค์ปรารถนาให้ความประพฤติของตน อย่าให้มีความโกรธ อย่าให้มีโทสะ อย่าให้มีความโลภ อย่าให้มีความสิเนหา ขอได้ทรงโปรดประทานพร ๔ ประการนี้แก่ข้าพระองค์เถิด. ถามว่า ก็พระมหาสัตว์ไม่ทราบหรือว่า ใครๆ ไม่อาจรับพรในสานักของท้าวสักกะ แล้วขจัดความโกรธเป็ นต้นได้ด้วยพร. ตอบว่า ไม่ทราบหามิได้ แต่ที่รับพรเพราะคิดว่า เมื่อท้าวสักกะประทานพร การพูดว่า ข้าพเจ้าไม่รับไม่สมควร และเพื่อจะตัดความสงสัยของท้าวสักกะนั้น จึงรับพร. ลาดับนั้น ท้าวสักกะทรงดาริว่า กัณหบัณฑิตเมื่อจะรับพร ก็รับแต่พรที่หาโทษมิได้ทั้งนั้น เราจักถามถึงคุณและโทษในพรเหล่านี้กะพระฤๅษีก่อน ครานั้น เมื่อพระองค์จะถามพระฤๅษี จึงตรัสพระคาถาที่ ๕ ว่า :- ดูก่อนท่านพราหมณ์ ท่านเห็นโทษในความโกรธ ในโทสะ ในโลภะและในสิเนหา เป็นอย่างไรหรือ? ข้าพเจ้าขอถามความนั้น ขอท่านจงบอกแก่ข้าพเจ้าเถิด. พึงทราบความแห่งเรื่องนั้นว่า ดูก่อนท่านพราหมณ์ ท่านเห็นโทษในความโกรธ ในโทสะ ในโลภะ หรือในสิเนหาอย่างไรหรือหนอ? ข้าพเจ้าขอถามความนั้น ขอท่านจงบอกแก่ข้าพเจ้าก่อนเถิด เพราะว่า ข้าพเจ้าไม่ทราบถึงโทษในอกุศลธรรมนั้น. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์กล่าวกะท้าวสักกะว่า ถ้าเช่นนี้ท่านจงฟัง ดังนี้แล้ว กล่าวคาถา ๔ คาถาว่า :- ความโกรธเกิดแต่ความไม่อดทน ทีแรกเป็นของน้อย แต่ภายหลังเป็ นของมาก ย่อมเจริญขึ้นโดยลาดับ ความโกรธมักทาความเกี่ยวข้อง มีความคับแค้นมาก เพราะฉะนั้น ข้าพระองค์จึงไม่ชอบใจความโกรธ. วาจาของผู้ประกอบด้วยโทสะ เป็นวาจาหยาบคาย ถัดจากนั้นก็เกิดปรามาสถูกต้องกัน ต่อจากนั้นก็ชกต่อยกันด้วยมือ ต่อไปก็จับท่อนไม้เข้าทุบตีกัน จนถึงจับศัสตราเข้าฟันแทงกันเป็นที่สุด โทสะเกิดแต่ความโกรธ เพราะฉะนั้น ข้าพระองค์จึงไม่ชอบใจโทสะ ความโลภก่อให้เกิดอาการหยาบ เป็นเหตุให้เที่ยวปล้นขู่เอาสิ่งของเขา แสดงของปลอมเปลี่ยนเอาของคนอื่น ประกอบอุบายล่อลวง บาปธรรมทั้งหลายนี้มีอยู่ในโลภธรรม เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่ชอบใจโลภ. กิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งหลาย เป็ นเครื่องสาเร็จได้ด้วยใจ
  • 7. 7 ถูกสิเนหาผูกมัดเข้าอีกด้วยแล้ว ถ้านอนเนื่องอยู่เป็นอันมาก มักทาให้บุคคลเดือดร้อนยิ่งนัก เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่ชอบใจสิเนหา. ท้าวสักกเทวราชได้ทรงสดับคาวิสัชนาปัญหาแล้ว จึงตรัสว่า ข้าแต่ท่านกัณหบัณฑิต ปัญหานี้ท่านกล่าวดี เปรียบดังพุทธลีลา ข้าพเจ้ายินดีเหลือเกิน ฉะนั้น ขอท่านจงรับพรอย่างอื่นอีก แล้วตรัสพระคาถาที่ ๑๐ ว่า :- ข้าแต่ท่านพราหมณ์ คานั้นท่านกล่าวดีแล้ว เป็นสุภาษิตอันสมควร ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่าน ตามแต่ใจท่านปรารถนาเถิด. ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์ได้กล่าวคาถาต่อไปว่า :- ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง ถ้าจะโปรดประทานพรแก่ข้าพระองค์ ขออาพาธทั้งหลายอันเป็นของร้ายแรง ซึ่งจะทาอันตรายแก่ตบะกรรมได้ อย่าพึงเกิดขึ้นแก่ข้าพระองค์ผู้อยู่ในป่า ซึ่งอยู่แต่ผู้เดียวเป็ นนิตย์. ท้าวสักกะได้ทรงสดับดังนั้นแล้วทรงดาริว่า กัณหบัณฑิต เมื่อจะรับพร ก็ไม่รับพรที่อาศัยอามิส รับแต่พรที่อาศัยตบะกรรมเท่านั้น ท้าวเธอยิ่งทรงเลื่อมใสมากขึ้น. เมื่อจะประทานพรอื่นอีก จึงตรัสพระคาถานอกนี้ว่า :- ดูก่อนท่านพราหมณ์ คานั้นท่านกล่าวดีแล้ว เป็นสุภาษิตอันสมควร ข้าพเจ้าจะให้พรแก่ท่าน ตามแต่ใจท่านปรารถนาเถิด. แม้พระโพธิสัตว์ เมื่อจะแสดงธรรมแก่ท้าวสักกะโดยอ้างการรับพร จึงกล่าวคาถาสุดท้ายว่า:- ข้าแต่ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่าภูตทั้งปวง ถ้าจะโปรดประทานพรแก่ข้าพระองค์ ขอใจหรือร่างกายของข้าพระองค์ อย่าเข้าไปกระทบกระทั่งใครๆ ในกาลไหนๆ เลย ขอได้ทรงโปรดประทานพรนี้เถิด. ข้อนี้มีอธิบายว่า ข้าแต่ท้าวสักกเทวราช ขออย่าให้กรรมที่เป็นไปในทวารแม้ทั้ง ๓ นี้เข้าไปกระทบแก่ใครๆ คือแก่ท้าวสักกะในกาลไหนๆ เพราะเหตุแห่งข้าพระองค์ คือเพราะอาศัยข้าพระองค์ ได้แก่เพราะความที่แห่งข้าพระองค์เป็ นผู้ใคร่ต่อความพินาศ คือขอกรรมที่เป็นไปในทวารทั้ง ๓ นี้ พึงเป็นธรรมชาติอันหลุดพ้นแล้ว คือบริสุทธิ์แล้วจากอกุศลกรรมบถทั้ง ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั่นเทียว. พระมหาสัตว์ เมื่อจะรับพรในฐานะทั้ง ๖ ได้รับเอาพรอันอาศัยเนกขัมมะเหล่านั้นด้วยประการฉ ะนี้. จริงอยู่ พระโพธิสัตว์นั้นย่อมทราบว่า
  • 8. 8 ขึ้นชื่อว่าสรีระย่อมมีความเจ็บเป็ นธรรมดา ท้าวสักกะไม่อาจเพื่อจะกระทาสรีระนั้นให้มีความไม่เจ็บเป็ นธรรมดาได้. อนึ่ง ความที่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็ นผู้มีตนอันบริสุทธิ์แล้วในทวารทั้ง ๓ อันท้าวสักกะก็ไ ม่อาจทาให้เป็นนิสัยของตนได้เลย แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น พระมหาสัตว์ก็ได้รับพรเหล่านี้แล้ว เพื่อแสดงธรรมแก่ท้าวสักกะนั้น แม้ท้าวสักกเทวราชก็ได้ทรงบันดาลต้นไม้นั้นให้มีผลหวานอร่อย นมัสการพระมหาสัตว์ ประคองอัญชลีเหนือพระเศียร ตรัสว่า ขอท่านจงอยู่ที่นี้โดยปราศจากโรคเถิด แล้วได้เสด็จไปยังพิมานของพระองค์. แม้พระโพธิสัตว์ก็มิได้เสื่อมจากฌาน ได้เป็นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ ที่นี้เป็ นภูมิประเทศที่เราเคยอยู่มาแล้ว ดังนี้แล้วทรงประชุมชาดกว่า ท้าวสักกะในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอนุรุทธะ ในบัดนี้ ส่วนกัณหบัณฑิต ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถากัณหชาดกที่ ๒ -----------------------------------------------------