SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง สารและการจาแนกสาร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
นางเกษรินทร์ กาญจณะดี
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ
โรงเรียนวัดเขาขุนพนม ตาบลบ้านเกาะ อาเภอพรหมคีรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สารและการจาแนกสาร
จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รหัสวิชา ว21101 รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ผู้จัดทา
ได้รวบรวมและเรียบเรียง เนื้อหาสาระ โดยยึดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียน และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง
ซึ่งชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ มีทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชุดที่ 2 เรื่อง การจาแนกสาร
ชุดที่ 3 เรื่อง สารเนื้อผสม
ชุดที่ 4 เรื่อง สารเนื้อเดียว
ชุดที่ 5 เรื่อง สารละลาย
ชุดที่ 6 เรื่อง สารละลายกรด-เบส
สาหรับชุดนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และช่วยให้ครูผู้สอนสามารถใช้พัฒนาการเรียนการสอน ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
เกษรินทร์ กาญจณะดี
คำนำ
ข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
เรื่อง หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ง
คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1
คาชี้แจงสาหรับผู้สอน 3
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 4
ผังมโนทัศน์สาระสาคัญหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 5
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ 6
และจุดประสงค์การเรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน 8
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของสสารและสาร 10
ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของสสารและสาร 12
ใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสาร 13
ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสาร 17
ใบความรู้ที่ 1.3 เรื่อง สถานะของสาร 18
ใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถานะของสาร 20
ใบความรู้ที่ 1.4 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน 21
ใบกิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง การทดลองอุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า 24
แบบทดสอบหลังเรียน 27
บรรณานุกรม 29
ภาคผนวก 30
-กระดาษคาตอบก่อนเรียน/หลังเรียน 31
-เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 32
-เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของสสารและสาร 33
-เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสาร 34
-เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถานะของสาร 35
สำรบัญ
ค
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
เรื่อง หน้ำ
-เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง การทดลองอุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า 36
สำรบัญ (ต่อ)
ง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ภำพที่ หน้ำ
ภาพที่ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสสาร 10
ภาพที่ 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสสาร 10
ภาพที่ 1.3 คนและสัตว์ เป็นสสาร 10
ภาพที่ 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสสาร 10
ภาพที่ 1.5 ดอกไม้ เป็นสาร 11
ภาพที่ 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร 11
ภาพที่ 1.7 จักรยาน เป็นสาร 11
ภาพที่ 1.8 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ 14
ภาพที่ 1.9 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี 15
ภาพที่ 1.10 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง 18
ภาพที่ 1.11 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง 18
ภาพที่ 1.12 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว 19
ภาพที่ 1.13 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของเหลว 19
ภาพที่ 1.14 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 19
ภาพที่ 1.15 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของแก๊ส 19
ภาพที่ 1.16 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร 22
ภาพที่ 1.17 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส 23
ภาพที่ 1.18 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง 23
สำรบัญภำพ
1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจาแนกสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร มีรายละเอียดดังนี้
1. ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง สำรและกำรจำแนกสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1
มีทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชุดที่ 2 เรื่อง การจาแนกสาร
ชุดที่ 3 เรื่อง สารเนื้อผสม
ชุดที่ 4 เรื่อง สารเนื้อเดียว
ชุดที่ 5 เรื่อง สารละลาย
ชุดที่ 6 เรื่อง สารละลายกรด-เบส
2. ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้แต่ละชุดมีส่วนประกอบ ดังนี้
2.1 คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมสาหรับครู
2.2 คาชี้แจงสาหรับครู
2.3 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
2.4 ผังมโนทัศน์สาระสาคัญหน่วยการเรียนรู้ที่ 5
2.5 สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
2.6 แบบทดสอบก่อนเรียน
2.7 ใบความรู้
2.8 ใบกิจกรรม
2.9 แบบทดสอบหลังเรียน
2.10 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
2.11 เฉลยใบกิจกรรม
คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
เรื่อง สำรและกำรจำแนกสำร มัธยมศึกษำปีที่ 1
ชุดที่ 2 เรื่อง กำรจำแนกสำร
2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
3. ข้อปฏิบัติในกำรใช้ชุดกิจกรรม
3.1 ขั้นเตรียมการสอน
o ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมให้เข้าใจก่อนอย่างละเอียดรอบคอบ
o ศึกษาสาระสาคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่จะสอน และขั้นตอนต่างๆ
ในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจชัดเจนเสียก่อน
o ตรวจดูอุปกรณ์ต่างๆ ในชุดกิจกรรมว่ามีครบตามที่ระบุไว้หรือไม่ และอยู่ในสภาพ
ที่ใช้งานได้หรือไม่
o จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ให้เป็นไปตามลาดับการใช้ก่อนหลัง
3.2 ขั้นสอน
o สร้างความสนใจและให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
o ดาเนินการกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้ (5Es) ดังนี้
1. ขั้นสร้างความสนใจ เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจซึ่งอาจเกิดขึ้นเอง
จากความสงสัย ความสนใจของนักเรียนเอง หรือการอภิปรายกลุ่ม
2. ขั้นสารวจและค้นหา เมื่อทาความเข้าใจในประเด็นหรือคาถามที่สนใจจะศึกษา
แล้วก็วางแผนกาหนดแนวทางการสารวจ ตรวจสอบตั้งสมมุติฐาน กาหนดแนวทางเลือกที่เป็นไปได้
ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบ
แล้วจึงนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล
4. ขั้นขยายความรู้ เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือ
แนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม ซึ่งจะช่วยเชื่อมโยงกับเรื่องต่างๆ และทาให้เกิดความรู้กว้างขวางขึ้น
จากนั้นจึงนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นๆ
5. ขั้นประเมิน เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนมี
ความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด
o ครูคอยกากับติดตามและให้คาแนะนาปรึกษาแก่นักเรียนในระหว่างปฏิบัติ
กิจกรรม
o หลังการเรียนและสรุปบทเรียนแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
3.3 ขั้นหลังสอน
เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูให้นักเรียนร่วมตรวจสอบและเก็บ
อุปกรณ์ให้เรียบร้อย เพื่อสะดวกในการใช้ครั้งต่อไป
3
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สิ่งที่ครูควรปฏิบัติก่อน หลัง และขณะที่ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและ
การจาแนกสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
1. ครูควรศึกษาวิธีการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมการใช้สื่อและ
อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจน ค้นคว้าและอ่านเนื้อหา
ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
2. เตรียมการสอนล่วงหน้า เตรียมสถานที่ สื่อการสอนต่างๆ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่ได้
จัดไว้ในชุดกิจกรรมให้พร้อมก่อนที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้จริง
3. การจัดห้องเรียนแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จัดวางวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่
ใช้ในใบกิจกรรม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ไว้บนโต๊ะตาม
จานวนกลุ่มของนักเรียน
4. ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1
เรื่อง สสารและสาร ให้นักเรียนเข้าใจ
5. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
6. ครูดาเนินกิจกรรมการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ โดยใช้รูปแบบการเรียน
การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es)
7. ครูกากับติดตามการฝึกปฏิบัติกิจกรรมและให้คาปรึกษาแนะนานักเรียนระหว่าง
ปฏิบัติกิจกรรม
8. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนจบชุดกิจกรรมเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกชุด
เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจของนักเรียน
คำชี้แจงสำหรับครู
4
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงบทบาทของนักเรียน ดังนี้
1. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ล่วงหน้าก่อนที่จะทาการทดลอง หรือปฏิบัติ
กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี
วิธีการทดลอง ข้อควรปฏิบัติในการทดลอง เทคนิคการใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่างๆ
และสามารถทาการทดลองได้อย่างถูกวิธี ประหยัดเวลา และมีความปลอดภัย
2. เมื่อแบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้วให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานและเลขานุการกลุ่ม และแบ่งหน้าที่
ในการทางานโดยทุกคนต้องมีส่วนร่วม
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
4. วางแผน และจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการเรียนรู้ของตนเองหรือของกลุ่มให้พร้อม
สาหรับการปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
5. ตั้งใจศึกษาใบความรู้ ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนหรือคาชี้แจงของแต่ละกิจกรรมอย่าง
จริงจัง ระมัดระวังไม่เล่นขณะปฏิบัติกิจกรรม ตรงต่อเวลา และไม่เสียงดังรบกวนผู้อื่น
6. จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ให้เรียบร้อยทุกครั้งหลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ หากวัสดุอุปกรณ์ชารุด
เสียหายต้องแจ้งครูผู้สอนทราบทันที
7. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจอีกครั้งหนึ่ง
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
5
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ผังมโนทัศน์สำระสำคัญหน่วยกำรเรียนรู้ที่ 5
สสารและสาร
การจาแนกสาร
สารเนื้อผสม
สารเนื้อเดียว
สารละลาย
กรด-เบส
สารละลาย
สำรและ
กำรจำแนกสำร
 ว 3.1 ม.1/2
 ว 3.2 ม.1/2
 ว 3.2 ม.1/3
 ว 3.1 ม.1/1
 ว 3.1 ม.1/1
 ว 3.1 ม.1/1
 ว 3.2 ม.1/1
 ว 3.2 ม.1/2
 ว 3.2 ม.1/3 ว 3.1 ม.1/3
 ว 3.1 ม.1/4
6
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี สำระสำคัญ
สำระกำรเรียนรู้ และจุดประสงค์กำรเรียนรู้
ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสำรและสำร
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว3.1: เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว3.2: เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารการเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ว 3.1 ม.1/2 อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียง
อนุภาคของสาร
ว 3.2 ม.1/2 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร เมื่อสาร
เปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย
ว 3.2 ม.1/3 ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
ตัวชี้วัด
สำระ
7
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
เมื่อเราพิจารณารอบๆ ตัวเรา ทุกสิ่งล้วนเป็น “สสาร”เพราะสสารเป็นสิ่งที่มีตัวตน ต้องการที่อยู่
มีน้าหนัก สัมผัสได้ อาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้
และสสารที่สามารถระบุสมบัติได้จะเรียกว่า “สาร” นักวิทยาศาสตร์แบ่งสมบัติของสารออกเป็น
2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ สมบัติทางกายภาพ และ สมบัติทางเคมี ทั้งนี้เพื่อง่ายและสะดวกต่อการศึกษาสมบัติ
ของสารนั้นๆ
1. ความหมายของสสารและสาร
2. สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของสาร
3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
4. ตัวอย่างสารในชีวิตประจาวัน
1. อธิบายสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของสารได้
2. อธิบายสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสารได้
3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสารเมื่อสารเปลี่ยนสถานะได้
4. ทดลอง เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้าได้
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
สำระสำคัญ
สำระกำรเรียนรู้
8
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง
ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. สาร หมายถึงอะไร
ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม
ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
ค. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้
ง. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้
2. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร
ก. น้าหนัก
ข. สมบัติของสาร
ค. อัตราส่วนผสม
ง. การต้องการที่อยู่
3. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที
ก. ขี้เถ้า
ข. อากาศ
ค. สบู่เหลว
ง. นมข้นหวาน
4. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด
ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน
ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน
ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน
ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ
แบบทดสอบก่อนเรียน
กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 สสำรและสำร
9
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
5. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม
ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย
ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม
6. ข้อใดถูกต้อง
ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้
ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน
ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน
ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน
7. พลังงานประเภทใดที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นน้า คือข้อใด
ก. ดูดความร้อน
ข. คายความร้อน
ค. ความร้อนแฝง
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด
ก. เปลี่ยนสถานะ
ข. เปลี่ยนรูปร่าง
ค. เกิดสารละลาย
ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี
9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด
ก. ขี้เถ้า
ข. ตะกอน
ค. ผงแป้ง
ง. ฟองแก๊ส
10. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี
ก. การเกิดสนิมเหล็ก
ข. การละลายน้าของเกลือ
ค. ความหนาแน่นของสาร
ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง
10
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ควำมหมำยของสสำรและสำร
สสำร (matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้ด้วย
ประสาทสัมผัสทั้งห้า สสารอาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง (solid) ของเหลว (liquid) หรือแก๊ส (gas)
อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น อากาศ น้า ดิน อาหาร พืช สัตว์ เก้าอี้ หนังสือ
เครื่องจักรกล ฯลฯ ดังนั้น สิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในโลกล้วนเป็นสสารทั้งสิ้น
ภำพที่ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสสาร
บันทึกจำก: โครงการพระราชดาริ น้าพุร้อนสันกาแพง (2551)
ภำพที่ 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสสาร
บันทึกจำก: ตลาดสดนอกท่า จ.นครศรีธรรมราช (2557)
ภำพที่ 1.3 คนและสัตว์ เป็นสสาร
บันทึกจำก: หมู่บ้านจีนยูนนาน และโครงการพระราชดาริปาง
ตอง จ.แม่ฮ่องสอน (2558)
ภำพที่ 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสสาร
บันทึกจำก: ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จ. เชียงใหม่ (2551)
ใบควำมรู้ที่ 1.1
เรื่อง ควำมหมำยของสสำรและสำร
11
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ภำพที่ 1.7 จักรยาน เป็นสาร
บันทึกจำก: กิจกรรมปั่นเพื่อพ่อโรงเรียนวัดเขาขุนพนม จ.นครศรีธรรมราช (2557)
สำร (substance) คือ สสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอน
สารเป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก และต้องการที่อยู่เช่นเดียวกับสสาร
สสำรและสำร ต่างเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา มีน้าหนัก มีตัวตน
ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ แต่สสารไม่สามารถระบุสมบัติ
เฉพาะตัวได้ จึงกล่าวได้ว่าสิ่งที่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้คือสาร
และสารแต่ละชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างกัน
ภำพที่ 1.5 ดอกไม้ เป็นสาร
บันทึกจำก: สวนราชพฤกษ์ จ.เชียงใหม่ (2556)
ภำพที่ 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร
ที่มำ: ภาควิชาฟิสิกส์ ม.เทคโนโลยีราชมงคล (2555)
12
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ความหมายของสสารและสาร
สสาร คือ ……………………………………………………………………………………………………..…………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..…..
……………………………………………………………………………………………………………………………..…..
สาร คือ…………………………………………………………………………………………………….....................
……………………………………………………………………………………………………………………………..…..
……………………………………………………………………………………………………………………………..…..
2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
สิ่งที่เหมือนกัน…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..…..
สิ่งที่แตกต่างกัน……….………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………..…..
ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ควำมหมำยของสสำรและสำร
13
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สมบัติของสำร
สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบอกให้ทราบว่าสารนั้นคืออะไร
เพราะสารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงมีการใช้เกณฑ์การพิจารณาและอธิบายสมบัติของสารมา
จัดจาแนกสารออกเป็นหมวดหมู่เพื่อง่ายต่อการจดจา และสะดวกในการศึกษาสารนั้นๆ สมบัติของสาร
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี
สมบัติทำงกำยภำพ (physical properties)
เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากภายนอกโดยไม่เกี่ยวข้อง
กับปฏิกิริยาเคมี สมบัติทางกายภาพบางอย่างของสารเป็นสิ่งที่เรารู้สึกได้และบอกลักษณะได้ เช่น สี
กลิ่น รส สถานะ เนื้อสาร รูปผลึก การยอมให้แสงผ่าน ความเป็นมันวาว เป็นต้น แต่บางอย่างก็เป็นสิ่ง
ที่สังเกตได้โดยวัดจากการทดลอง เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น ความถ่วงจาเพาะ
การนาความร้อน การนาไฟฟ้า เป็นต้น
สมบัติทางกายภาพของสารเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งอาจเป็นการเปลี่ยนลักษณะหรือ
สถานะไป เนื่องจากการเรียงตัวใหม่ของสารเดิมเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมี
(สัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ) ของสารแต่อย่างใด ดังนั้นจะ ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น
การละลายน้าตาลทรายในน้า โมเลกุลของน้าตาลทรายจะแทรกไปน้าโมเลกุลของน้าโดยไม่มี
สมบัติของสาร
สมบัติทางกายภาพ
สมบัติทางเคมี
ใบควำมรู้ที่ 1.2
เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสำร
14
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของโมเลกุลของน้าตาลทรายและน้าแต่อย่างใด
การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น การเปลี่ยนแปลงของน้าแข็งที่ใส่แก้วทิ้งไว้
น้าแข็งจะค่อยๆ หลอมเหลวกลายเป็นน้า ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ไม่มีสารเกิดขึ้นใหม่
น้าแข็งที่กลายเป็นน้า ยังคงมีองค์ประกอบทางเคมีเหมือนเดิม
ภำพที่ 1.8 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ
ระเหิด
เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง
เป็นไอ
+ ละลำย
น้า เกลือ
น้าเกลือ
เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็น
สารละลาย
ลูกเหม็น
เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจาก
ของเหลวเป็นไอ
ระเหย
น้าเดือด
15
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สมบัติทำงเคมี (chemical properties)
เป็นสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารที่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อมี
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบภายใน และมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารด้วย ซึ่งสารใหม่ที่
เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง
การสังเคราะห์ด้วยแสง การเกิดฟองแก๊สจากการทาปฏิกิริยาเคมีของยีสต์ น้าตาล และน้าอุ่น เป็นต้น
ภำพที่ 1.9 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
ถ่านก่อนการเผาไหม้
การเผาไหม้
เหล็ก
อำกำศ น้ำ
การเกิดสนิม
ลักษณะสนิมเหล็ก
หลังการเผาไหม้
16
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
โดยทั่วๆ ไป การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพและ
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีควบคู่กันไป
ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพและ
กำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมีของสำร
กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพ
1. ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
2. องค์ประกอบทางเคมีของสารคงเดิม และไม่มี
สารใหม่เกิดขึ้น
3. พลังงานเคมีของสารคงเดิม
4. สารยังมีสมบัติต่างๆ คงเดิม
5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่ายเพราะเป็นการจัด
โมเลกุลของสารใหม่เท่านั้น
กำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมี
1. เกิดปฏิกิริยาเคมี
2. องค์ประกอบทางเคมีของสาร
เปลี่ยนแปลงไป และมีสารใหม่เกิดขึ้น
3. พลังงานเคมีของสารเปลี่ยนแปลงไป
4. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม
5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ยาก เพราะการจัด
โมเลกุลของสารเปลี่ยนแปลงไป
สำรตั้งต้น สำรผลิตภัณฑ์
โลหะโซเดียม +น้า  โซเดียมไฮดรอกไซด์ +แก๊สไฮโดรเจน
การเผาไหม้ของลูกเหม็น  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้า
การเผาไหม้ของไม้  น้า + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ตัวอย่ำงกำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมี
17
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงในช่องว่างในแต่ละข้อ
1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ.............................
…………………………………….…ของสาร
2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้
เกิดสารใหม่ คือ ………………………………………..ของสาร
3. การนาความร้อน เป็น………………………………..……………..ของสาร
4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น……………………………………………….ของสาร
5. ลักษณะผลึก เป็น……………………………………………ของสาร
6. ความหนาแน่น เป็น…………………………………………ของสาร
7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น…………………………………………..ของสาร
8. การเผาไหม้ เป็น…………………………………………ของสาร
9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น……………………………………………..ของสาร
10. การเปลี่ยนสถานะของสาร เป็น……………………………………………..ของสาร
สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี
ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสำร
18
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สถำนะของสำรสำมำรถแบ่งออกเป็น 3 สถำนะ คือ
1. ของแข็ง (solid) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงตามภาชนะ
อนุภาคชิดกันเป็นระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าของเหลวและ
แก๊ส
ภำพที่ 1.10 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง
ภำพที่ 1.11 ตัวอย่ำงสำรที่มีสถำนะเป็นของแข็ง
2. ของเหลว (liquid) คือ สารที่มีปริมาตรแน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงตาม
ภาชนะที่บรรจุ อนุภาคอยู่ใกล้เคียงกันแต่ไม่เป็นระเบียบ มีการชนกันตลอดเวลา จึงมีความหนาแน่นสูง
กว่าแก๊ส
ใบควำมรู้ที่ 1.3
เรื่อง สถำนะของสำร
ก้อนหิน ต้นไม้ เหล็กหนีบ
19
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ภำพที่ 1.12 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว
ภำพที่ 1.13 ตัวอย่ำงสำรที่มีสถำนะเป็นของเหลว
3. แก๊ส (gas) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ
เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จึงฟุ้งกระจายได้เต็มภาชนะและมีความหนาแน่นต่า
ภำพที่ 1.14 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส
น้าในลาคลอง น้ามันพืช เครื่องดื่ม
อากาศ แก๊สหุ้งต้ม แก๊ส NGV
ภำพที่ 1.15 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของแก๊ส
20
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง สารที่อยู่ในสถานะต่างๆ มาอย่างน้อยสถานะละ 5 อย่าง
สถานะของแข็ง ได้แก่................................................................................................
สถานะของเหลว ได้แก่..............................................................................................
สถานะแก๊ส ได้แก่......................................................................................................
2. สารในชีวิตประจาวันที่เราพบเห็นทั้ง 3 สถานะ คือ ................................................
3. จงวาดภาพ และเขียนอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้
สถำนะ
ภำพแสดง
กำรจัดเรียงอนุภำค
อธิบำยกำรจัดเรียงอนุภำค
ของแข็ง
.........................................................................
.........................................................................
.........................................................................
.........................................................................
ของเหลว
.........................................................................
.........................................................................
.........................................................................
.........................................................................
แก๊ส
.........................................................................
.........................................................................
.........................................................................
.........................................................................
ใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถำนะชองสำร
21
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
กำรเปลี่ยนสถำนะกับกำรเปลี่ยนแปลงพลังงำน
กำรเปลี่ยนสถำนะของสำร (change of state) เป็นการทาให้ระยะห่างระหว่าง
โมเลกุลของสารเปลี่ยนแปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็นสารชนิดเดิม สูตรโมเลกุลคงเดิม
ในธรรมชาติสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ในสถานะใดสถานะหนึ่ง ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส
เราสามารถทาให้สารเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็นสถานะหนึ่งได้ และสามารถทาให้กลับมาอยู่ใน
สถานะเดิมได้อีก การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ใบควำมรู้ที่ 1.4
เรื่อง กำรเปลี่ยนสถำนะกับกำรเปลี่ยนแปลงพลังงำน
โมเลกุล (molecule) หมายถึง อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่ยังแสดง
สมบัติของสารนั้น และสามารถดารงตนอยู่เป็นอิสระได้
สูตรโมเลกุล (molecular formula) หมายถึง สัญลักษณ์หรือกลุ่มของ
สัญลักษณ์ที่เขียนแทน 1 โมเลกุลของสาร ทาให้ทราบว่าสารนั้นมีธาตุใดเป็น
องค์ประกอบบ้าง เช่น
P4 : ฟอสฟอรัส 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุฟอสฟอรัส 4 อะตอม
C6H12O6 : น้าตาลกลูโคส 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุ คาร์บอนไฮโดรเจน และ
ออกซิเจน จานวน 6,12 และ 6 อะตอมตามลาดับ
เกร็ดควำมรู้เสริมวิทย์
22
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
การเปลี่ยนสถานะของสารมีหลายรูปแบบ ได้แก่
1. สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เนื่องจากได้รับความร้อนทาให้อนุภาค
มีพลังงานจลน์ (ได้จากการเคลื่อนที่) เกิดการเคลื่อนไหวเร็วขึ้นมีการถ่ายเทพลังงานจลน์ให้กันและกัน
เมื่อถึงจุดจุดหนึ่งโมเลกุลก็จะเคลื่อนที่ห่างออกจากกันแรงยึดเหนี่ยวน้อยลง เรียกว่า กำรละลำย
กำรหลอมเหลว หรือ กำรหลอมละลำย
2. สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนพลังงานจลน์
เพิ่มขึ้นอนุภาคห่างกันจนไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกัน เรียกว่า กำรระเหย
3. สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนสูงจนแรงยึดเหนี่ยว
หลุดจากกัน เรียกว่า กำรระเหิด
4. สารเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว เช่น กระบวนการเกิดฝน (ไอน้า ระบบความเย็น
จะกลั่นตัวเป็น น้า) เรียกว่า กำรควบแน่น
5. สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง หรือแก๊สเป็นของแข็ง โดยจะมีการคาย
พลังงานออกมา ทาให้อนุภาคมีพลังงานในการสั่นน้อย อนุภาคจึงเรียงตัวแบบชิดกันมากขึ้น เรียกว่า
กำรแข็งตัว
ภำพที่ 1.16 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
การหลอมเหลว การระเหย/การกลายเป็นไอ
การควบแน่นการแข็งตัว
การระเหิด
23
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ตัวอย่างการเปลี่ยน
สถานะของสารที่พบในชีวิตประจาวัน ได้แก่ น้าแข็งหลอมเหลวกลายเป็นน้าและน้าได้รับความร้อน
กลายเป็นไอน้า เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานประเภทดูดควำมร้อน
ภำพที่ 1.17 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส
ในทางตรงกันข้าม เมื่อไอน้าเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็นน้าและน้าแข็ง เป็นการเปลี่ยนแปลง
พลังงานประเภทคำยควำมร้อน
ภำพที่ 1.18 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง
พลังงานความร้อนที่ใช้ไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของสารเรียกว่า ควำมร้อนแฝง
ถ้าเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอเรียกว่า ควำมร้อนแฝงของกำรกลำยเป็นไอ
ถ้าเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็นของเหลวเรียกว่า ควำมร้อนแฝงของกำรหลอมเหลว
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
ดูดความร้อน
การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ
การระเหิด
แก๊ส ของเหลว ของแข็ง
คายความร้อน
การควบแน่น การเยือกแข็ง
24
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การทดลองอุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า ตามวิธี
การทดลองที่ระบุไว้ด้านล่าง ออกแบบตารางบันทึกผล นาเสนอผลการทดลอง สรุปและอภิปรายผล
การทดลอง
สมำชิกในกลุ่ม
1. .......................................................... 4. ..........................................................
2. .......................................................... 5. ..........................................................
3. .......................................................... 6. ..........................................................
จุดประสงค์กำรทดลอง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
สมมติฐำนกำรทดลอง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ตัวแปรต้น........................................................................................................
ตัวแปรตำม......................................................................................................
ตัวแปรควบคุม................................................................................................
อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 cm³ 1 ใบ
2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน
3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด
4. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด
ใบกิจกรรมที่ 1.4
เรื่อง กำรทดลองอุณหภูมิกับกำรเปลี่ยนสถำนะของน้ำ
25
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน
สำรเคมี 1. น้าแข็งทุบละเอียด 10 cm3 2. น้ากลั่น 5 cm3
วิธีกำรทดลอง
1. ใส่น้าลงในบีกเกอร์ให้สูงจากก้นบีกเกอร์ประมาณ 1 เซนติเมตร
2. ใส่น้าแข็งบดลงในน้าจนกระทั่งน้าเพิ่มระดับสูงขึ้นจากก้นบีกเกอร์ 3 เซนติเมตร
3. จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ลงในบีกเกอร์เพื่อวัดอุณหภูมิผิวน้าผสมกับน้าแข็ง อ่านอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์
บันทึกอุณหภูมิที่เวลา 0 วินาที ซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้น
4. ให้ความร้อนแก่บีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาและบันทึกอุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที
แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของน้าผสมน้าแข็ง
5. เมื่อน้าเดือดให้ต้มต่อไปอีก 3นาที ดับตะเกียงแอลกอฮอล์แล้วตั้งอุปกรณ์ทิ้งไว้ให้เย็น
6. เขียนกราฟในกระดาษปรู๊ฟ แสดงผลข้อมูลในรูปของแผนภูมิเส้น
7. เขียนรายงานการทดลองตามรูปแบบที่กาหนดให้
ออกแบบตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
26
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สรุปผลกำรทดลอง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
อภิปรำยผลกำรทดลอง
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
เขียนกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอุณหภูมิของน้ำกับเวลำในขณะให้ควำมร้อน
27
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง
ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว
1. สาร หมายถึงอะไร
ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม
ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
ค. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้
ง. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้
2. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด
ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน
ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน
ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน
ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ
3. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร
ก. น้าหนัก
ข. อัตราส่วนผสม
ค. สมบัติของสาร
ง. การต้องการที่อยู่
4. พลังงานประเภทใดที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นน้า คือข้อใด
ก. ดูดความร้อน
ข. คายความร้อน
ค. ความร้อนแฝง
ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
แบบทดสอบหลังเรียน
กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 สสำรและสำร
28
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
5. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที่
ก. ขี้เถ้า
ข. อากาศ
ค. สบู่เหลว
ง. นมข้นหวาน
6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี
ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม
ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย
ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม
7. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี
ก. การเกิดสนิมเหล็ก
ข. ความหนาแน่นของสาร
ค. การละลายน้าของเกลือ
ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง
8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด
ก. เปลี่ยนสถานะ
ข. เปลี่ยนรูปร่าง
ค. เกิดสารละลาย
ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี
9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด
ก. ขี้เถ้า
ข. ตะกอน
ค. ผงแป้ง
ง. ฟองแก๊ส
10. ข้อใดถูกต้อง
ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้
ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน
ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน
ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน
29
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
การดูด-การคายความร้อน. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก
http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=29884
บัญชา แสนทวี. (2553). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
บัญญัติ ลายพยัคฆ์ และชนินทร์ทิพย์ ลายพยัคฆ์. (2549). กรอบมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้
หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ 1991.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2553).หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ:
พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พ.ว.).
ภาควิชาฟิสิกส์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (ม.ป.ป.). หิน และ แร่ธาตุ. สืบค้นเมื่อ 18
พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.atom.rmutphysics.com/
charud/scibook/earth-space/index26question.htm
ยุพา วรยศ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1.
กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
วิชาการ, กรม. (2553). การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
วิชาญ เลิศลพ และคณะ. (2553). กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
กรุงเทพฯ: ประสานมิตร.
วีรวรรณ มหาวีโร และคณะ. (2532). วิทยาศาสตร์บรรยาย ม.ต้น. กรุงเทพฯ: แม็ค.
บรรณำนุกรม
30
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ภำคผนวก
31
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ชื่อ-สกุล ........................................................................................................ชั้น .............. เลขที่ ..............
ข้อที่ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ลงชื่อ.............................................ผู้ประเมิน
(………………………………….)
เกณฑ์กำรวัดและประเมินผล ในแต่ละข้อ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน
ตอบผิด ให้ 0 คะแนน
กำรผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ขึ้นไป
ระดับคุณภำพ 9 - 10 คะแนน (ดีมาก) 7 - 8 คะแนน (ดี)
5 – 6 คะแนน (พอใช้) 0 - 4 คะแนน (ปรับปรุง)
กระดำษคำตอบก่อนเรียน/หลังเรียน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับคุณภาพ
คะแนนที่ได้
32
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
ข้อ 1. ค
ข้อ 2. ข
ข้อ 3. ข
ข้อ 4. ง
ข้อ 5. ง
ข้อ 6. ง
ข้อ 7. ก
ข้อ 8. ก
ข้อ 9. ง
ข้อ 10. ก
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 สสำรและสำร
ข้อ 1. ง
ข้อ 2. ง
ข้อ 3. ค
ข้อ 4. ก
ข้อ 5. ข
ข้อ 6. ง
ข้อ 7. ก
ข้อ 8. ก
ข้อ 9. ง
ข้อ 10. ง
33
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ความหมายของสสารและสาร
สสาร คือ สิ่งที่มีตัวตนมีน้าหนักต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้า อาจอยู่ในสถานะ
ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้
สาร คือ สารคือสสารที่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้ เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่
และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้าอาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิต
หรือไม่มีชีวิตก็ได้
2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
สิ่งที่เหมือนกัน
เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้าอาจอยู่ในสถานะ
ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้
สิ่งที่แตกต่างกัน
สสารเป็นสิ่งที่ไม่สามารถระบุสมบัติเฉพาะได้ แต่สารสามารถระบุสมบัติเฉพาะตัว
ของสารนั้นๆ ได้
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ควำมหมำยของสสำรและสำร
34
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงในช่องว่างในแต่ละข้อ
1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ
สมบัติทางกายภาพ ของสาร
2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้
เกิดสารใหม่ คือ สมบัติทางเคมี ของสาร
3. การนาความร้อน เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร
5. ลักษณะผลึก เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
6. ความหนาแน่น เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร
8. การเผาไหม้ เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร
9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
10. การเปลี่ยนสถานะของสารเป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร
สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสำร
35
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง สารที่อยู่ในสถานะต่างๆ มาอย่างน้อยสถานะละ 5 อย่าง
สถานะของแข็ง ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี น้าแข็ง ก้อนหิน ไม้ เป็นต้น
สถานะของเหลว ได้แก่ น้าเชื่อม น้าเกลือ น้ามะพร้าว น้าปลา น้าอัดลม เป็นต้น
สถานะแก๊ส ได้แก่ แก๊สหุงต้ม อากาศ แก๊ส NGV แก๊สไนโตรเจน แก๊สมีเทน เป็นต้น
2. สารในชีวิตประจาวันที่เราพบเห็นทั้ง 3 สถานะ คือ น้า
3. จงวาดภาพ และเขียนอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้
สถำนะ
ภำพแสดง
กำรจัดเรียงอนุภำค
อธิบำยกำรจัดเรียงอนุภำค
ของแข็ง
มี รูป ร่างแ ละ ป ริม าต รที่ แ น่ น อ น
ไม่เปลี่ยนแปลงตามภาชนะ อนุภาคชิดกันเป็น
ระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลสูง
ของเหลว
มีปริมาตรแน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอน
เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคอยู่
ใกล้เคียงกันแต่ไม่เป็นระเบียบ มีการชนกัน
ตลอดเวลา จึงมีความหนาแน่นสูงกว่าแก๊ส
แก๊ส
มีรูป ร่างและป ริมาตรไม่แน่ น อ น
เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุเพราะมีแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จึงฟุ้งกระจายได้
เต็มภาชนะและมีความหนาแน่นต่า
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถำนะของสำร
36
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า ตามวิธีการ
ทดลองที่ระบุไว้ด้านล่าง ออกแบบตารางบันทึกผลนาเสนอผลการทดลอง สรุปและอภิปรายผล
การทดลอง
สมำชิกในกลุ่ม
1. .......................................................... 4. ..........................................................
2. .......................................................... 5. ..........................................................
3. .......................................................... 6. ..........................................................
จุดประสงค์กำรทดลอง
เพื่อทดลองและอธิบายการเปลี่ยนสถานะของน้าเมื่อได้รับพลังงานความร้อน
สมมติฐำนกำรทดลอง
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให้สถานะของน้าเปลี่ยนแปลงไป
ตัวแปรต้น อุณหภูมิของน้า
ตัวแปรตำม สถานะของน้าที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อได้รับความร้อน
ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้าแข็ง ปริมาณน้ากลั่น
อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 cm³ 1 ใบ
2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน
3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด
4. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด
5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน
สำรเคมี 1. น้าแข็งทุบละเอียด 10 cm3 2. น้ากลั่น 5 cm3
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.4
เรื่อง กำรทดลองอุณหภูมิกับกำรเปลี่ยนสถำนะของน้ำ
37
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
วิธีกำรทดลอง
1. ใส่น้าลงในบีกเกอร์ให้สูงจากก้นบีกเกอร์ประมาณ 1 เซนติเมตร
2. ใส่น้าแข็งบดลงในน้าจนกระทั่งน้าเพิ่มระดับสูงขึ้นจากก้นบีกเกอร์ 3 เซนติเมตร
3. จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ลงในบีกเกอร์เพื่อวัดอุณหภูมิผิวน้าผสมกับน้าแข็ง อ่านอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์
บันทึกอุณหภูมิที่เวลา 0 วินาที ซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้น
4. ให้ความร้อนแก่บีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาและบันทึกอุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที
แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของน้าผสมน้าแข็ง
5. เมื่อน้าเดือดให้ต้มต่อไปอีก 3นาที ดับตะเกียงแอลกอฮอล์แล้วตั้งอุปกรณ์ทิ้งไว้ให้เย็น
6. เขียนกราฟในกระดาษปรู๊ฟ แสดงผลข้อมูลในรูปของแผนภูมิเส้น
7. เขียนรายงานการทดลองตามรูปแบบที่กาหนดให้
ออกแบบตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง
เวลา (s) อุณหภูมิ (๐C) ผลการสังเกต
0
30
60
90
120
150
180
210
…
ต่ออีก 3 นำที
อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
38
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
สรุปผลกำรทดลอง
น้าเมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะทาให้เกิดมีการเปลี่ยนแปลงสถานะ ที่อุณหภูมิ 0 ๐C
น้าแข็งจะหลอมเหลวกลายเป็นน้า ที่อุณหภูมิ 100 ๐C น้าจะระเหยกลายเป็นไอ
เขียนกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอุณหภูมิของน้ำกับเวลำในขณะให้ควำมร้อน
อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
เวลา (s)
อุณหภูมิ (๐
C)
0
-10
-20
-30
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
30 60 90 120 150 180 210 240 270 300 330 340
39
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
อภิปรำยผลกำรทดลอง
น้ามี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส อุณหภูมิที่สูงขึ้นทาให้น้าเปลี่ยนสถานะจาก
ของแข็งกลายเป็นของเหลว ณ จุดหลอมเหลว และจากของเหลวกลายเป็นแก๊ส ณ จุดเดือด พลังงาน
ที่ทาให้น้าเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งเป็นของเหลว และจากของเหลวกลายเป็นไอ คือ พลังงาน
ประเภทดูดความร้อน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร

More Related Content

What's hot

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 

What's hot (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...Ketsarin Prommajun
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บทpanida428
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อNirut Uthatip
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

Similar to ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร (20)

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ  ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแน...
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
7 E
7 E7 E
7 E
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร

  • 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจาแนกสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางเกษรินทร์ กาญจณะดี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนวัดเขาขุนพนม ตาบลบ้านเกาะ อาเภอพรหมคีรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร
  • 2. ก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สารและการจาแนกสาร จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รหัสวิชา ว21101 รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ผู้จัดทา ได้รวบรวมและเรียบเรียง เนื้อหาสาระ โดยยึดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียน และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง ซึ่งชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นี้ มีทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชุดที่ 2 เรื่อง การจาแนกสาร ชุดที่ 3 เรื่อง สารเนื้อผสม ชุดที่ 4 เรื่อง สารเนื้อเดียว ชุดที่ 5 เรื่อง สารละลาย ชุดที่ 6 เรื่อง สารละลายกรด-เบส สาหรับชุดนี้เป็นชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน และช่วยให้ครูผู้สอนสามารถใช้พัฒนาการเรียนการสอน ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เกษรินทร์ กาญจณะดี คำนำ
  • 3. ข ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร เรื่อง หน้ำ คานา ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ง คาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1 คาชี้แจงสาหรับผู้สอน 3 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 4 ผังมโนทัศน์สาระสาคัญหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 5 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ 6 และจุดประสงค์การเรียนรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน 8 ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของสสารและสาร 10 ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของสสารและสาร 12 ใบความรู้ที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสาร 13 ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสาร 17 ใบความรู้ที่ 1.3 เรื่อง สถานะของสาร 18 ใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถานะของสาร 20 ใบความรู้ที่ 1.4 เรื่อง การเปลี่ยนสถานะกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน 21 ใบกิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง การทดลองอุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า 24 แบบทดสอบหลังเรียน 27 บรรณานุกรม 29 ภาคผนวก 30 -กระดาษคาตอบก่อนเรียน/หลังเรียน 31 -เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 32 -เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ความหมายของสสารและสาร 33 -เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสาร 34 -เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถานะของสาร 35 สำรบัญ
  • 4. ค ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร เรื่อง หน้ำ -เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง การทดลองอุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า 36 สำรบัญ (ต่อ)
  • 5. ง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ภำพที่ หน้ำ ภาพที่ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสสาร 10 ภาพที่ 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสสาร 10 ภาพที่ 1.3 คนและสัตว์ เป็นสสาร 10 ภาพที่ 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสสาร 10 ภาพที่ 1.5 ดอกไม้ เป็นสาร 11 ภาพที่ 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร 11 ภาพที่ 1.7 จักรยาน เป็นสาร 11 ภาพที่ 1.8 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ 14 ภาพที่ 1.9 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี 15 ภาพที่ 1.10 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง 18 ภาพที่ 1.11 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง 18 ภาพที่ 1.12 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว 19 ภาพที่ 1.13 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของเหลว 19 ภาพที่ 1.14 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 19 ภาพที่ 1.15 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของแก๊ส 19 ภาพที่ 1.16 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร 22 ภาพที่ 1.17 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส 23 ภาพที่ 1.18 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง 23 สำรบัญภำพ
  • 6. 1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจาแนกสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร มีรายละเอียดดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง สำรและกำรจำแนกสำร ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 มีทั้งหมด 6 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชุดที่ 2 เรื่อง การจาแนกสาร ชุดที่ 3 เรื่อง สารเนื้อผสม ชุดที่ 4 เรื่อง สารเนื้อเดียว ชุดที่ 5 เรื่อง สารละลาย ชุดที่ 6 เรื่อง สารละลายกรด-เบส 2. ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้แต่ละชุดมีส่วนประกอบ ดังนี้ 2.1 คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมสาหรับครู 2.2 คาชี้แจงสาหรับครู 2.3 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 2.4 ผังมโนทัศน์สาระสาคัญหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 2.5 สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.6 แบบทดสอบก่อนเรียน 2.7 ใบความรู้ 2.8 ใบกิจกรรม 2.9 แบบทดสอบหลังเรียน 2.10 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 2.11 เฉลยใบกิจกรรม คำชี้แจงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ เรื่อง สำรและกำรจำแนกสำร มัธยมศึกษำปีที่ 1 ชุดที่ 2 เรื่อง กำรจำแนกสำร
  • 7. 2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร 3. ข้อปฏิบัติในกำรใช้ชุดกิจกรรม 3.1 ขั้นเตรียมการสอน o ศึกษาคาชี้แจงในการใช้ชุดกิจกรรมให้เข้าใจก่อนอย่างละเอียดรอบคอบ o ศึกษาสาระสาคัญและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่จะสอน และขั้นตอนต่างๆ ในแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจชัดเจนเสียก่อน o ตรวจดูอุปกรณ์ต่างๆ ในชุดกิจกรรมว่ามีครบตามที่ระบุไว้หรือไม่ และอยู่ในสภาพ ที่ใช้งานได้หรือไม่ o จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ให้เป็นไปตามลาดับการใช้ก่อนหลัง 3.2 ขั้นสอน o สร้างความสนใจและให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน o ดาเนินการกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ (5Es) ดังนี้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจซึ่งอาจเกิดขึ้นเอง จากความสงสัย ความสนใจของนักเรียนเอง หรือการอภิปรายกลุ่ม 2. ขั้นสารวจและค้นหา เมื่อทาความเข้าใจในประเด็นหรือคาถามที่สนใจจะศึกษา แล้วก็วางแผนกาหนดแนวทางการสารวจ ตรวจสอบตั้งสมมุติฐาน กาหนดแนวทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบ แล้วจึงนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล 4. ขั้นขยายความรู้ เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิมหรือ แนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม ซึ่งจะช่วยเชื่อมโยงกับเรื่องต่างๆ และทาให้เกิดความรู้กว้างขวางขึ้น จากนั้นจึงนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในเรื่องอื่นๆ 5. ขั้นประเมิน เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่านักเรียนมี ความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด o ครูคอยกากับติดตามและให้คาแนะนาปรึกษาแก่นักเรียนในระหว่างปฏิบัติ กิจกรรม o หลังการเรียนและสรุปบทเรียนแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 3.3 ขั้นหลังสอน เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน ครูให้นักเรียนร่วมตรวจสอบและเก็บ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย เพื่อสะดวกในการใช้ครั้งต่อไป
  • 8. 3 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สิ่งที่ครูควรปฏิบัติก่อน หลัง และขณะที่ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและ การจาแนกสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร 1. ครูควรศึกษาวิธีการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมการใช้สื่อและ อุปกรณ์ รวมทั้งวิธีวัดและประเมินผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจน ค้นคว้าและอ่านเนื้อหา ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม 2. เตรียมการสอนล่วงหน้า เตรียมสถานที่ สื่อการสอนต่างๆ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่ได้ จัดไว้ในชุดกิจกรรมให้พร้อมก่อนที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้จริง 3. การจัดห้องเรียนแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน จัดวางวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ ใช้ในใบกิจกรรม ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ไว้บนโต๊ะตาม จานวนกลุ่มของนักเรียน 4. ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ให้นักเรียนเข้าใจ 5. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนประจาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 6. ครูดาเนินกิจกรรมการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ โดยใช้รูปแบบการเรียน การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) 7. ครูกากับติดตามการฝึกปฏิบัติกิจกรรมและให้คาปรึกษาแนะนานักเรียนระหว่าง ปฏิบัติกิจกรรม 8. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนจบชุดกิจกรรมเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกชุด เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจของนักเรียน คำชี้แจงสำหรับครู
  • 9. 4 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงบทบาทของนักเรียน ดังนี้ 1. ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ล่วงหน้าก่อนที่จะทาการทดลอง หรือปฏิบัติ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ วัสดุ อุปกรณ์ และสารเคมี วิธีการทดลอง ข้อควรปฏิบัติในการทดลอง เทคนิคการใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่างๆ และสามารถทาการทดลองได้อย่างถูกวิธี ประหยัดเวลา และมีความปลอดภัย 2. เมื่อแบ่งกลุ่มเรียบร้อยแล้วให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานและเลขานุการกลุ่ม และแบ่งหน้าที่ ในการทางานโดยทุกคนต้องมีส่วนร่วม 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 4. วางแผน และจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการเรียนรู้ของตนเองหรือของกลุ่มให้พร้อม สาหรับการปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย 5. ตั้งใจศึกษาใบความรู้ ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนหรือคาชี้แจงของแต่ละกิจกรรมอย่าง จริงจัง ระมัดระวังไม่เล่นขณะปฏิบัติกิจกรรม ตรงต่อเวลา และไม่เสียงดังรบกวนผู้อื่น 6. จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ให้เรียบร้อยทุกครั้งหลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จ หากวัสดุอุปกรณ์ชารุด เสียหายต้องแจ้งครูผู้สอนทราบทันที 7. ทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจอีกครั้งหนึ่ง คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
  • 10. 5 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ผังมโนทัศน์สำระสำคัญหน่วยกำรเรียนรู้ที่ 5 สสารและสาร การจาแนกสาร สารเนื้อผสม สารเนื้อเดียว สารละลาย กรด-เบส สารละลาย สำรและ กำรจำแนกสำร  ว 3.1 ม.1/2  ว 3.2 ม.1/2  ว 3.2 ม.1/3  ว 3.1 ม.1/1  ว 3.1 ม.1/1  ว 3.1 ม.1/1  ว 3.2 ม.1/1  ว 3.2 ม.1/2  ว 3.2 ม.1/3 ว 3.1 ม.1/3  ว 3.1 ม.1/4
  • 11. 6 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัดชั้นปี สำระสำคัญ สำระกำรเรียนรู้ และจุดประสงค์กำรเรียนรู้ ชุดกิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสำรและสำร สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว3.1: เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว3.2: เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารการเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 3.1 ม.1/2 อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียง อนุภาคของสาร ว 3.2 ม.1/2 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร เมื่อสาร เปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย ว 3.2 ม.1/3 ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร มำตรฐำนกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด สำระ
  • 12. 7 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร เมื่อเราพิจารณารอบๆ ตัวเรา ทุกสิ่งล้วนเป็น “สสาร”เพราะสสารเป็นสิ่งที่มีตัวตน ต้องการที่อยู่ มีน้าหนัก สัมผัสได้ อาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ และสสารที่สามารถระบุสมบัติได้จะเรียกว่า “สาร” นักวิทยาศาสตร์แบ่งสมบัติของสารออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ สมบัติทางกายภาพ และ สมบัติทางเคมี ทั้งนี้เพื่อง่ายและสะดวกต่อการศึกษาสมบัติ ของสารนั้นๆ 1. ความหมายของสสารและสาร 2. สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของสาร 3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร 4. ตัวอย่างสารในชีวิตประจาวัน 1. อธิบายสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของสารได้ 2. อธิบายสถานะของสารโดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาคของสารได้ 3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสารเมื่อสารเปลี่ยนสถานะได้ 4. ทดลอง เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้าได้ จุดประสงค์กำรเรียนรู้ สำระสำคัญ สำระกำรเรียนรู้
  • 13. 8 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. สาร หมายถึงอะไร ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ค. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้ ง. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ 2. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร ก. น้าหนัก ข. สมบัติของสาร ค. อัตราส่วนผสม ง. การต้องการที่อยู่ 3. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที ก. ขี้เถ้า ข. อากาศ ค. สบู่เหลว ง. นมข้นหวาน 4. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ แบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 สสำรและสำร
  • 14. 9 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร 5. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม 6. ข้อใดถูกต้อง ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้ ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน 7. พลังงานประเภทใดที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นน้า คือข้อใด ก. ดูดความร้อน ข. คายความร้อน ค. ความร้อนแฝง ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด ก. เปลี่ยนสถานะ ข. เปลี่ยนรูปร่าง ค. เกิดสารละลาย ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี 9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด ก. ขี้เถ้า ข. ตะกอน ค. ผงแป้ง ง. ฟองแก๊ส 10. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี ก. การเกิดสนิมเหล็ก ข. การละลายน้าของเกลือ ค. ความหนาแน่นของสาร ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง
  • 15. 10 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ควำมหมำยของสสำรและสำร สสำร (matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่และสามารถสัมผัสได้ด้วย ประสาทสัมผัสทั้งห้า สสารอาจจะมีสถานะเป็นของแข็ง (solid) ของเหลว (liquid) หรือแก๊ส (gas) อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น อากาศ น้า ดิน อาหาร พืช สัตว์ เก้าอี้ หนังสือ เครื่องจักรกล ฯลฯ ดังนั้น สิ่งต่างๆ ที่มีอยู่ในโลกล้วนเป็นสสารทั้งสิ้น ภำพที่ 1.1 คน อากาศ น้า ดิน ก้อนหิน เป็นสสาร บันทึกจำก: โครงการพระราชดาริ น้าพุร้อนสันกาแพง (2551) ภำพที่ 1.2 ผัก ผลไม้ เป็นสสาร บันทึกจำก: ตลาดสดนอกท่า จ.นครศรีธรรมราช (2557) ภำพที่ 1.3 คนและสัตว์ เป็นสสาร บันทึกจำก: หมู่บ้านจีนยูนนาน และโครงการพระราชดาริปาง ตอง จ.แม่ฮ่องสอน (2558) ภำพที่ 1.4 ต้นข้าวในท้องนา เป็นสสาร บันทึกจำก: ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง จ. เชียงใหม่ (2551) ใบควำมรู้ที่ 1.1 เรื่อง ควำมหมำยของสสำรและสำร
  • 16. 11 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ภำพที่ 1.7 จักรยาน เป็นสาร บันทึกจำก: กิจกรรมปั่นเพื่อพ่อโรงเรียนวัดเขาขุนพนม จ.นครศรีธรรมราช (2557) สำร (substance) คือ สสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอน สารเป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก และต้องการที่อยู่เช่นเดียวกับสสาร สสำรและสำร ต่างเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา มีน้าหนัก มีตัวตน ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ แต่สสารไม่สามารถระบุสมบัติ เฉพาะตัวได้ จึงกล่าวได้ว่าสิ่งที่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้คือสาร และสารแต่ละชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างกัน ภำพที่ 1.5 ดอกไม้ เป็นสาร บันทึกจำก: สวนราชพฤกษ์ จ.เชียงใหม่ (2556) ภำพที่ 1.6 แร่ธาตุ เป็นสาร ที่มำ: ภาควิชาฟิสิกส์ ม.เทคโนโลยีราชมงคล (2555)
  • 17. 12 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของสสารและสาร สสาร คือ ……………………………………………………………………………………………………..……………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..….. ……………………………………………………………………………………………………………………………..….. สาร คือ……………………………………………………………………………………………………..................... ……………………………………………………………………………………………………………………………..….. ……………………………………………………………………………………………………………………………..….. 2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร สิ่งที่เหมือนกัน……………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..….. สิ่งที่แตกต่างกัน……….…………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………..….. ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ควำมหมำยของสสำรและสำร
  • 18. 13 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สมบัติของสำร สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบอกให้ทราบว่าสารนั้นคืออะไร เพราะสารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่เหมือนกัน ดังนั้นจึงมีการใช้เกณฑ์การพิจารณาและอธิบายสมบัติของสารมา จัดจาแนกสารออกเป็นหมวดหมู่เพื่อง่ายต่อการจดจา และสะดวกในการศึกษาสารนั้นๆ สมบัติของสาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี สมบัติทำงกำยภำพ (physical properties) เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากภายนอกโดยไม่เกี่ยวข้อง กับปฏิกิริยาเคมี สมบัติทางกายภาพบางอย่างของสารเป็นสิ่งที่เรารู้สึกได้และบอกลักษณะได้ เช่น สี กลิ่น รส สถานะ เนื้อสาร รูปผลึก การยอมให้แสงผ่าน ความเป็นมันวาว เป็นต้น แต่บางอย่างก็เป็นสิ่ง ที่สังเกตได้โดยวัดจากการทดลอง เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น ความถ่วงจาเพาะ การนาความร้อน การนาไฟฟ้า เป็นต้น สมบัติทางกายภาพของสารเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งอาจเป็นการเปลี่ยนลักษณะหรือ สถานะไป เนื่องจากการเรียงตัวใหม่ของสารเดิมเท่านั้น จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมี (สัดส่วนของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ) ของสารแต่อย่างใด ดังนั้นจะ ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น การละลายน้าตาลทรายในน้า โมเลกุลของน้าตาลทรายจะแทรกไปน้าโมเลกุลของน้าโดยไม่มี สมบัติของสาร สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ใบควำมรู้ที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสำร
  • 19. 14 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางเคมีของโมเลกุลของน้าตาลทรายและน้าแต่อย่างใด การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น การเปลี่ยนแปลงของน้าแข็งที่ใส่แก้วทิ้งไว้ น้าแข็งจะค่อยๆ หลอมเหลวกลายเป็นน้า ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ไม่มีสารเกิดขึ้นใหม่ น้าแข็งที่กลายเป็นน้า ยังคงมีองค์ประกอบทางเคมีเหมือนเดิม ภำพที่ 1.8 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ ระเหิด เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง เป็นไอ + ละลำย น้า เกลือ น้าเกลือ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็น สารละลาย ลูกเหม็น เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจาก ของเหลวเป็นไอ ระเหย น้าเดือด
  • 20. 15 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สมบัติทำงเคมี (chemical properties) เป็นสมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารที่แสดงออกมาให้เห็นเมื่อมี การเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยจะมีสารใหม่เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบภายใน และมีผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของสารด้วย ซึ่งสารใหม่ที่ เกิดขึ้นจะมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง การสังเคราะห์ด้วยแสง การเกิดฟองแก๊สจากการทาปฏิกิริยาเคมีของยีสต์ น้าตาล และน้าอุ่น เป็นต้น ภำพที่ 1.9 ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี ถ่านก่อนการเผาไหม้ การเผาไหม้ เหล็ก อำกำศ น้ำ การเกิดสนิม ลักษณะสนิมเหล็ก หลังการเผาไหม้
  • 21. 16 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร โดยทั่วๆ ไป การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสารสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพและ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีควบคู่กันไป ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพและ กำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมีของสำร กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพ 1. ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น 2. องค์ประกอบทางเคมีของสารคงเดิม และไม่มี สารใหม่เกิดขึ้น 3. พลังงานเคมีของสารคงเดิม 4. สารยังมีสมบัติต่างๆ คงเดิม 5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่ายเพราะเป็นการจัด โมเลกุลของสารใหม่เท่านั้น กำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมี 1. เกิดปฏิกิริยาเคมี 2. องค์ประกอบทางเคมีของสาร เปลี่ยนแปลงไป และมีสารใหม่เกิดขึ้น 3. พลังงานเคมีของสารเปลี่ยนแปลงไป 4. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม 5. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ยาก เพราะการจัด โมเลกุลของสารเปลี่ยนแปลงไป สำรตั้งต้น สำรผลิตภัณฑ์ โลหะโซเดียม +น้า  โซเดียมไฮดรอกไซด์ +แก๊สไฮโดรเจน การเผาไหม้ของลูกเหม็น  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้า การเผาไหม้ของไม้  น้า + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ตัวอย่ำงกำรเปลี่ยนแปลงทำงเคมี
  • 22. 17 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงในช่องว่างในแต่ละข้อ 1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ............................. …………………………………….…ของสาร 2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้ เกิดสารใหม่ คือ ………………………………………..ของสาร 3. การนาความร้อน เป็น………………………………..……………..ของสาร 4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น……………………………………………….ของสาร 5. ลักษณะผลึก เป็น……………………………………………ของสาร 6. ความหนาแน่น เป็น…………………………………………ของสาร 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น…………………………………………..ของสาร 8. การเผาไหม้ เป็น…………………………………………ของสาร 9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น……………………………………………..ของสาร 10. การเปลี่ยนสถานะของสาร เป็น……………………………………………..ของสาร สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสำร
  • 23. 18 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สถำนะของสำรสำมำรถแบ่งออกเป็น 3 สถำนะ คือ 1. ของแข็ง (solid) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงตามภาชนะ อนุภาคชิดกันเป็นระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าของเหลวและ แก๊ส ภำพที่ 1.10 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง ภำพที่ 1.11 ตัวอย่ำงสำรที่มีสถำนะเป็นของแข็ง 2. ของเหลว (liquid) คือ สารที่มีปริมาตรแน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอนเปลี่ยนแปลงตาม ภาชนะที่บรรจุ อนุภาคอยู่ใกล้เคียงกันแต่ไม่เป็นระเบียบ มีการชนกันตลอดเวลา จึงมีความหนาแน่นสูง กว่าแก๊ส ใบควำมรู้ที่ 1.3 เรื่อง สถำนะของสำร ก้อนหิน ต้นไม้ เหล็กหนีบ
  • 24. 19 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ภำพที่ 1.12 การจัดเรียงอนุภาคของของเหลว ภำพที่ 1.13 ตัวอย่ำงสำรที่มีสถำนะเป็นของเหลว 3. แก๊ส (gas) คือ สารที่มีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จึงฟุ้งกระจายได้เต็มภาชนะและมีความหนาแน่นต่า ภำพที่ 1.14 การจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส น้าในลาคลอง น้ามันพืช เครื่องดื่ม อากาศ แก๊สหุ้งต้ม แก๊ส NGV ภำพที่ 1.15 ตัวอย่างสารที่มีสถานะเป็นของแก๊ส
  • 25. 20 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง สารที่อยู่ในสถานะต่างๆ มาอย่างน้อยสถานะละ 5 อย่าง สถานะของแข็ง ได้แก่................................................................................................ สถานะของเหลว ได้แก่.............................................................................................. สถานะแก๊ส ได้แก่...................................................................................................... 2. สารในชีวิตประจาวันที่เราพบเห็นทั้ง 3 สถานะ คือ ................................................ 3. จงวาดภาพ และเขียนอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้ สถำนะ ภำพแสดง กำรจัดเรียงอนุภำค อธิบำยกำรจัดเรียงอนุภำค ของแข็ง ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ของเหลว ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... แก๊ส ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ......................................................................... ใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถำนะชองสำร
  • 26. 21 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร กำรเปลี่ยนสถำนะกับกำรเปลี่ยนแปลงพลังงำน กำรเปลี่ยนสถำนะของสำร (change of state) เป็นการทาให้ระยะห่างระหว่าง โมเลกุลของสารเปลี่ยนแปลงไป แต่องค์ประกอบของสารยังคงเป็นสารชนิดเดิม สูตรโมเลกุลคงเดิม ในธรรมชาติสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ในสถานะใดสถานะหนึ่ง ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส เราสามารถทาให้สารเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็นสถานะหนึ่งได้ และสามารถทาให้กลับมาอยู่ใน สถานะเดิมได้อีก การเปลี่ยนแปลงสถานะของสารเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ใบควำมรู้ที่ 1.4 เรื่อง กำรเปลี่ยนสถำนะกับกำรเปลี่ยนแปลงพลังงำน โมเลกุล (molecule) หมายถึง อนุภาคที่เล็กที่สุดของสารที่ยังแสดง สมบัติของสารนั้น และสามารถดารงตนอยู่เป็นอิสระได้ สูตรโมเลกุล (molecular formula) หมายถึง สัญลักษณ์หรือกลุ่มของ สัญลักษณ์ที่เขียนแทน 1 โมเลกุลของสาร ทาให้ทราบว่าสารนั้นมีธาตุใดเป็น องค์ประกอบบ้าง เช่น P4 : ฟอสฟอรัส 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุฟอสฟอรัส 4 อะตอม C6H12O6 : น้าตาลกลูโคส 1 โมเลกุล ประกอบด้วยธาตุ คาร์บอนไฮโดรเจน และ ออกซิเจน จานวน 6,12 และ 6 อะตอมตามลาดับ เกร็ดควำมรู้เสริมวิทย์
  • 27. 22 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร การเปลี่ยนสถานะของสารมีหลายรูปแบบ ได้แก่ 1. สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เนื่องจากได้รับความร้อนทาให้อนุภาค มีพลังงานจลน์ (ได้จากการเคลื่อนที่) เกิดการเคลื่อนไหวเร็วขึ้นมีการถ่ายเทพลังงานจลน์ให้กันและกัน เมื่อถึงจุดจุดหนึ่งโมเลกุลก็จะเคลื่อนที่ห่างออกจากกันแรงยึดเหนี่ยวน้อยลง เรียกว่า กำรละลำย กำรหลอมเหลว หรือ กำรหลอมละลำย 2. สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนพลังงานจลน์ เพิ่มขึ้นอนุภาคห่างกันจนไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกัน เรียกว่า กำรระเหย 3. สารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนสูงจนแรงยึดเหนี่ยว หลุดจากกัน เรียกว่า กำรระเหิด 4. สารเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว เช่น กระบวนการเกิดฝน (ไอน้า ระบบความเย็น จะกลั่นตัวเป็น น้า) เรียกว่า กำรควบแน่น 5. สารเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง หรือแก๊สเป็นของแข็ง โดยจะมีการคาย พลังงานออกมา ทาให้อนุภาคมีพลังงานในการสั่นน้อย อนุภาคจึงเรียงตัวแบบชิดกันมากขึ้น เรียกว่า กำรแข็งตัว ภำพที่ 1.16 แผนผังการเปลี่ยนสถานะของสาร ของแข็ง ของเหลว แก๊ส การหลอมเหลว การระเหย/การกลายเป็นไอ การควบแน่นการแข็งตัว การระเหิด
  • 28. 23 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร การเปลี่ยนสถานะของสารอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภทดูดพลังงาน ตัวอย่างการเปลี่ยน สถานะของสารที่พบในชีวิตประจาวัน ได้แก่ น้าแข็งหลอมเหลวกลายเป็นน้าและน้าได้รับความร้อน กลายเป็นไอน้า เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานประเภทดูดควำมร้อน ภำพที่ 1.17 กระบวนการดูดกลืนความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นแก๊ส ในทางตรงกันข้าม เมื่อไอน้าเปลี่ยนสถานะกลับมาเป็นน้าและน้าแข็ง เป็นการเปลี่ยนแปลง พลังงานประเภทคำยควำมร้อน ภำพที่ 1.18 กระบวนการคายความร้อนขณะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สกลายเป็นน้าแข็ง พลังงานความร้อนที่ใช้ไปเพื่อเปลี่ยนสถานะของสารเรียกว่า ควำมร้อนแฝง ถ้าเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็นไอเรียกว่า ควำมร้อนแฝงของกำรกลำยเป็นไอ ถ้าเปลี่ยนสถานะของแข็งเป็นของเหลวเรียกว่า ควำมร้อนแฝงของกำรหลอมเหลว ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ดูดความร้อน การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ การระเหิด แก๊ส ของเหลว ของแข็ง คายความร้อน การควบแน่น การเยือกแข็ง
  • 29. 24 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การทดลองอุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า ตามวิธี การทดลองที่ระบุไว้ด้านล่าง ออกแบบตารางบันทึกผล นาเสนอผลการทดลอง สรุปและอภิปรายผล การทดลอง สมำชิกในกลุ่ม 1. .......................................................... 4. .......................................................... 2. .......................................................... 5. .......................................................... 3. .......................................................... 6. .......................................................... จุดประสงค์กำรทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ สมมติฐำนกำรทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ตัวแปรต้น........................................................................................................ ตัวแปรตำม...................................................................................................... ตัวแปรควบคุม................................................................................................ อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 cm³ 1 ใบ 2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน 3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด 4. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด ใบกิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง กำรทดลองอุณหภูมิกับกำรเปลี่ยนสถำนะของน้ำ
  • 30. 25 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร 5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน สำรเคมี 1. น้าแข็งทุบละเอียด 10 cm3 2. น้ากลั่น 5 cm3 วิธีกำรทดลอง 1. ใส่น้าลงในบีกเกอร์ให้สูงจากก้นบีกเกอร์ประมาณ 1 เซนติเมตร 2. ใส่น้าแข็งบดลงในน้าจนกระทั่งน้าเพิ่มระดับสูงขึ้นจากก้นบีกเกอร์ 3 เซนติเมตร 3. จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ลงในบีกเกอร์เพื่อวัดอุณหภูมิผิวน้าผสมกับน้าแข็ง อ่านอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ บันทึกอุณหภูมิที่เวลา 0 วินาที ซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้น 4. ให้ความร้อนแก่บีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาและบันทึกอุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของน้าผสมน้าแข็ง 5. เมื่อน้าเดือดให้ต้มต่อไปอีก 3นาที ดับตะเกียงแอลกอฮอล์แล้วตั้งอุปกรณ์ทิ้งไว้ให้เย็น 6. เขียนกราฟในกระดาษปรู๊ฟ แสดงผลข้อมูลในรูปของแผนภูมิเส้น 7. เขียนรายงานการทดลองตามรูปแบบที่กาหนดให้ ออกแบบตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
  • 31. 26 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สรุปผลกำรทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ อภิปรำยผลกำรทดลอง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ เขียนกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอุณหภูมิของน้ำกับเวลำในขณะให้ควำมร้อน
  • 32. 27 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำสั่ง แบบทดสอบมีทั้งหมดจานวน 10 ข้อ แต่ละข้อมี 4 ตัวเลือกคือ ก ข ค และ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  เลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว 1. สาร หมายถึงอะไร ก. อนุภาคที่เรียกว่าอะตอม ข. ธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ค. อนุภาคที่มีขนาดเล็กแบ่งแยกไม่ได้ ง. เนื้อของสารซึ่งมีมวลและสัมผัสได้ 2. สาเหตุที่ต้องจัดจาพวกสารออกเป็นหมวดหมู่ คือข้อใด ก. สารแต่ละชนิดมีสมบัติต่างกัน ข. สารแต่ละชนิดมีสถานะต่างกัน ค. สารบางชนิดมีปฏิกิริยาคล้ายคลึงกัน ง. สะดวกในการศึกษาสมบัติของสารนั้นๆ 3. สสารและสารแตกต่างกันอย่างไร ก. น้าหนัก ข. อัตราส่วนผสม ค. สมบัติของสาร ง. การต้องการที่อยู่ 4. พลังงานประเภทใดที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งกลายเป็นน้า คือข้อใด ก. ดูดความร้อน ข. คายความร้อน ค. ความร้อนแฝง ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา แบบทดสอบหลังเรียน กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 สสำรและสำร
  • 33. 28 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร 5. สารในข้อใดมีปริมาณไม่คงที่ ก. ขี้เถ้า ข. อากาศ ค. สบู่เหลว ง. นมข้นหวาน 6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี ก. ไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น ข. พลังงานเคมีของสารคงเดิม ค. ทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ง่าย ง. สมบัติของสารใหม่แตกต่างจากสารเดิม 7. ข้อใดเป็นสมบัติทางเคมี ก. การเกิดสนิมเหล็ก ข. ความหนาแน่นของสาร ค. การละลายน้าของเกลือ ง. การหลอมเหลวของน้าแข็ง 8. เทียนไขละลายเมื่อได้รับความร้อนเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะใด ก. เปลี่ยนสถานะ ข. เปลี่ยนรูปร่าง ค. เกิดสารละลาย ง. เกิดปฏิกิริยาเคมี 9. ยีสต์ + น้าตาล + น้าอุ่น = สารใหม่ที่ได้คือข้อใด ก. ขี้เถ้า ข. ตะกอน ค. ผงแป้ง ง. ฟองแก๊ส 10. ข้อใดถูกต้อง ก. น้าไม่สามารถเปลี่ยนสถานะได้ ข. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อน ค. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการคายความร้อน ง. น้าสามารถเปลี่ยนสถานะได้โดยการดูดความร้อนและคายความร้อน
  • 34. 29 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร การดูด-การคายความร้อน. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=29884 บัญชา แสนทวี. (2553). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน วิทยาศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช. บัญญัติ ลายพยัคฆ์ และชนินทร์ทิพย์ ลายพยัคฆ์. (2549). กรอบมาตรฐานการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ หมวดวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ 1991. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2553).หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พ.ว.). ภาควิชาฟิสิกส์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (ม.ป.ป.). หิน และ แร่ธาตุ. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2555, จาก http://www.atom.rmutphysics.com/ charud/scibook/earth-space/index26question.htm ยุพา วรยศ. (2551). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. วิชาการ, กรม. (2553). การจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. วิชาญ เลิศลพ และคณะ. (2553). กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร. วีรวรรณ มหาวีโร และคณะ. (2532). วิทยาศาสตร์บรรยาย ม.ต้น. กรุงเทพฯ: แม็ค. บรรณำนุกรม
  • 36. 31 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ชื่อ-สกุล ........................................................................................................ชั้น .............. เลขที่ .............. ข้อที่ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชื่อ.............................................ผู้ประเมิน (………………………………….) เกณฑ์กำรวัดและประเมินผล ในแต่ละข้อ ตอบถูก ให้ 1 คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน กำรผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน ได้คะแนนทดสอบหลังเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ขึ้นไป ระดับคุณภำพ 9 - 10 คะแนน (ดีมาก) 7 - 8 คะแนน (ดี) 5 – 6 คะแนน (พอใช้) 0 - 4 คะแนน (ปรับปรุง) กระดำษคำตอบก่อนเรียน/หลังเรียน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ระดับคุณภาพ คะแนนที่ได้
  • 37. 32 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร ข้อ 1. ค ข้อ 2. ข ข้อ 3. ข ข้อ 4. ง ข้อ 5. ง ข้อ 6. ง ข้อ 7. ก ข้อ 8. ก ข้อ 9. ง ข้อ 10. ก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน กิจกรรมกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชุดที่ 1 สสำรและสำร ข้อ 1. ง ข้อ 2. ง ข้อ 3. ค ข้อ 4. ก ข้อ 5. ข ข้อ 6. ง ข้อ 7. ก ข้อ 8. ก ข้อ 9. ง ข้อ 10. ง
  • 38. 33 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของสสารและสาร สสาร คือ สิ่งที่มีตัวตนมีน้าหนักต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้า อาจอยู่ในสถานะ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ สาร คือ สารคือสสารที่สามารถระบุสมบัติเฉพาะตัวได้ เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้าอาจอยู่ในสถานะของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิต หรือไม่มีชีวิตก็ได้ 2. สสารและสาร เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร สิ่งที่เหมือนกัน เป็นสิ่งที่มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการที่อยู่ และสัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้งห้าอาจอยู่ในสถานะ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊สก็ได้ เป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ สิ่งที่แตกต่างกัน สสารเป็นสิ่งที่ไม่สามารถระบุสมบัติเฉพาะได้ แต่สารสามารถระบุสมบัติเฉพาะตัว ของสารนั้นๆ ได้ เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง ควำมหมำยของสสำรและสำร
  • 39. 34 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบที่ถูกต้องในกรอบที่กาหนด แล้วเติมคาตอบลงในช่องว่างในแต่ละข้อ 1. สมบัติเฉพาะตัวของสารแต่ละชนิด สามารถสังเกตได้ง่ายจากภาพนอก คือ สมบัติทางกายภาพ ของสาร 2. สมบัติของสารที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบภายในของสารเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทาให้ เกิดสารใหม่ คือ สมบัติทางเคมี ของสาร 3. การนาความร้อน เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 4. การเกิดสนิมเหล็ก เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร 5. ลักษณะผลึก เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 6. ความหนาแน่น เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 7. การสังเคราะห์ด้วยแสง เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร 8. การเผาไหม้ เป็น สมบัติทางเคมี ของสาร 9. การละลายของน้าตาลในน้า เป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร 10. การเปลี่ยนสถานะของสารเป็น สมบัติทางกายภาพ ของสาร สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง สมบัติเบื้องต้นของสำร
  • 40. 35 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่าง สารที่อยู่ในสถานะต่างๆ มาอย่างน้อยสถานะละ 5 อย่าง สถานะของแข็ง ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี น้าแข็ง ก้อนหิน ไม้ เป็นต้น สถานะของเหลว ได้แก่ น้าเชื่อม น้าเกลือ น้ามะพร้าว น้าปลา น้าอัดลม เป็นต้น สถานะแก๊ส ได้แก่ แก๊สหุงต้ม อากาศ แก๊ส NGV แก๊สไนโตรเจน แก๊สมีเทน เป็นต้น 2. สารในชีวิตประจาวันที่เราพบเห็นทั้ง 3 สถานะ คือ น้า 3. จงวาดภาพ และเขียนอธิบายการจัดเรียงอนุภาคของสารในสถานะต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้ สถำนะ ภำพแสดง กำรจัดเรียงอนุภำค อธิบำยกำรจัดเรียงอนุภำค ของแข็ง มี รูป ร่างแ ละ ป ริม าต รที่ แ น่ น อ น ไม่เปลี่ยนแปลงตามภาชนะ อนุภาคชิดกันเป็น ระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างโมเลกุลสูง ของเหลว มีปริมาตรแน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคอยู่ ใกล้เคียงกันแต่ไม่เป็นระเบียบ มีการชนกัน ตลอดเวลา จึงมีความหนาแน่นสูงกว่าแก๊ส แก๊ส มีรูป ร่างและป ริมาตรไม่แน่ น อ น เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุเพราะมีแรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จึงฟุ้งกระจายได้ เต็มภาชนะและมีความหนาแน่นต่า เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง สถำนะของสำร
  • 41. 36 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร คำชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลอง เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะของน้า ตามวิธีการ ทดลองที่ระบุไว้ด้านล่าง ออกแบบตารางบันทึกผลนาเสนอผลการทดลอง สรุปและอภิปรายผล การทดลอง สมำชิกในกลุ่ม 1. .......................................................... 4. .......................................................... 2. .......................................................... 5. .......................................................... 3. .......................................................... 6. .......................................................... จุดประสงค์กำรทดลอง เพื่อทดลองและอธิบายการเปลี่ยนสถานะของน้าเมื่อได้รับพลังงานความร้อน สมมติฐำนกำรทดลอง เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ทาให้สถานะของน้าเปลี่ยนแปลงไป ตัวแปรต้น อุณหภูมิของน้า ตัวแปรตำม สถานะของน้าที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อได้รับความร้อน ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้าแข็ง ปริมาณน้ากลั่น อุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 cm³ 1 ใบ 2. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน 3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลมและตะแกรงลวด 1 ชุด 4. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง 1 ชุด 5. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน สำรเคมี 1. น้าแข็งทุบละเอียด 10 cm3 2. น้ากลั่น 5 cm3 เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.4 เรื่อง กำรทดลองอุณหภูมิกับกำรเปลี่ยนสถำนะของน้ำ
  • 42. 37 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร วิธีกำรทดลอง 1. ใส่น้าลงในบีกเกอร์ให้สูงจากก้นบีกเกอร์ประมาณ 1 เซนติเมตร 2. ใส่น้าแข็งบดลงในน้าจนกระทั่งน้าเพิ่มระดับสูงขึ้นจากก้นบีกเกอร์ 3 เซนติเมตร 3. จุ่มเทอร์มอมิเตอร์ลงในบีกเกอร์เพื่อวัดอุณหภูมิผิวน้าผสมกับน้าแข็ง อ่านอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ บันทึกอุณหภูมิที่เวลา 0 วินาที ซึ่งเป็นเวลาเริ่มต้น 4. ให้ความร้อนแก่บีกเกอร์ด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาและบันทึกอุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที แล้วสังเกตผลการเปลี่ยนแปลงของน้าผสมน้าแข็ง 5. เมื่อน้าเดือดให้ต้มต่อไปอีก 3นาที ดับตะเกียงแอลกอฮอล์แล้วตั้งอุปกรณ์ทิ้งไว้ให้เย็น 6. เขียนกราฟในกระดาษปรู๊ฟ แสดงผลข้อมูลในรูปของแผนภูมิเส้น 7. เขียนรายงานการทดลองตามรูปแบบที่กาหนดให้ ออกแบบตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง เวลา (s) อุณหภูมิ (๐C) ผลการสังเกต 0 30 60 90 120 150 180 210 … ต่ออีก 3 นำที อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
  • 43. 38 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร สรุปผลกำรทดลอง น้าเมื่อได้รับพลังงานความร้อนจะทาให้เกิดมีการเปลี่ยนแปลงสถานะ ที่อุณหภูมิ 0 ๐C น้าแข็งจะหลอมเหลวกลายเป็นน้า ที่อุณหภูมิ 100 ๐C น้าจะระเหยกลายเป็นไอ เขียนกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงอุณหภูมิของน้ำกับเวลำในขณะให้ควำมร้อน อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน เวลา (s) อุณหภูมิ (๐ C) 0 -10 -20 -30 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 30 60 90 120 150 180 210 240 270 300 330 340
  • 44. 39 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เรื่อง สสารและสาร อภิปรำยผลกำรทดลอง น้ามี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส อุณหภูมิที่สูงขึ้นทาให้น้าเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งกลายเป็นของเหลว ณ จุดหลอมเหลว และจากของเหลวกลายเป็นแก๊ส ณ จุดเดือด พลังงาน ที่ทาให้น้าเปลี่ยนสถานะจากน้าแข็งเป็นของเหลว และจากของเหลวกลายเป็นไอ คือ พลังงาน ประเภทดูดความร้อน