SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาชีววิทยา 5 รหัส ว 33245
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
แผนการจัดการเรียนรู้
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รหัสวิชา ว 33245 รายวิชา ชีววิทยา 5
เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน
...............................................................................................................................................................
ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ :
แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
คำอธิบำยรำยวิชำ ชีววิทยำ 5
รหัสวิชำ ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
1.5 หน่วยกิต เวลำ 60 ชั่วโมง
ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบนิเวศ ไบโอม ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ใน
ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ
นิเวศ ความหนาแน่น การแพร่กระจายและขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มประชากร การรอดชีวิตของ
ประชากร ประชากรนุษย์ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา
และการจัดการ หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.4-6/1 ,ว 2.1 ม.4-6/2 ,ว 2.1 ม.4-6/3
ว 2.2 ม.4-6/1 ,ว 2.2 ม.4-6/2 ,ว 2.2 ม.4-6/3
ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 ,
ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12
รวม 18 ตัวชี้วัด
แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 5 ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword)
ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ว 2.1 ม.4-6/1 อธิบำยดุลยภำพของระบบนิเวศ - ระบบนิเวศ - กำรสำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/2 อธิบำยกระบวนกำร
เปลี่ยนแปลงแทนที่
- ระบบนิเวศ - กำรนำควำมรู้ไปใช้ - ใฝ่เรียนรู้
- มีวินัย
ม.4-6/3 อธิบำยควำมสำคัญของควำม
หลำกหลำยทำงชีวภำพและเสนอแนะ
แนวทำงในกำรดูแลรักษำ
- ระบบนิเวศ - กำรสืบค้นข้อมูล - มีวินัย
- ใฝ่เรียนรู้
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
ว 2.2 ม.4-6/1 วิเครำะห์สภำพปัญหำ สำเหตุ
ของปัญหำสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยำกรธรรมชำติในระดับท้องถิ่น
ระดับประเทศ และระดับโลก
- ประชำกร - กำรสืบค้นข้อมูล - ใฝ่เรียนรู้
- มีวินัย
ม.4-6/2 อภิปรำยแนวทำงในกำรป้องกัน
แก้ไขปัญหำสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยำกรธรรมชำติ
- มนุษย์กับควำมยั่งยืน
ของสิ่งแวดล้อม
- กำรสำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/3 วำงแผนและดำเนินกำรเฝ้ำ
ระวัง อนุรักษ์และพัฒนำสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยำกรธรรมชำติ
- มนุษย์กับควำมยั่งยืน
ของสิ่งแวดล้อม
- กำรนำควำมรู้ไปใช้ - มีวินัย
- ใฝ่เรียนรู้
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคำถำมที่อยู่บนพื้นฐำนของ
ควำมรู้และควำมเข้ำใจทำงวิทยำศำสตร์
หรือควำมสนใจหรือจำกประเด็นที่
เกิดขึ้นในขณะนั้นที่สำมำรถทำกำร
สำรวจตรวจสอบหรือศึกษำค้นคว้ำได้
อย่ำงครอบคลุมและเชื่อถือได้
- กำรสืบค้นข้อมูล
- กำรสำรวจตรวจสอบ
- กำรตั้งคำถำม
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/2 สร้ำงสมมติฐำนที่มีทฤษฎี
รองรับหรือคำดกำรณ์สิ่งที่จะพบหรือ
สร้ำงแบบจำลองหรือสร้ำงรูปแบบเพื่อ
นำไปสู่กำรสำรวจตรวจสอบ
-กำรสร้ำงสมมติฐำน
- กำรตรวจสอบ
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/3 ค้นคว้ำรวบรวมข้อมูลที่ต้อง
พิจำรณำปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญ ปัจจัย
ที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
และจำนวนครั้งของกำรสำรวจตรวจสอบ
เพื่อให้ได้ผลที่มีควำมเชื่อมั่นอย่ำง
เพียงพอ
- กำรสืบค้นข้อมูล
- กำรสำรวจตรวจสอบ
- กำรรวบรวมข้มูล
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้
ในกำรสังเกต กำรวัด กำรสำรวจ
ตรวจสอบอย่ำงถูกต้องทั้งทำงกว้ำงและ
ลึกในเชิงปริมำณและคุณภำพ
- กำรสังเกต
-สำรวจตรวจสอบ
- กำรออกแบบ
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผล
กำรสำรวจตรวจสอบอย่ำงเป็นระบบ
ถูกต้องครอบคลุมทั้งในเชิงปริมำณและ
คุณภำพ โดยตรวจสอบควำมเป็นไปได้
ควำมเหมำะสมหรือควำมผิดพลำดของ
ข้อมูล
- กำรรวบรวมข้อมูล
- กำรบันทึก
- สำรวจตรวจสอบ
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/6 จัดกระทำข้อมูลโดยคำนึงถึง
กำรรำยงำนผลเชิงตัวเลขที่มีระดับ
ควำมถุกต้องและนำเสนอข้อมูลด้วย
เทคนิควิธีที่เหมำะสม
- กำรจัดกระทำข้อมูล
- กำรรำยงำนผล
- กำรออกแบบ
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/7 วิเครำะห์ข้อมูล แปล
ควำมหมำยข้อมูลและประเมินควำม
สอดคล้องของข้อสรุป หรือสำระสำคัญ
เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐำนที่ตั้งไว้
- กำรวิเครำะห์
- กำรแปลควำมหมำย
- กำรสำรวจตรวจสอบ
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/8 พิจำรณำควำมน่ำเชื่อถือของ
วิธีกำรและผลกำรสำรวจตรวจสอบโดย
ใช้หลักควำมคำดเคลื่อนของกำรวัดและ
กำรสังเกต เสนอแนะ กำรปรับปรุง
วิธีกำรสำรวจตรวจสอบ
- กำรสังเกต
- กำรสำรวจตรวจสอบ
- กำรสรุปผล
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/9 นำผลกำรสำรวจตรวจสอบที่ได้
ทั้งวิธีกำรและองค์ควำมรู้ที่ได้ไปสร้ำง
คำถำมใหม่ นำไปใช้แก้ปัญหำใน
สถำนกำรณ์ใหม่และชีวิตจริง
- กำรนำไปใช้
- กำรกำหนดปัญหำ
- กำรแก้ปัญหำ
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
ม.4-6/10 ตระหนักถึงควำมสำคัญในกำร
ที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบกำรอธิบำย
กำรลงควำมเห็น และกำรสรุปผลกำร
เรียนรู้วิทยำศำสตร์ที่นำเสนอต่อ
สำธำรณชนด้วยควำมถูกต้อง
- กำรอธิบำย
- กำรลงข้อสรุป
- กำรนำเสนอ
- กำรสื่อสำร
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
ม.4-6/11 บันทึกและอธิบำยผลกำร
สำรวจตรวจสอบอย่ำงมีเหตุผล ใช้
พยำนหลักฐำนอ้ำงอิงหรือค้นคว้ำ
เพิ่มเติมเพื่อหำหลักฐำนอ้ำงอิงที่เชื่อถือ
ได้และยอมรับว่ำควำมรู้เดิมอำจมีกำร
- กำรบันทึก
- กำรอธิบำย
- กำรสำรวจตรวจสอบ
- กำรสืบค้นข้อมูล
- กำรวิเครำะห์
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์
พยำนใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจำกเดิมซึ่ง
ท้ำทำยให้มีกำรตรวจสอบอย่ำง
ระมัดระวังอันจะนำไปสู่กำรยอมรับเป็น
ควำมรู้ใหม่
ม.4-6/12 จัดแสดงผลงำน เขียนรำยงำน
และ/หรืออธิบำยเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนกำรและผลของโครงงำนหรือ
ชิ้นงำนให้ผู้อื่นเข้ำใจ
- กำรอธิบำย
- กำรสื่อสำรข้อมูล
- มุ่งมั่นกำรทำงำน
- มีวินัย
- ซื่อสัตย์สุจริต
- ใฝ่เรียนรู้
โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 5 รหัส ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2
เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก
คะแนน
1 ว 2.1 ม.4-6/1-3
ว 8.1 ม.4-6/1-12
ระบบนิเวศ ระบบนิเวศจะมีควำมสมดุลได้ก็ต่อเมื่อ
มีสภำพแวด้อมต่ำงๆที่เอื้อต่อกำร
ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่ำงๆในระบบ
นิเวศจนทำให้เกิดควำมหลำกหลำย
ของระบบนิเวศบนโลก
30 50
2 ว 2.2 ม.4-6/1
ว 8.1 ม.4-6/1-12
ประชำกร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมมี
ควำมสัมพันธ์กันในระดับท้องถิ่น
ระดับประเทศและระดับโลกซึ่งมีควำม
จำเป็นต่อกำรดำรงชีวิตอยู่ของ
ประชำกรมนุษย์
15 25
3 ว 2.2 ม.4-6/2-3
ว 8.1 ม.4-6/1-12
มนุษย์กับควำมยั่งยืน
ของสิ่งแวดล้อม
กำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติและปัจจัย
ต่ำงๆในสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่ำงจำกัด
จำเป็นต้องใช้ด้วยควำมระมัดระวัง
ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภำพชีวิต
ระยะยำวของมนุษย์ดังนั้นแนวทำง
หนึ่งที่ทุกคนควรร่วมกันปฏิบัติเพื่อให้
เกิดประโยชน์อย่ำงยั่งยืน
15 25
รวม 60 100
คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ
1 ระบบนิเวศ ว 2.1 ม.4-6/1-3
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
- ควำมสำมำรถในกำรคิด
- ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์
สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด
ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน
กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้
คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ
โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ
วัฒนธรรม
- ทดลอง
- อธิบำย
- สืบค้นข้อมูล
- นำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์
กำรสืบค้นข้อมูล
- กำรสำรวจ
- กำรตั้งคำถำม
- กำรสร้ำงสมมติฐำน
- กำรตรวจสอบ
- กำรรวบรวมข้อมูล
- กำรสังเกต
- กำรออกแบบ
- กำรบันทึก
- กำรจัดกระทำข้อมูล
- กำรรำยงำนผล
- กำรวิเครำะห์
- กำรแปลควำมหมำย
- กำรกำหนดปัญหำ
- กำรแก้ปัญหำ
- กำรนำเสนอ
- กำรสื่อสำร
- กำรสรุปผล
2 ประชำกร ว 2.2 ม.4-6/1
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
- ควำมสำมำรถในกำรคิด
- ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ
- ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี
- ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล
ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร
ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้
คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ
โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ
วัฒนธรรม
3 มนุษย์กับควำมยั่งยืนของ
สิ่งแวดล้อม
ว 2.2 ม.4-6/2-3
ว 8.1 ม.4-6/1-12
- ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
- ควำมสำมำรถในกำรคิด
- ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ
- ทักษะชีวิต
- ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล
ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร
ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี
- สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้
คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ
โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ
วัฒนธรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1
หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง ไบโอม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
**************************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต
ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ
ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบำยควำมหมำยและเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์อีกทั้ง
สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบำยควำมหมำยของไบโอมได้อย่ำงถูกต้อง
2.2 เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์ได้อย่ำงถูกต้อง
2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- ไบโอม(biomes) หรือชีวนิเวศ หมำยถึงระบบนิเวศใดก็ตำมที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทำงกำยภำพและ
ปัจจัยทำงชีวภำพที่กระจำยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆกัน
- ไบโอมมีทั้งไบโอมบนบกและไบโอมในน้ำโดยแพร่กระจำยอยู่ตำมเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆในโลกนี้
- ไบโอมบก (terrestrial biomes) ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนแลอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด ซึ่งแบ่งออกเป็นไบ
โอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา ไบโอมป่าสน ไบ
โอมทะเลทราย และไบโอมทุนดรา
- ไบโอมในน้า (aquatic biomes) ที่พบเป็นองค์ประกอบหลักในไบโอสเฟีย์นั้น ประกอบด้วย ไบโอม
แหล่งน้าจืด และไบโอมแหล่งน้าเค็มและพบกระจายอยู่ทั่วเขตภูมิศาสตร์ในโลกนี้
4. สาระการเรียนรู้
ควำมรู้ (K) สำมำรถอธิบำยควำมหมำยของไบโอม
ทักษะ / กระบวนกำร (P) เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรศึกษำไบโอมกับกำรดำรงชีวิต
ของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การสื่อสาร ,การคิด และทักษะชีวิต
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร
สอนประจำบทเรียน
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน
ประจำบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ
บทเรียน
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม
ประจำบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร
เรียนกำรสอนประจำ
บทเรียน
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด
ทบทวนประจำบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ
คะแนนประจำบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร
เรียนกำรสอนประจำบทเรียน
จริง
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ
บทเรียน
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยแบบทดสอบประจำ
บทเรียน
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด
บันทึก
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80%
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50%
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ
กำรจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “กำรแบ่งเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆในโลกนี้ใช้เกณฑ์ใดในกำรจำแนก”
แนวตอบ คือ องค์ประกอบของปัจจัยทำงกำยภำพและปัจจัยทำงชีวภำพที่กระจำย
อยู่ในเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆกัน
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ไบโอม” ว่ำ
- ไบโอม(biomes) หรือชีวนิเวศ หมำยถึงระบบนิเวศใดก็ตำมที่มีองค์ประกอบกระจำยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์
ต่ำงๆกันของ
1. ปัจจัยทำงกำยภำพ เช่น อุณหภูมิและควำมชื้น
2. ปัจจัยทำงชีวภำพที่ เช่น พืชและสัตว์
- ไบโอมมีทั้งไบโอมบนบก (terrestrial biomes) และไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) โดยแพร่กระจำย
อยู่ตำมเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆในโลกนี้
- ไบโอมบก ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนแลอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด ซึ่งแบ่งออกเป็น
1. ไบโอมป่าดิบชื้น (tropical rain forest)
2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest)
3. ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland)
4. ไบโอมสะวันนา (savanna)
5. ไบโอมป่าสน (coniferous forest) ป่าไทกา (taiga) และป่าบอเรียล (boreal)
6. ไบโอมทะเลทราย (desert)
7. ไบโอมทุนดรา (tundra)
- ไบโอมในน้า ที่พบเป็นองค์ประกอบหลักในไบโอสเฟีย์นั้น ประกอบด้วย
1. ไบโอมแหล่งน้าจืด (freshwater biomes)
2. ไบโอมแหล่งน้าเค็ม (marine biomes)
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรเปรียบเทียบ
ควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ
ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขต
ภูมิศำสตร์อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
**************************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต
ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ
ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบำยควำมสำคัญและกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้ง
สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบำยควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง
2.2 บอกกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง
2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- บริเวณต่ำงๆของผิวโลก มีกำรแบ่งเขตพื้นที่ออกเป็นทวีปตำมลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำในแต่
ละทวีปจะมีลักษณะทำงภูมิศำสตร์ที่เฉพำะซึ่งควำมแตกต่ำงนี้จะส่งผลต่อกำรกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่
อำศัยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์นั้นด้วย
- กำรศึกษำระบบนิเวศบนบกและในน้ำ แม้จะมีลักษณะของแหล่งที่อยู่อำศัยต่ำงๆแต่พบว่ำทั้ง 2 ระบบนี้ต่ำงก็
มีองค์ประกอบที่เหมือนกัน คือ
1. ปัจจัยทำงกำยภำพ
2. ปัจจัยทำงชีวภำพ
- ระบบนิเวศแบต่ำงๆ
1. ระบบนิเวศในน้ำ แบ่งเป็นระบบนิเวศในแหล่งน้ำจืดและระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม
2. ระบบนิเวศบนบก ได้แก่ ระบบนิเวศป่ำไม้
4. สาระการเรียนรู้
ควำมรู้ (K) อธิบำยควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
ทักษะ / กระบวนกำร (P) บอกกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบ
ต่ำงๆ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ
แบบต่ำงๆกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การสื่อสาร ,การคิด และทักษะชีวิต
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร
สอนประจำบทเรียน
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน
ประจำบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ
บทเรียน
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม
ประจำบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร
เรียนกำรสอนประจำ
บทเรียน
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด
ทบทวนประจำบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ
คะแนนประจำบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร
เรียนกำรสอนประจำบทเรียน
จริง
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ
บทเรียน
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยแบบทดสอบประจำ
บทเรียน
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด
บันทึก
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80%
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50%
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ
กำรจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ลักษณะภูมิศำสตร์โลกมีผลต่อระบบนิเวศอย่ำงไร”
แนวตอบ คือ ในแต่ละทวีปจะมีลักษณะทำงภูมิศำสตร์ที่เฉพำะซึ่งควำมแตกต่ำงนี้จะ
ส่งผลต่อกำรกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์นั้นโดยกำรปรับตัวให้เหมำะสมต่อกำร
ดำรงชีวิต
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ” ว่ำ
- บริเวณต่ำงๆของผิวโลก มีกำรแบ่งเขตพื้นที่ออกเป็นทวีปตำมลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำในแต่
ละทวีปจะมีลักษณะทำงภูมิศำสตร์ที่เฉพำะซึ่งควำมแตกต่ำงนี้จะส่งผลต่อกำรกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่
อำศัยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์นั้นด้วย
- กำรศึกษำระบบนิเวศบนบกและในน้ำ แม้จะมีลักษณะของแหล่งที่อยู่อำศัยต่ำงๆแต่พบว่ำทั้ง 2 ระบบนี้ต่ำงก็
มีองค์ประกอบที่เหมือนกัน คือ
1. ปัจจัยทำงกำยภำพ
- ฟิสิกส์ เช่น แสง เสียง ควำมร้อน
- เคมี คือ สำรอินทรีย์และสำรอนินทรีย์
2. ปัจจัยทำงชีวภำพ
- ผู้ผลิต คือ พืช
- ผู้บริโภค คือ สัตว์
- ผู้ย่อยสลาย คือ จุลินทรีย์
- ระบบนิเวศแบต่ำงๆ
1. ระบบนิเวศในน้ำ แบ่งเป็น
- ระบบนิเวศในแหล่งน้ำจืด
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม
2. ระบบนิเวศบนบก ได้แก่ ระบบนิเวศป่ำไม้ แบ่งเป็น
- ป่าไม่ผลัดใบ เช่น ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา
- ป่าผลัดใบ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังหรือป่าแดง
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมสำคัญและกระบวนกำร
ศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ
ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมสำคัญและกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง ควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
**************************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต
ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ
ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบำยควำมสำคัญและเปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้ง
สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบำยควำมสำคัญของรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง
2.2 เปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง
2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- สิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศหนึ่งๆย่อยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง และ
ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสภำพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอำศัยอยู่
- ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงกำยภำพ
1. อุณหภูมิ 2. แสง
3. ควำมชื้น 4. ดิน
5. แก๊ส 6. ควำมเป็นกรดเป็นเบสของดินและน้ำ
- ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงชีวภำพ
1. ภำวะพึ่งพำกัน 2. กำรได้รับประโยชน์ร่วมกัน
3. ภำวะอิงอำศัย 4. กำรล่ำเหยื่อ
5. ภำวะปรสิต 6. ภำวะแก่งแย่งแข่งขัน
4. สาระการเรียนรู้
ควำมรู้ (K) อธิบำยควำมสำคัญของรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรเปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบ
นิเวศแบบต่ำงๆกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การใช้เทคโนโลยี ,การคิด และทักษะชีวิต
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร
สอนประจำบทเรียน
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน
ประจำบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ
บทเรียน
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม
ประจำบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร
เรียนกำรสอนประจำ
บทเรียน
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด
ทบทวนประจำบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ
คะแนนประจำบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร
เรียนกำรสอนประจำบทเรียน
จริง
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ
บทเรียน
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยแบบทดสอบประจำ
บทเรียน
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด
บันทึก
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80%
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50%
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ
กำรจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “สิ่งมีชีวิตที่อำศัยในไบโอมต่ำงๆมีรูปร่ำงลักษณะและกำร
ดำรงชีวิตที่แตกต่ำงกันอะไรเป็นสำเหตุให้เป็นเช่นนั้น”
แนวตอบ คือ รูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆแตกต่ำงกันจึงทำให้
สิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องปรับตัวให้เหมำะสมเพื่อควำมอยู่รอด
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “รูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศ” ว่ำ
- สิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศหนึ่งๆย่อยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง และ
ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสภำพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอำศัยอยู่
- ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงกำยภำพ
1. อุณหภูมิ เช่น กำรออกหำกินเวลำกลำงคืนของสัตว์ทะเลทรำย
2. แสง เช่น กำรโค้งงอปลำยยอดพืชเข้ำหำแสง
3. ควำมชื้น เช่น ใบหนำมของต้นกระบองเพชร
4. ดิน เช่น กำรกินดินโป่งของสัตว์ป่ำ
5. แก๊ส เช่น กระบวนกำรหำยใจและสังเครำะห์แสง
6. ควำมเป็นกรดเป็นเบสของดินและน้ำ คือ ชนิดของพืชที่มีควำมแตกต่งกัน
- ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงชีวภำพ
1. ภำวะพึ่งพำกัน (+,+) เช่น ไลเคนส์
2. กำรได้รับประโยชน์ร่วมกัน (+,+) เช่น นกเอี้ยงกับควำย
3. ภำวะอิงอำศัย (+,0) เช่น กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่
4. กำรล่ำเหยื่อ (+,-) เช่น สิงโตกับกวำง
5. ภำวะปรสิต (+,-) เช่น พยำธิกับคน
6. ภำวะแก่งแย่งแข่งขัน (-,-) เช่น การต่อสู้ระหว่างสิงโตทะเลเพศผู้
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมสำคัญและกำรเปรียบเทียบ
รูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ
ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมสำคัญและกำรเปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
**************************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต
ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ
ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญและกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรใน
ระบบนิเวศอีกทั้งสำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง
2.2 เขียนแผนภำพกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง
2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศมีควำมสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเป็นอย่ำง
มำกเพรำะสำรต่ำงๆในระบบนเวศไม่มีกำรสูญหำยแต่มีกำรหมุนเวียนนำมำใช้ใหม่ในสิ่งมีชีวิตเป็นเป็นวัฏจักร
ทำให้ระบบนิเวศเกิดควำมสมดุลทำงธรรมชำติ
- กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศ
1. ห่วงโซ่อำหำร
2. สำยใยอำหำร
- กำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ
1. วัฏจักรคำร์บอน
2. วัฏจักรไนโตรเจน
3. วัฏจักรฟอสฟอรัส
4. วัฏจักรกำมะถัน
4. สาระการเรียนรู้
ควำมรู้ (K) กำรอธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำร
ในระบบนิเวศ
ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรเขียนแผนภำพกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำร
หมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำร
หมุนเวียนสำรในระบบนิเวศกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การใช้เทคโนโลยี ,การสื่อสาร และทักษะชีวิต
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร
สอนประจำบทเรียน
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน
ประจำบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ
บทเรียน
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม
ประจำบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร
เรียนกำรสอนประจำ
บทเรียน
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด
ทบทวนประจำบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ
คะแนนประจำบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร
เรียนกำรสอนประจำบทเรียน
จริง
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ
บทเรียน
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยแบบทดสอบประจำ
บทเรียน
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด
บันทึก
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80%
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50%
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ
กำรจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ผู้ผลิต ผู้บริโถค และผู้สลำยสำรอินทรีย์ในโซ่อำหำรมี
ควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร”
แนวตอบ คือ กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศระหว่ำง
ผู้ผลิต ผู้บริโถค และผู้สลำยสำรอินทรีย์ในโซ่อำหำร
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ” ว่ำ
- กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศมีควำมสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเป็นอย่ำง
มำกเพรำะสำรต่ำงๆในระบบนเวศไม่มีกำรสูญหำยแต่มีกำรหมุนเวียนนำมำใช้ใหม่ในสิ่งมีชีวิตเป็นเป็นวัฏจักร
ทำให้ระบบนิเวศเกิดควำมสมดุลทำงธรรมชำติ
- กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศ
1. ห่วงโซ่อำหำร
2. สำยใยอำหำร
- กำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ
1. วัฏจักรคำร์บอน
2. วัฏจักรไนโตรเจน
3. วัฏจักรฟอสฟอรัส
4. วัฏจักรกำมะถัน
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและ
กระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิต
ของมนุษย์
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ
ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียน
สำรในระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
**************************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต
ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้
ประโยชน์
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ
ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญและเปรียบเทียบรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ
นิเวศอีกทั้งสำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง
2.2 เปรียบเทียบรูปแบบต่ำงๆของกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง
2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- ในสภำพแวดล้อมหนึ่งๆพบว่ำเมื่อกำลเวลำผ่ำนไปอำจทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น
กลุ่มสิ่งมีชีวิตเดิมที่เคยพบอำจสูญหำยไปกลำยเป็นอีกกลุ่มหนึ่งขึ้นมำแทน เรียกปรำกฎกำรณ์นี้ว่ำ กำร
เปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ (ecological succession)
- กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในสภำพแวดล้อมธรรมชำติจะมี 2 ลักษณะ คือ
1. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (primary succession)
2. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ (secondary succession)
4. สาระการเรียนรู้
ควำมรู้ (K) กำรอธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ
นิเวศ
ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรเปรียบเทียบรูปแบบต่ำงๆของกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
ระบบนิเวศ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ
นิเวศกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การสื่อสาร ,การใช้เทคโนโลยี ,การคิด และทักษะชีวิต
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร
สอนประจำบทเรียน
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน
ประจำบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ
บทเรียน
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม
ประจำบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร
เรียนกำรสอนประจำ
บทเรียน
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด
ทบทวนประจำบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ
คะแนนประจำบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร
เรียนกำรสอนประจำบทเรียน
จริง
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ
บทเรียน
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยแบบทดสอบประจำ
บทเรียน
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด
บันทึก
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80%
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50%
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ
กำรจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “หลังจำกเกิดภัยธรรมชำติทำลำยระบบนิเวศที่มีอยู่เดิม นักเรียน
คิดว่ำระบบนิเวศแห่งนี้จะฟื้นคืนสภำพได้หรือไม่และกลุ่มสิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร”
แนวตอบ คือ ได้ เนื่องจำกระบบนิเวศมีกระบวนกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ เมื่อ
กำลเวลำผ่ำนไปอำจทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ” ว่ำ
- ในสภำพแวดล้อมหนึ่งๆพบว่ำเมื่อกำลเวลำผ่ำนไปอำจทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น
กลุ่มสิ่งมีชีวิตเดิมที่เคยพบอำจสูญหำยไปกลำยเป็นอีกกลุ่มหนึ่งขึ้นมำแทน เรียกปรำกฎกำรณ์นี้ว่ำ กำร
เปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ (ecological succession)
- กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในสภำพแวดล้อมธรรมชำติจะมี 2 ลักษณะ คือ
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและกำร
เปรียบเทียบรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ
ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและกำรเปรียบเทียบรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่
ของระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 6
หน่วยกำรเรียนที่ 2 เรื่อง ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกร
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยำ 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 3 ชั่วโมง
ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
**************************************************************************************************
1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้
ว 2.2 ม.4-6/1 วิเครำะห์สภำพปัญหำ สำเหตุของปัญหำสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติในระดับท้องถิ่น
ระดับประเทศ และระดับโลก
ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ
ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลกำรเรียนรู้
อธิบำยควำมหมำยและคำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรอีกทั้ง
สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้
2.1 อธิบำยควำมหมำยของควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรได้อย่ำงถูกต้อง
2.2 คำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรได้อย่ำงถูกต้อง
2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมได้อย่ำงถูกต้อง
3. สำระแกนกลำง / สำระสำคัญ
- สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อำศัยอยู่บนโลกนี้ ล้วนต้องกำรสภำพแวดล้อมและปัจจัยทำงกำยภำพที่เหมำะสมต่อกำร
ดำรงชีวิต
- ควำมหนำแน่นของประชำกร หมำยถึง จำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมำตร สำมำรถ
ประเมินได้ 2 วิธี คือ
1. กำรหำควำมหนำแน่นอย่ำงหยำบ
2. กำรหำควำมหนำแน่นเชิงนิเวศ
- กำรแพร่กระจำยของประชำกรมีปัจจัยต่ำงๆที่ส่งผล ดังนี้
1. ปัจจัยทำงกำยภำพ
2. ปัจจัยทำงชีวภำพ
3. ปัจจัยอื่นๆ
4. สำระกำรเรียนรู้
ควำมรู้ (K) กำรอธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของ
ประชำกร
ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรคำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหนำแน่นและกำร
แพร่กระจำยของประชำกรกับกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
5. สมรรถนะ
กำรสื่อสำร ,กำรใช้เทคโนโลยี และกำรคิด
6. ชิ้นงำน / ภำระงำนที่แสดงผลกำรเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map
7. กำรวัดและประเมินผล
รำยกำรประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์กำรประเมินผล
1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร
สอนประจำบทเรียน
2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน
ประจำบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ
บทเรียน
4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม
ประจำบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกกำร
เรียนกำรสอนประจำ
บทเรียน
2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด
ทบทวนประจำบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ
คะแนนประจำบทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. กำรสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร
เรียนกำรสอนประจำบทเรียน
จริง
2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ
บทเรียน
3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ
เฉลยแบบทดสอบประจำ
บทเรียน
4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร
กิจกรรมประจำบทเรียน
1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด
บันทึก
2. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80%
3. ควำมถูกต้องของคำตอบ
อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50%
4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน
เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ
กำรจดบันทึก
8. กิจกรรมกำรเรียนรู้
ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยใดบ้ำง”
แนวตอบ คือ ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัย
ดังนี้ คือ 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ 2. ปัจจัยทำงชีวภำพ 3. ปัจจัยอื่นๆ
ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกร” ว่ำ
- สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อำศัยอยู่บนโลกนี้ ล้วนต้องกำรสภำพแวดล้อมและปัจจัยทำงกำยภำพที่เหมำะสมต่อกำร
ดำรงชีวิต
- ควำมหนำแน่นของประชำกร หมำยถึง จำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมำตร สำมำรถ
ประเมินได้ 2 วิธี คือ
1. กำรหำควำมหนำแน่นอย่ำงหยำบ (crude density) เป็นกำรหำจำนวนประชำกรต่อพื้นที่ทั้งหมด
(total space) ที่ศึกษำ
2. กำรหำควำมหนำแน่นเชิงนิเวศ (ecological density) เป็นกำรหำจำนวนหรือมวลของประชำกร
ต่อหน่วยพื้นที่ที่ประชำกรนั้นอำศัยอยู่จริง (habitat space)
- กำรแพร่กระจำยของประชำกรมีปัจจัยต่ำงๆที่ส่งผล ดังนี้
1. ปัจจัยทำงกำยภำพ เช่น ควำมสูงจำกระดับน้ำทะเล อุณหภูมิ แสง ควำมชื้น ควำมเป็นกรด-เบส
2. ปัจจัยทำงชีวภำพ (กำรอำศัยอยู่ร่วมกันและเกิดปฏิสัมพันธ์กันในรูปแบบต่ำงๆระหว่ำงสิ่งมีชีวิต)
3. ปัจจัยอื่นๆ เช่น กำรที่สภำพภูมิศำสตร์เป็นทะเล ทะเลทรำย และเทือกเขำสูง สิ่งเหล่ำนี้จะเป็น
กำแพงขวำงกั้นหรือกีดขวำงระหว่ำงสิ่งมีชีวิต
นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรคำนวณหำ
ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในกำรศึกษำระบบนิเวศและ
สิ่งแวดล้อม
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ
ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรคำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของ
ประชำกรอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยำ 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร
9.2 คู่มือครูชีววิทยำ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร
9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2

More Related Content

What's hot

สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
Prachoom Rangkasikorn
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 

Viewers also liked

รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Wichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
เล่มรยงานกิจกรรมกลุ่มวิทยาศาสตร์
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 

Similar to แผนBioม.6 2

แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
Wichai Likitponrak
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6Nutsara Mukda
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
Wichai Likitponrak
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
Wichai Likitponrak
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
Wichai Likitponrak
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
เจนจิรา จีนเจือ
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
Wichai Likitponrak
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3sompriaw aums
 
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
sopa sangsuy
 
Sar 63 อบ
Sar 63 อบSar 63 อบ
Sar 63 อบ
PornpenInta
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
Wichai Likitponrak
 

Similar to แผนBioม.6 2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-609 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
แผนการสอนอาเชี่ยนศึกษา ม.1 3
 
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
005ชุดการเรียนรู้ชุดที่5(1)
 
Sar 63 อบ
Sar 63 อบSar 63 อบ
Sar 63 อบ
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แผนBioม.6 2

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยา 5 รหัส ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 รหัสวิชา ว 33245 รายวิชา ชีววิทยา 5 เวลาเรียน 3 คาบ/สัปดาห์/คาบ จานวน 1.5 หน่วยการเรียน รวมเวลาเรียน 60 คาบ/ภาคเรียน ............................................................................................................................................................... ชื่อครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ : แบบเรียนหลัก 1. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 2. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คำอธิบำยรำยวิชำ ชีววิทยำ 5 รหัสวิชำ ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 1.5 หน่วยกิต เวลำ 60 ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบนิเวศ ไบโอม ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ใน ระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ นิเวศ ความหนาแน่น การแพร่กระจายและขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มประชากร การรอดชีวิตของ ประชากร ประชากรนุษย์ ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา และการจัดการ หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.4-6/1 ,ว 2.1 ม.4-6/2 ,ว 2.1 ม.4-6/3 ว 2.2 ม.4-6/1 ,ว 2.2 ม.4-6/2 ,ว 2.2 ม.4-6/3 ว 8.1 ม.4/1 , ว 8.1 ม.4/2 , ว 8.1 ม.4/3 , ว 8.1 ม.4/4 , ว 8.1 ม.4/5 , ว 8.1 ม.4/6 , ว 8.1 ม.4/7 , ว 8.1 ม.4/8 , ว 8.1 ม.4/9 , ว 8.1 ม.4/10 , ว 8.1 ม.4/11 , ว 8.1 ม.4/12 รวม 18 ตัวชี้วัด
  • 4. แบบวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชาชีววิทยา 5 ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มฐ. ตัวชี้วัด คาสาคัญ (Keyword) ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ว 2.1 ม.4-6/1 อธิบำยดุลยภำพของระบบนิเวศ - ระบบนิเวศ - กำรสำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/2 อธิบำยกระบวนกำร เปลี่ยนแปลงแทนที่ - ระบบนิเวศ - กำรนำควำมรู้ไปใช้ - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย ม.4-6/3 อธิบำยควำมสำคัญของควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพและเสนอแนะ แนวทำงในกำรดูแลรักษำ - ระบบนิเวศ - กำรสืบค้นข้อมูล - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นกำรทำงำน ว 2.2 ม.4-6/1 วิเครำะห์สภำพปัญหำ สำเหตุ ของปัญหำสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยำกรธรรมชำติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก - ประชำกร - กำรสืบค้นข้อมูล - ใฝ่เรียนรู้ - มีวินัย ม.4-6/2 อภิปรำยแนวทำงในกำรป้องกัน แก้ไขปัญหำสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยำกรธรรมชำติ - มนุษย์กับควำมยั่งยืน ของสิ่งแวดล้อม - กำรสำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/3 วำงแผนและดำเนินกำรเฝ้ำ ระวัง อนุรักษ์และพัฒนำสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยำกรธรรมชำติ - มนุษย์กับควำมยั่งยืน ของสิ่งแวดล้อม - กำรนำควำมรู้ไปใช้ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นกำรทำงำน ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคำถำมที่อยู่บนพื้นฐำนของ ควำมรู้และควำมเข้ำใจทำงวิทยำศำสตร์ หรือควำมสนใจหรือจำกประเด็นที่ เกิดขึ้นในขณะนั้นที่สำมำรถทำกำร สำรวจตรวจสอบหรือศึกษำค้นคว้ำได้ อย่ำงครอบคลุมและเชื่อถือได้ - กำรสืบค้นข้อมูล - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรตั้งคำถำม - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/2 สร้ำงสมมติฐำนที่มีทฤษฎี รองรับหรือคำดกำรณ์สิ่งที่จะพบหรือ สร้ำงแบบจำลองหรือสร้ำงรูปแบบเพื่อ นำไปสู่กำรสำรวจตรวจสอบ -กำรสร้ำงสมมติฐำน - กำรตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/3 ค้นคว้ำรวบรวมข้อมูลที่ต้อง พิจำรณำปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญ ปัจจัย ที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจำนวนครั้งของกำรสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีควำมเชื่อมั่นอย่ำง เพียงพอ - กำรสืบค้นข้อมูล - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรรวบรวมข้มูล - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้
  • 5. ม.4-6/4 เลือกวัสดุเทคนิควิธีอุปกรณ์ที่ใช้ ในกำรสังเกต กำรวัด กำรสำรวจ ตรวจสอบอย่ำงถูกต้องทั้งทำงกว้ำงและ ลึกในเชิงปริมำณและคุณภำพ - กำรสังเกต -สำรวจตรวจสอบ - กำรออกแบบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผล กำรสำรวจตรวจสอบอย่ำงเป็นระบบ ถูกต้องครอบคลุมทั้งในเชิงปริมำณและ คุณภำพ โดยตรวจสอบควำมเป็นไปได้ ควำมเหมำะสมหรือควำมผิดพลำดของ ข้อมูล - กำรรวบรวมข้อมูล - กำรบันทึก - สำรวจตรวจสอบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/6 จัดกระทำข้อมูลโดยคำนึงถึง กำรรำยงำนผลเชิงตัวเลขที่มีระดับ ควำมถุกต้องและนำเสนอข้อมูลด้วย เทคนิควิธีที่เหมำะสม - กำรจัดกระทำข้อมูล - กำรรำยงำนผล - กำรออกแบบ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/7 วิเครำะห์ข้อมูล แปล ควำมหมำยข้อมูลและประเมินควำม สอดคล้องของข้อสรุป หรือสำระสำคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐำนที่ตั้งไว้ - กำรวิเครำะห์ - กำรแปลควำมหมำย - กำรสำรวจตรวจสอบ - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/8 พิจำรณำควำมน่ำเชื่อถือของ วิธีกำรและผลกำรสำรวจตรวจสอบโดย ใช้หลักควำมคำดเคลื่อนของกำรวัดและ กำรสังเกต เสนอแนะ กำรปรับปรุง วิธีกำรสำรวจตรวจสอบ - กำรสังเกต - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรสรุปผล - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/9 นำผลกำรสำรวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีกำรและองค์ควำมรู้ที่ได้ไปสร้ำง คำถำมใหม่ นำไปใช้แก้ปัญหำใน สถำนกำรณ์ใหม่และชีวิตจริง - กำรนำไปใช้ - กำรกำหนดปัญหำ - กำรแก้ปัญหำ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้ ม.4-6/10 ตระหนักถึงควำมสำคัญในกำร ที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบกำรอธิบำย กำรลงควำมเห็น และกำรสรุปผลกำร เรียนรู้วิทยำศำสตร์ที่นำเสนอต่อ สำธำรณชนด้วยควำมถูกต้อง - กำรอธิบำย - กำรลงข้อสรุป - กำรนำเสนอ - กำรสื่อสำร - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต ม.4-6/11 บันทึกและอธิบำยผลกำร สำรวจตรวจสอบอย่ำงมีเหตุผล ใช้ พยำนหลักฐำนอ้ำงอิงหรือค้นคว้ำ เพิ่มเติมเพื่อหำหลักฐำนอ้ำงอิงที่เชื่อถือ ได้และยอมรับว่ำควำมรู้เดิมอำจมีกำร - กำรบันทึก - กำรอธิบำย - กำรสำรวจตรวจสอบ - กำรสืบค้นข้อมูล - กำรวิเครำะห์ - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต
  • 6. เปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์ พยำนใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจำกเดิมซึ่ง ท้ำทำยให้มีกำรตรวจสอบอย่ำง ระมัดระวังอันจะนำไปสู่กำรยอมรับเป็น ควำมรู้ใหม่ ม.4-6/12 จัดแสดงผลงำน เขียนรำยงำน และ/หรืออธิบำยเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนกำรและผลของโครงงำนหรือ ชิ้นงำนให้ผู้อื่นเข้ำใจ - กำรอธิบำย - กำรสื่อสำรข้อมูล - มุ่งมั่นกำรทำงำน - มีวินัย - ซื่อสัตย์สุจริต - ใฝ่เรียนรู้
  • 7. โครงสร้างรายวิชาชีววิทยา 5 รหัส ว 33245 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ลาดับที่ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 ว 2.1 ม.4-6/1-3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 ระบบนิเวศ ระบบนิเวศจะมีควำมสมดุลได้ก็ต่อเมื่อ มีสภำพแวด้อมต่ำงๆที่เอื้อต่อกำร ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตต่ำงๆในระบบ นิเวศจนทำให้เกิดควำมหลำกหลำย ของระบบนิเวศบนโลก 30 50 2 ว 2.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 ประชำกร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมมี ควำมสัมพันธ์กันในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศและระดับโลกซึ่งมีควำม จำเป็นต่อกำรดำรงชีวิตอยู่ของ ประชำกรมนุษย์ 15 25 3 ว 2.2 ม.4-6/2-3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 มนุษย์กับควำมยั่งยืน ของสิ่งแวดล้อม กำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติและปัจจัย ต่ำงๆในสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่อย่ำงจำกัด จำเป็นต้องใช้ด้วยควำมระมัดระวัง ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อคุณภำพชีวิต ระยะยำวของมนุษย์ดังนั้นแนวทำง หนึ่งที่ทุกคนควรร่วมกันปฏิบัติเพื่อให้ เกิดประโยชน์อย่ำงยั่งยืน 15 25 รวม 60 100
  • 8. คุณลักษณะตามจุดเน้น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลาดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด จุดเน้น ทักษะ/กระบวนการ 1 ระบบนิเวศ ว 2.1 ม.4-6/1-3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ค้นหำสำเหตุของปัญหำ วิเครำะห์ สภำพปัญหำจำกสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน กำหนด ทำงเลือกวิธีกำรขั้นตอนที่นำมำใช้ใน กำรแก้ปัญหำได้ผลดีที่สุด - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม - ทดลอง - อธิบำย - สืบค้นข้อมูล - นำควำมรู้ไปใช้ประโยชน์ กำรสืบค้นข้อมูล - กำรสำรวจ - กำรตั้งคำถำม - กำรสร้ำงสมมติฐำน - กำรตรวจสอบ - กำรรวบรวมข้อมูล - กำรสังเกต - กำรออกแบบ - กำรบันทึก - กำรจัดกระทำข้อมูล - กำรรำยงำนผล - กำรวิเครำะห์ - กำรแปลควำมหมำย - กำรกำหนดปัญหำ - กำรแก้ปัญหำ - กำรนำเสนอ - กำรสื่อสำร - กำรสรุปผล 2 ประชำกร ว 2.2 ม.4-6/1 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ - ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี - ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม 3 มนุษย์กับควำมยั่งยืนของ สิ่งแวดล้อม ว 2.2 ม.4-6/2-3 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร - ควำมสำมำรถในกำรคิด - ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ - ทักษะชีวิต - ใช้คอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล ข้อมูลให้เป็นสำรสนเทศเพื่อกำร ตัดสินใจใช้เทคโนโลยี - สำรสนเทศนำเสนองำนและใช้ คอมพิวเตอร์สร้ำงชิ้นงำนหรือ โครงงำนอย่ำงมีจิตสำนึกและ วัฒนธรรม
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง ไบโอม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบำยควำมหมำยและเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์อีกทั้ง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมหมำยของไบโอมได้อย่ำงถูกต้อง 2.2 เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์ได้อย่ำงถูกต้อง 2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - ไบโอม(biomes) หรือชีวนิเวศ หมำยถึงระบบนิเวศใดก็ตำมที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทำงกำยภำพและ ปัจจัยทำงชีวภำพที่กระจำยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆกัน - ไบโอมมีทั้งไบโอมบนบกและไบโอมในน้ำโดยแพร่กระจำยอยู่ตำมเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆในโลกนี้ - ไบโอมบก (terrestrial biomes) ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนแลอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด ซึ่งแบ่งออกเป็นไบ โอมป่าดิบชื้น ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ไบโอมสะวันนา ไบโอมป่าสน ไบ โอมทะเลทราย และไบโอมทุนดรา - ไบโอมในน้า (aquatic biomes) ที่พบเป็นองค์ประกอบหลักในไบโอสเฟีย์นั้น ประกอบด้วย ไบโอม แหล่งน้าจืด และไบโอมแหล่งน้าเค็มและพบกระจายอยู่ทั่วเขตภูมิศาสตร์ในโลกนี้ 4. สาระการเรียนรู้ ควำมรู้ (K) สำมำรถอธิบำยควำมหมำยของไบโอม ทักษะ / กระบวนกำร (P) เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์
  • 10. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรศึกษำไบโอมกับกำรดำรงชีวิต ของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การสื่อสาร ,การคิด และทักษะชีวิต 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “กำรแบ่งเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆในโลกนี้ใช้เกณฑ์ใดในกำรจำแนก” แนวตอบ คือ องค์ประกอบของปัจจัยทำงกำยภำพและปัจจัยทำงชีวภำพที่กระจำย อยู่ในเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆกัน ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ไบโอม” ว่ำ - ไบโอม(biomes) หรือชีวนิเวศ หมำยถึงระบบนิเวศใดก็ตำมที่มีองค์ประกอบกระจำยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์ ต่ำงๆกันของ 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ เช่น อุณหภูมิและควำมชื้น 2. ปัจจัยทำงชีวภำพที่ เช่น พืชและสัตว์ - ไบโอมมีทั้งไบโอมบนบก (terrestrial biomes) และไบโอมในน้ำ (aquatic biomes) โดยแพร่กระจำย อยู่ตำมเขตภูมิศำสตร์ต่ำงๆในโลกนี้ - ไบโอมบก ใช้เกณฑ์ปริมาณน้าฝนแลอุณหภูมิเป็นตัวกาหนด ซึ่งแบ่งออกเป็น 1. ไบโอมป่าดิบชื้น (tropical rain forest)
  • 11. 2. ไบโอมป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate deciduous forest) 3. ไบโอมทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate grassland) 4. ไบโอมสะวันนา (savanna) 5. ไบโอมป่าสน (coniferous forest) ป่าไทกา (taiga) และป่าบอเรียล (boreal) 6. ไบโอมทะเลทราย (desert) 7. ไบโอมทุนดรา (tundra) - ไบโอมในน้า ที่พบเป็นองค์ประกอบหลักในไบโอสเฟีย์นั้น ประกอบด้วย 1. ไบโอมแหล่งน้าจืด (freshwater biomes) 2. ไบโอมแหล่งน้าเค็ม (marine biomes) นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรเปรียบเทียบ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขตภูมิศำสตร์อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์ ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงไบโอมแต่ละเขต ภูมิศำสตร์อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
  • 12. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบำยควำมสำคัญและกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้ง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง 2.2 บอกกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง 2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - บริเวณต่ำงๆของผิวโลก มีกำรแบ่งเขตพื้นที่ออกเป็นทวีปตำมลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำในแต่ ละทวีปจะมีลักษณะทำงภูมิศำสตร์ที่เฉพำะซึ่งควำมแตกต่ำงนี้จะส่งผลต่อกำรกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ อำศัยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์นั้นด้วย - กำรศึกษำระบบนิเวศบนบกและในน้ำ แม้จะมีลักษณะของแหล่งที่อยู่อำศัยต่ำงๆแต่พบว่ำทั้ง 2 ระบบนี้ต่ำงก็ มีองค์ประกอบที่เหมือนกัน คือ 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ 2. ปัจจัยทำงชีวภำพ - ระบบนิเวศแบต่ำงๆ 1. ระบบนิเวศในน้ำ แบ่งเป็นระบบนิเวศในแหล่งน้ำจืดและระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม 2. ระบบนิเวศบนบก ได้แก่ ระบบนิเวศป่ำไม้ 4. สาระการเรียนรู้ ควำมรู้ (K) อธิบำยควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
  • 13. ทักษะ / กระบวนกำร (P) บอกกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบ ต่ำงๆ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ แบบต่ำงๆกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การสื่อสาร ,การคิด และทักษะชีวิต 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ลักษณะภูมิศำสตร์โลกมีผลต่อระบบนิเวศอย่ำงไร” แนวตอบ คือ ในแต่ละทวีปจะมีลักษณะทำงภูมิศำสตร์ที่เฉพำะซึ่งควำมแตกต่ำงนี้จะ ส่งผลต่อกำรกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์นั้นโดยกำรปรับตัวให้เหมำะสมต่อกำร ดำรงชีวิต ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศ” ว่ำ - บริเวณต่ำงๆของผิวโลก มีกำรแบ่งเขตพื้นที่ออกเป็นทวีปตำมลักษณะทำงภูมิศำสตร์ ดังนั้น จะเห็นได้ว่ำในแต่ ละทวีปจะมีลักษณะทำงภูมิศำสตร์ที่เฉพำะซึ่งควำมแตกต่ำงนี้จะส่งผลต่อกำรกำหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ อำศัยอยู่ในเขตภูมิศำสตร์นั้นด้วย - กำรศึกษำระบบนิเวศบนบกและในน้ำ แม้จะมีลักษณะของแหล่งที่อยู่อำศัยต่ำงๆแต่พบว่ำทั้ง 2 ระบบนี้ต่ำงก็ มีองค์ประกอบที่เหมือนกัน คือ
  • 14. 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ - ฟิสิกส์ เช่น แสง เสียง ควำมร้อน - เคมี คือ สำรอินทรีย์และสำรอนินทรีย์ 2. ปัจจัยทำงชีวภำพ - ผู้ผลิต คือ พืช - ผู้บริโภค คือ สัตว์ - ผู้ย่อยสลาย คือ จุลินทรีย์ - ระบบนิเวศแบต่ำงๆ 1. ระบบนิเวศในน้ำ แบ่งเป็น - ระบบนิเวศในแหล่งน้ำจืด - ระบบนิเวศแหล่งน้ำเค็ม 2. ระบบนิเวศบนบก ได้แก่ ระบบนิเวศป่ำไม้ แบ่งเป็น - ป่าไม่ผลัดใบ เช่น ป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา - ป่าผลัดใบ เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังหรือป่าแดง นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมสำคัญและกระบวนกำร ศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์ ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมสำคัญและกระบวนกำรศึกษำควำมหลำกหลำยของระบบนิเวศแบบต่ำงๆ อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง ควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบำยควำมสำคัญและเปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้ง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมสำคัญของรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง 2.2 เปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆได้อย่ำงถูกต้อง 2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - สิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศหนึ่งๆย่อยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง และ ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสภำพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอำศัยอยู่ - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงกำยภำพ 1. อุณหภูมิ 2. แสง 3. ควำมชื้น 4. ดิน 5. แก๊ส 6. ควำมเป็นกรดเป็นเบสของดินและน้ำ - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงชีวภำพ 1. ภำวะพึ่งพำกัน 2. กำรได้รับประโยชน์ร่วมกัน 3. ภำวะอิงอำศัย 4. กำรล่ำเหยื่อ 5. ภำวะปรสิต 6. ภำวะแก่งแย่งแข่งขัน 4. สาระการเรียนรู้ ควำมรู้ (K) อธิบำยควำมสำคัญของรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆ
  • 16. ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรเปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบ นิเวศแบบต่ำงๆกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การใช้เทคโนโลยี ,การคิด และทักษะชีวิต 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “สิ่งมีชีวิตที่อำศัยในไบโอมต่ำงๆมีรูปร่ำงลักษณะและกำร ดำรงชีวิตที่แตกต่ำงกันอะไรเป็นสำเหตุให้เป็นเช่นนั้น” แนวตอบ คือ รูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆแตกต่ำงกันจึงทำให้ สิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องปรับตัวให้เหมำะสมเพื่อควำมอยู่รอด ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “รูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศ” ว่ำ - สิ่งมีชีวิตที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศหนึ่งๆย่อยมีควำมสัมพันธ์ซึ่งกันระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง และ ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับสภำพแวดล้อมที่สิ่งมีชีวิตนั้นอำศัยอยู่ - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงกำยภำพ 1. อุณหภูมิ เช่น กำรออกหำกินเวลำกลำงคืนของสัตว์ทะเลทรำย 2. แสง เช่น กำรโค้งงอปลำยยอดพืชเข้ำหำแสง 3. ควำมชื้น เช่น ใบหนำมของต้นกระบองเพชร
  • 17. 4. ดิน เช่น กำรกินดินโป่งของสัตว์ป่ำ 5. แก๊ส เช่น กระบวนกำรหำยใจและสังเครำะห์แสง 6. ควำมเป็นกรดเป็นเบสของดินและน้ำ คือ ชนิดของพืชที่มีควำมแตกต่งกัน - ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทำงชีวภำพ 1. ภำวะพึ่งพำกัน (+,+) เช่น ไลเคนส์ 2. กำรได้รับประโยชน์ร่วมกัน (+,+) เช่น นกเอี้ยงกับควำย 3. ภำวะอิงอำศัย (+,0) เช่น กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ 4. กำรล่ำเหยื่อ (+,-) เช่น สิงโตกับกวำง 5. ภำวะปรสิต (+,-) เช่น พยำธิกับคน 6. ภำวะแก่งแย่งแข่งขัน (-,-) เช่น การต่อสู้ระหว่างสิงโตทะเลเพศผู้ นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมสำคัญและกำรเปรียบเทียบ รูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์ ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมสำคัญและกำรเปรียบเทียบรูปแบบควำมสัมพันธ์ในระบบนิเวศแบบต่ำงๆ อีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
  • 18. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญและกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรใน ระบบนิเวศอีกทั้งสำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง 2.2 เขียนแผนภำพกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง 2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศมีควำมสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเป็นอย่ำง มำกเพรำะสำรต่ำงๆในระบบนเวศไม่มีกำรสูญหำยแต่มีกำรหมุนเวียนนำมำใช้ใหม่ในสิ่งมีชีวิตเป็นเป็นวัฏจักร ทำให้ระบบนิเวศเกิดควำมสมดุลทำงธรรมชำติ - กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศ 1. ห่วงโซ่อำหำร 2. สำยใยอำหำร - กำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ 1. วัฏจักรคำร์บอน 2. วัฏจักรไนโตรเจน 3. วัฏจักรฟอสฟอรัส 4. วัฏจักรกำมะถัน
  • 19. 4. สาระการเรียนรู้ ควำมรู้ (K) กำรอธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำร ในระบบนิเวศ ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรเขียนแผนภำพกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำร หมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำร หมุนเวียนสำรในระบบนิเวศกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การใช้เทคโนโลยี ,การสื่อสาร และทักษะชีวิต 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ผู้ผลิต ผู้บริโถค และผู้สลำยสำรอินทรีย์ในโซ่อำหำรมี ควำมสัมพันธ์กันอย่ำงไร” แนวตอบ คือ กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศระหว่ำง ผู้ผลิต ผู้บริโถค และผู้สลำยสำรอินทรีย์ในโซ่อำหำร ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ” ว่ำ
  • 20. - กำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศมีควำมสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศเป็นอย่ำง มำกเพรำะสำรต่ำงๆในระบบนเวศไม่มีกำรสูญหำยแต่มีกำรหมุนเวียนนำมำใช้ใหม่ในสิ่งมีชีวิตเป็นเป็นวัฏจักร ทำให้ระบบนิเวศเกิดควำมสมดุลทำงธรรมชำติ - กำรถ่ำยทอดพลังงำนในระบบนิเวศ 1. ห่วงโซ่อำหำร 2. สำยใยอำหำร - กำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศ 1. วัฏจักรคำร์บอน 2. วัฏจักรไนโตรเจน 3. วัฏจักรฟอสฟอรัส 4. วัฏจักรกำมะถัน
  • 21. นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและ กระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียนสำรในระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิต ของมนุษย์ ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและกระบวนกำรถ่ำยทอดพลังงำนและกำรหมุนเวียน สำรในระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
  • 22. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 หน่วยกำรเรียนที่ 1 เรื่อง กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยา 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 6 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้ำใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงสิ่งมีชีวิต ต่ำงๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้และจิตวิทยำศำสตร์สื่อสำรสิ่งที่เรียนรู้และนำควำมรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญและเปรียบเทียบรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ นิเวศอีกทั้งสำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง 2.2 เปรียบเทียบรูปแบบต่ำงๆของกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศได้อย่ำงถูกต้อง 2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิตอย่ำงเหมำะสม 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - ในสภำพแวดล้อมหนึ่งๆพบว่ำเมื่อกำลเวลำผ่ำนไปอำจทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น กลุ่มสิ่งมีชีวิตเดิมที่เคยพบอำจสูญหำยไปกลำยเป็นอีกกลุ่มหนึ่งขึ้นมำแทน เรียกปรำกฎกำรณ์นี้ว่ำ กำร เปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ (ecological succession) - กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในสภำพแวดล้อมธรรมชำติจะมี 2 ลักษณะ คือ 1. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ (primary succession) 2. กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ (secondary succession) 4. สาระการเรียนรู้ ควำมรู้ (K) กำรอธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ นิเวศ ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรเปรียบเทียบรูปแบบต่ำงๆของกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ ระบบนิเวศ
  • 23. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบ นิเวศกับกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การสื่อสาร ,การใช้เทคโนโลยี ,การคิด และทักษะชีวิต 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “หลังจำกเกิดภัยธรรมชำติทำลำยระบบนิเวศที่มีอยู่เดิม นักเรียน คิดว่ำระบบนิเวศแห่งนี้จะฟื้นคืนสภำพได้หรือไม่และกลุ่มสิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร” แนวตอบ คือ ได้ เนื่องจำกระบบนิเวศมีกระบวนกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ เมื่อ กำลเวลำผ่ำนไปอำจทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ” ว่ำ - ในสภำพแวดล้อมหนึ่งๆพบว่ำเมื่อกำลเวลำผ่ำนไปอำจทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้น กลุ่มสิ่งมีชีวิตเดิมที่เคยพบอำจสูญหำยไปกลำยเป็นอีกกลุ่มหนึ่งขึ้นมำแทน เรียกปรำกฎกำรณ์นี้ว่ำ กำร เปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ (ecological succession)
  • 24. - กำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในสภำพแวดล้อมธรรมชำติจะมี 2 ลักษณะ คือ นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและกำร เปรียบเทียบรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตของมนุษย์ ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำย ควำมสำคัญและกำรเปรียบเทียบรูปแบบกำรเปลี่ยนแปลงแทนที่ ของระบบนิเวศอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในดำเนินชีวิตอย่ำงเหมำะสม 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.2 คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์
  • 25. แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 6 หน่วยกำรเรียนที่ 2 เรื่อง ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ รหัสวิชำ/รำยวิชำ ว 33244/ชีววิทยำ 4 ชั้น ม. 6 เวลำเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน นำยวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ************************************************************************************************** 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ว 2.2 ม.4-6/1 วิเครำะห์สภำพปัญหำ สำเหตุของปัญหำสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก ว 8.1 ใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และจิตวิทยำศำสตร์ในกำรสืบเสำะหำควำมรู้ กำรแก้ปัญหำ รู้ว่ำ ปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สำมำรถอธิบำยและตรวจสอบได้ ภำยใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลำนั้นๆ เข้ำใจว่ำ วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีควำม เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลกำรเรียนรู้ อธิบำยควำมหมำยและคำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรอีกทั้ง สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม 2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้ 2.1 อธิบำยควำมหมำยของควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรได้อย่ำงถูกต้อง 2.2 คำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรได้อย่ำงถูกต้อง 2.3 สำมำรถนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมได้อย่ำงถูกต้อง 3. สำระแกนกลำง / สำระสำคัญ - สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อำศัยอยู่บนโลกนี้ ล้วนต้องกำรสภำพแวดล้อมและปัจจัยทำงกำยภำพที่เหมำะสมต่อกำร ดำรงชีวิต - ควำมหนำแน่นของประชำกร หมำยถึง จำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมำตร สำมำรถ ประเมินได้ 2 วิธี คือ 1. กำรหำควำมหนำแน่นอย่ำงหยำบ 2. กำรหำควำมหนำแน่นเชิงนิเวศ - กำรแพร่กระจำยของประชำกรมีปัจจัยต่ำงๆที่ส่งผล ดังนี้ 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ 2. ปัจจัยทำงชีวภำพ 3. ปัจจัยอื่นๆ
  • 26. 4. สำระกำรเรียนรู้ ควำมรู้ (K) กำรอธิบำยควำมหมำย ควำมสำคัญของควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของ ประชำกร ทักษะ / กระบวนกำร (P) กำรคำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงควำมสำคัญของควำมหนำแน่นและกำร แพร่กระจำยของประชำกรกับกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม 5. สมรรถนะ กำรสื่อสำร ,กำรใช้เทคโนโลยี และกำรคิด 6. ชิ้นงำน / ภำระงำนที่แสดงผลกำรเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงำน ,ใบกิจกรรม และConcept map 7. กำรวัดและประเมินผล รำยกำรประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์กำรประเมินผล 1. สมุดบันทึกกำรเรียนกำร สอนประจำบทเรียน 2. ใบงำนแบบฝึกหัดทบทวน ประจำบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนนประจำ บทเรียน 4. แบบบันทึกกำรทำกิจกรรม ประจำบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกกำร เรียนกำรสอนประจำ บทเรียน 2. ตรวจใบงำนแบบฝึกหัด ทบทวนประจำบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบเก็บ คะแนนประจำบทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกกำรทำ กิจกรรมประจำบทเรียน 1. กำรสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหำที่ทำกำร เรียนกำรสอนประจำบทเรียน จริง 2. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยใบงำนแบบฝึกหัดประจำ บทเรียน 3. กำรตรวจสอบคำตอบกับคำ เฉลยแบบทดสอบประจำ บทเรียน 4. กำรตรวจแบบบันทึกกำร กิจกรรมประจำบทเรียน 1. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำ ควำมเป็นระเบียบ เรียบร้อยสวยงำมของกำรจด บันทึก 2. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 80% 3. ควำมถูกต้องของคำตอบ อย่ำงน้อยไม่ต่ำกว่ำ 50% 4. ควำมถูกต้อง ครบถ้วน ใน เนื้อหำกำรบันทึก ควำมเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงำมของ กำรจดบันทึก 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้ ขั้นนำ : ครูใช้คำถำมนำว่ำ “ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรขึ้นอยู่กับ ปัจจัยใดบ้ำง” แนวตอบ คือ ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรขึ้นอยู่กับ 3 ปัจจัย ดังนี้ คือ 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ 2. ปัจจัยทำงชีวภำพ 3. ปัจจัยอื่นๆ ขั้นสอน : ครูอธิบำยเนื้อหำ “ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกร” ว่ำ - สิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อำศัยอยู่บนโลกนี้ ล้วนต้องกำรสภำพแวดล้อมและปัจจัยทำงกำยภำพที่เหมำะสมต่อกำร ดำรงชีวิต
  • 27. - ควำมหนำแน่นของประชำกร หมำยถึง จำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมำตร สำมำรถ ประเมินได้ 2 วิธี คือ 1. กำรหำควำมหนำแน่นอย่ำงหยำบ (crude density) เป็นกำรหำจำนวนประชำกรต่อพื้นที่ทั้งหมด (total space) ที่ศึกษำ 2. กำรหำควำมหนำแน่นเชิงนิเวศ (ecological density) เป็นกำรหำจำนวนหรือมวลของประชำกร ต่อหน่วยพื้นที่ที่ประชำกรนั้นอำศัยอยู่จริง (habitat space) - กำรแพร่กระจำยของประชำกรมีปัจจัยต่ำงๆที่ส่งผล ดังนี้ 1. ปัจจัยทำงกำยภำพ เช่น ควำมสูงจำกระดับน้ำทะเล อุณหภูมิ แสง ควำมชื้น ควำมเป็นกรด-เบส 2. ปัจจัยทำงชีวภำพ (กำรอำศัยอยู่ร่วมกันและเกิดปฏิสัมพันธ์กันในรูปแบบต่ำงๆระหว่ำงสิ่งมีชีวิต) 3. ปัจจัยอื่นๆ เช่น กำรที่สภำพภูมิศำสตร์เป็นทะเล ทะเลทรำย และเทือกเขำสูง สิ่งเหล่ำนี้จะเป็น กำแพงขวำงกั้นหรือกีดขวำงระหว่ำงสิ่งมีชีวิต นักเรียนร่วมแสดงควำมคิดเห็นและซักถำมข้อสงสัยเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรคำนวณหำ ควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของประชำกรอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในกำรศึกษำระบบนิเวศและ สิ่งแวดล้อม ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปควำมรู้เป็น concept map และทำใบงำนเพื่อ ตรวจสอบควำมเข้ำใจเกี่ยวกับควำมหมำยและกำรคำนวณหำควำมหนำแน่นและกำรแพร่กระจำยของ ประชำกรอีกทั้งกำรนำมำประยุกต์ใช้ในกำรศึกษำระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้เพิ่มเติม ชีววิทยำ 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร 9.2 คู่มือครูชีววิทยำ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ผู้แต่ง สสวท. กระทรวงศึกษำธิกำร 9.3 ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.4 ห้องศูนย์สื่อกลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ 9.5 ห้องสืบค้น โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์