SlideShare a Scribd company logo
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
ลาต้นและใบ (2)
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลาต้นและใบ (2)
• โครงสร้างภายในและภายนอกของลาต้น
• การจัดประเภทของลาต้น
• ความหมายและความสาคัญของใบ
• โครงสร้างภายในและภายนอกของใบ
• การจัดประเภทของใบ
โครงสร้างภายในและภายนอกของลาต้น
โครงสร้างภายในและภายนอกของลาต้น
• ลาต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก ลาต้นมีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมีตา ลา
ต้นทาหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้า
โครงสร้างภายในลาต้น
ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ : เมื่อตัดลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ยังอ่อนอยู่ตามขวาง แล้วนามาศึกษาจะพบลักษณะการเรียงตัวของ
ลาต้นและรากคล้ายกันและลาต้นมีการเรียงตัว ดังนี้
1) เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) อยู่ชั้นนอกสุด ปกติเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียว ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจเปลี่ยนแปลงไป
เป็นขน หนาม หรือเซลล์คุม ( Guard Cell ) ผิวด้านนอกของเอพิดอร์มิสมักมีสารพวกคิวทิน เคลือบอยู่เพื่อ
ป้องกันการระเหยของน้า
โครงสร้างภายในลาต้น
2) คอร์เทกซ์ ( Cortex ) มีอาณาเขตแคบกว่าในรากเซลล์ ส่วนนี้ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวกันหลายชั้น เซลล์พวก
นี้มักมีสีเขียวและสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วยนอกจากนี้ยังช่วยสะสมน้าและอาหารให้แก่พืช เซลล์ชั้นคอร์เทกซ์ที่อยู่ติดกับเอพิ
เดอร์มิสเป็นเซลล์เล็กๆ 2-3 แถว คือ เซลล์พวกคอลเลงคิมา และมีเซลล์สเกลอเรงคิมาแทรกอยู่ช่วยให้ลาต้นแข็งแรงขึ้น การแตกกิ่ง
ของพืชจะแตกในชั้นนี้เรียกว่า “ เอกโซจีนัสบรานชิ่ง ( Exogenous branching )” ซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งเป็น
เอนโดจีนัสบรานชิ่ง ชั้นในของคอร์เทกซ์ คือ เอนโดเดอร์มิสเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวในลาต้น พืชส่วนใหญ่มักเห็นชั้นเอนโด
เดอร์มิสได้ไม่ชัดเจนหรือไม่เห็นเลยซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งมีและเห็นชัดเจน เซลล์ที่ทาหน้าที่ในการหลั่งสาร ( Secretory
Cell ) เช่น เรซิน ( Resin ) น้ายาง ( Latex ) ก็อยู่ในชั้นนี้
คอร์เทกซ์ ( CORTEX )
โครงสร้างภายในลาต้น
3) สตีล ( Stele ) ในลาต้นฃั้นสองของสตีลจะแคบมากและแบ่งออกจากชั้นของคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจนนัก และแตกต่างจากใน
ราก ประกอบด้วย
3.1 มัดท่อลาเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเลม ด้านนอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน
โครงสร้างภายในลาต้น
3.2 วาสคิวลาร์เรย์ เป็นเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่อยู่ระหว่างมัดท่อลาเลียง เชื่อมต่อระหว่างคอร์เทกซ์และพิธ
โครงสร้างภายในลาต้น
3.3 พิธ อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของลาต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมาทาหน้าที่สะสมแป้งหรือสารต่างๆเช่น ผลึกแทนนิน
( Tannin ) พิธที่แทรกอยู่ในมัดท่อลาเลียงจะดูดคล้ายรัศมี เรียกว่า พิธเรย์ ( Pith Ray ) ทาหน้าที่สะสมอาหาร ช่วยลาเลียง
น้า เกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างของลาต้น
โครงสร้างภายในลาต้น
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตขั้นต้น ( Primary Growth ) เท่านั้น มีชั้นต่างๆเช่นเดียวกับพืช
ใบเลี้ยงคู่ต่างกันที่มัดท่อลาเลียงรวมกันเป็นกลุ่มๆประกอบด้วยเซลล์ค่อนข้างกลมขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ซึ่งได้แก่ไซเลมและเซลล์
เล็กๆ ด้านบนคือโฟลเอ็ม ส่วนทางด้านล่างของไซเลมเป็นช่องกลมๆเช่นกันคือช่องอากาศมัดท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะ
มีบันเดิลชีท ( Bundle Sheath ) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อพวกพาเรงคิมาที่มีแป้งสะสมหรืออาจเป็นเนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมามา
หุ้มล้อมรอบเอาไว้
โครงสร้างภายในลาต้น
กลุ่มของมัดท่อลาเลียงจะกระจายทุกส่วนของลาต้น แต่มักอยู่รอบนอกมากว่ารอบในและมัดท่อลาเลียงไม่มีเนื้อเยื่อเจริญ
ด้านข้างหรือแคมเบียมคั่นอยู่ พืชพวกนี้จึงเจริญเติบโตด้านข้างจากัด แต่มักจะสูงขึ้นได้มาก เนื่องจากพืชใบเลี้ยเดี่ยวมีเนื้อเยื่อ
เจริญบริเวณข้อทาให้ปล้องยืดยาวขึ้น ในพืชบางชนิดส่วนของพืชจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงอยู่กลางลาต้น เรียกว่า
“ ช่องพิธ ( Pith Cavity ) ” เช่น ในลาต้นของไผ่ หญ้า เป็นต้น
โครงสร้างภายในลาต้น
ในพืชพวกหมากผู้หมากเมีย และจันทน์ผา จะมีมัดท่อลาเลียงคล้ายพืชใบเลี้ยงคู่และมีแคมเบียมด้วยทาให้เจริญเติบโดทาง
ด้านข้างได้และยังสามารถสร้างคอร์กขึ้นได้เมื่อมีอายุมากขึ้น
ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่
1. มีข้อและปล้องเห็นได้ชัดเจน
2. ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา
3.มัดท่อน้าท่ออาหารกระจายไปทั่วลาต้น
4. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม
5. ส่วนมากไม่มีการเจริญขั้นที่สอง
6. ส่วนมากไม่มีวงปี
7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการในการทางาน
1. เห็นได้ไม่ชัดเจนนัก
2. มีกิ่งก้านสาขามาก
3. มัดท่อน้าท่ออาหารเรียงตัวเป็นวงรอบลาต้น
4. ส่วนมากมีแคมเบียม นอกจากพืชล้มลุกบางชนิดไม่มี
5. ส่วนมากมีการเจริญขั้นที่สองและเจริญไปเรื่อยๆ
สัมพันธ์กับความสูง
6. ส่วนมากมีวงปี
7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการทางานสั้น แต่จะมีการ
สร้างขึ้นมาทดแทนอยู่เรื่อยๆโดยแคมเบียม
ความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงคู่ที่มีเนื้อไม้เป็นการเจริญเติบโตเพื่อขยายขนาดทางด้านข้างจะมีวาสคิวลาร์แคมเบียมเกิดขึ้นตรงแนวระหว่าง
ไซเลม และโฟลเอ็มของการเจริญเติบโตขั้นแรก วาสคิวลาร์แคมเบียม จะแบ่งเซลล์สร้างเนื้อเยื่อไซเลมขั้นที่สองเพิ่มขึ้น
ทางด้านในและสร้างเนื้อเยื่อโฟลเอ็มขั้นที่สองเพิ่มขึ้นทางด้านนอก การแบ่งเซลล์ได้ไซเลมขั้นที่สองจะเกิดขึ้นเร็วกว่าการเกิด
โฟลเอ็มขั้นที่สอง ในพืชส่วนมากโฟลเอ็มขั้นแรกทางด้านนอกจะถูกโฟลเอ็มขั้นที่สองที่สร้างขึ้นใหม่เบียดจนสลายไปหมด
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่
ในรอบ 1 ปี วาสคิวลาร์แคมเบียมของพืชที่มีเนื้อไม้จะมีการแบ่งเซลล์สร้างไซเลมและโฟลเอ็มขั้นที่สองจานวนมากน้อยต่างกันในแต่
ละฤดูขึ้นอยู่กับปริมาณน้าและแร่ธาตุอาหาร ในฤดูที่สิ่งแวดล้อมอุดมสมบูรณ์ดี เช่น ฤดูฝน เซลล์ชั้นไซเลมจะเจริญเร็วมีขนาดใหญ่
ทาให้ได้ชั้นไซเลมกว้าง และมีสีจาง ส่วนในฤดูแล้งเซลล์ชั้นไซเลมจะเจริญช้ามีขนาดเล็กเบียดกันแน่นทาให้เห็นเป็นแถบแคบๆ และ
มีสีเข้ม ลักษณะดังกล่าวทาให้เนื้อไม้มีสีจางและมีสีเข้มสลับกันมองเห็นเป็นวงเรียกว่า วงปี (annual ring) ดังรูป
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่
ไซเลมที่มีอายุมากที่สุดจะอยู่ชั้นในสุดของลาต้น ถ้าเป็นลาต้นที่มีอายุมากๆ ไซเลมชั้นในจะไม่ทาหน้าที่ลาเลียงน้าอีกต่อไป แต่
จะทาหน้าที่ให้ความแข็งแรง และอาจสะสมสารอินทรีย์ต่างๆ มักมองเห็นไซเลมบริเวณนี้มีสีเข้มเรียกไซเลมบริเวณนี้
ว่า “ แก่นไม้ ( heart wood )”ซึ่งจะมีความแข็งแรงมากกว่าบริเวณอื่น แก่นม้นี้จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากไซเลมชั้น
ถัดออกมาที่มีอายุมากขึ้นและอุดตันกลายเป็นแก่นไม้เพิ่มขึ้น ส่วนไซเลมซึ่งอยู่รอบนอกซึ้งมีสีจางกว่าชั้นในก็ยังคงทาหน้าที่
ลาเลียงน้า และธาตุอาหารต่อไป เรียกชั้นนี้ว่า “ กระพี้ไม้ ( sap wood ) ” ชั้นกระพี้ไม้จะมีความหนาค่อนข้างคงที่
ทั้งกระพี้ไม้และแก่นไม้รวมกันเรียกว่า “เนื้อไม้ ( wood ) ” ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อไซเลมทั้งหมด
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่
เปลือกไม้ ( bark ) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากวาสคิวลาร์แคมเบียมออกไปข้างนอก ในลาต้นที่มีอายุน้อยเปลือกไม้ประกอบด้วย
เอพิเดอร์มิส คอร์เทกซ์ และโฟลเอ็ม ส่วนลาต้นที่มีอายุมากเอพิเดอร์มิสหลุดสลายไปเหลือแต่เนื้อเยื่อคอร์ก ( cork ) และ
คอร์กแคมเบียม ( cork cambium ) และอาจมีเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่เกิดจากการแบ่งตัวของคอร์กแคมเบียมรวมทั้ง
โฟลเอ็มครั้งที่สองที่สร้างขึ้นมาใหม่ ซึ่งทาหน้าที่ลาเลียงอาหารแทนโฟลเอ็มขั้นแรกที่ถูกเบียดสลายไป
การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่
ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ทั่วๆไปมักจะไม่มีกำรเจริญเติบโตขั้นที่สอง ยกเว้นพืชบำงชนิด เช่น หมำกผู้หมำกเมีย และจันทน์ผำ
เปลือกไม้ ( bark )
การจัดประเภทของลาต้น
ชนิดของลาต้น
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
1) ต้นไม้ยืนต้น (tree) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักต้นเดียว จากนั้นจึงแตกกิ่งก้านสาขาบริเวณยอด ลักษณะ
เนื้อแข็ง ลาต้นมีขนาดใหญ่ อายุยืนหลายปี
ชนิดของลาต้น
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
2) ต้นไม้พุ่ม (shrub) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักหลายต้น มักมีเนื้อไม้แข็งแต่มีขนาดเล็กว่าไม้ยืนต้น แตก
กิ่งก้านสาขาใกล้บริเวณผิวดิน
ชนิดของลาต้น
สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน
ลาต้นเหนือดิน (aerial stem)
3) ต้นไม้ล้มลุก (herb) เป็นต้นไม้ที่มีเนื้อไม้อ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใหญ่มีอายุปีเดียว บางชนิดอาจอยู่ได้
สองปี เมื่อครบวัฏจักรชีวิตจะตายไป ไม้ล้มลุกบางชนิดที่มีลาต้นอยู่ใต้ดิน เมื่อส่วนที่อยู่เหนือดินตายส่วนที่อยู่
ใต้ดินจะพักตัวอยู่และงอกในฤดูถัดไป
ชนิดของลาต้น
จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้
1) ลาต้นที่มีเนื้อไม้ (woody stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม
ชนิดของลาต้น
จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้
2) ลาต้นที่ไม่มีเนื้อไม้ (herbaceous stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภท ไม้ล้มลุก
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
1) ลาต้นเลื้อย (creeping stem หรือ prostate stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยไปตามผิวดินหรือผิวน้าและมี
รากงอกออกมาจากบริเวณข้อแล้วแทงลงดินเพื่อช่วยยึดลาต้น นอกจากนี้บริเวณข้อจะมีตาเจริญเป็นลาต้นแขนงยาวขนาน
ไปกับพื้นดินหรือผิวน้า ซึ่งจะงอกรากและลาต้นขึ้นใหม่ เรียกว่า ไหล (stolon หรือ runner) เช่น สตรอเบอรี
ผักบุ้ง ผักตบชวา
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
2) ลาต้นปีนป่ าย (climbing stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยหรือไต่ขึ้นที่สูง มีลาต้นอ่อน เป็นพวกไม้เถา (vine) ได้แก่
- ทไวเนอร์ (twiner) เป็นไม้เถาที่ปีนป่ ายขึ้นที่สูงโดยใช้ลาต้นพันกับหลักเป็นเกลียว เช่น ถั่วฝักยาว บางชนิดลาต้น
เปลี่ยนไปเป็นมือพัน (tendril) ยืดหดได้คล้ายลวดสปริง เช่น องุ่น
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
2) ลาต้นปีนป่ าย (climbing stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยหรือไต่ขึ้นที่สูง มีลาต้นอ่อน เป็นพวกไม้เถา (vine) ได้แก่
- รูตไคลม์เบอร์ (root climber) เป็นลาต้นที่ปีนป่ ายขึ้นที่สูงโดยงอกรากออกจากข้อยึดติดกับหลักหรือต้นไม้ เช่น พลู
พริกไทย
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
2) ลาต้นปีนป่ าย (climbing stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยหรือไต่ขึ้นที่สูง มีลาต้นอ่อน เป็นพวกไม้เถา (vine) ได้แก่
- ลาต้นหนาม (spine หรือ thorny stem) เป็นลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นหนามรวมทั้งขอเกี่ยวสาหรับปีนป่ ายขึ้น
ที่สูงและป้องกันอันตราย เช่น ส้ม
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
3) ฟีลโลเคลด (phylloclade) เป็นลาต้นที่มีลักษณะแบนจนกระทั่งคล้ายกับลักษณะของใบในพืชทั่ว ๆ ไป ลาต้นแบบนี้
ปกติจะทาหน้าที่ของใบด้วย คือ สังเคราะห์แสงดังนั้นพืชที่มีลาต้นแบบนี้จึงไม่มีใบหรือมีก็เล็กมาก เช่น ตะบองเพชร
ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ
3) แคลโดฟีลล์ (cladophyll) หรือ แคลโดด (cladode) เป็นลาต้นที่เปลี่ยนไปมีลักษณะคล้ายใบเช่นเดียวกันกับฟีล
โลเคลดแต่มักใช้กับกิ่งก้านที่เป็นเส้นเรียวเล็ก ทาหน้าที่แทนใบโดยมีสีเขียว สามารถสังเคราะห์แสงได้ เช่น หน่อไม้ฝรั่ง สน
ปฏิพัทธ์
ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM)
ลำต้นใต้ดินบำงชนิดมักมีผู้เข้ำใจผิดว่ำเป็นรำก ทั้งนี้เพรำะลำต้นเหล่ำนี้ไม่มีคลอโรฟีลล์ มีรำกเล็ก ๆ งอกออกมำ
ซึ่งคล้ำยกับรำกแขนงที่แตกออกมำจำกรำกแก้ว กำรที่จะพิจำรณำว่ำลำต้นใต้ดินไม่ใช่รำกสังเกตได้จำกลำต้น
เหล่ำนี้มีข้อและปล้องสั้น ๆ บำงทีก็มีตำอยู่ตำมข้อด้วย ลำต้นใต้ดินมีรูปร่ำงแตกต่ำงไปจำกลำต้นเหนือดิน ส่วน
ใหญ่ทำหน้ำที่สะสมอำหำร ได้แก่ ไรโซม ทูเบอร์ บัลบ์และคอร์ม
ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM)
1) ไรโซม (rhizome) เป็นลาต้นใต้ดินที่มักขนานไปกับผิวดิน มีข้อและปล้องสั้น ๆ ตามข้อมีใบเกล็ดสีน้าตาลไม่มีคลอโรฟีลล์
หุ้มตาไว้ ตาสามารถแตกแขนงเป็นลาต้นใต้ดินหรือลาต้นและใบชูขึ้นเหนือดิน มีรากงอกลงดิน ลาต้นชนิดนี้มักเรียกว่า แง่ง หรือ
เหง้า เช่น ขิง ข่า ขมิ้น พุทธรักษา หญ้าคา หญ้าแพรก
ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM)
สาหรับกล้วยเป็นลาต้นใต้ดินที่คล้ายไรโซมแต่มีลักษณะตั้งตรงแทนที่จะขนานไปกับผิวดิน จึงเรียกว่า รูตสต็อก (root
stock) ส่วนที่เห็นคล้ายลาต้นซึ่งโผล่พ้นดินมีสีเขียวนั้นเป็นกาบใบที่แผ่ซ้อนกันเป็นมัดตั้งตรงคล้ายลาต้น
ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM)
2) ทูเบอร์ (tuber) เป็นลาต้นใต้ดินสั้น ๆ ประกอบด้วยข้อและปล้องประมาณ 3-4ปล้องเท่านั้น ไม่มีใบเกล็ด ลาต้นมีอาหาร
สะสมทาให้อวบอ้วน มีตาอยู่โดยรอบซึ่งมักจะบุ๋มลงไป สามารถงอกต้นใหญ่ชูขึ้นเหนือดินในบริเวณตานั้น ได้แก่ มันฝรั่ง
ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM)
3) บัลบ์ (bulb) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจโผล่พ้นดินขึ้นมาบ้าง มีปล้องสั้นมาก ตามปล้องมีใบเกล็ดซ้อนกันหลายชั้น
ห่อหุ้มลาต้นเอาไว้เห็นเป็นหัวขึ้นมา ใบเกล็ดนี้จะทาหน้าที่สะสมอาหาร ในขณะที่ลาต้นไม่มีอาหารสะสมอยู่ ส่วนล่างของลาต้น
มีรากเป็นกระจุก เช่น หอม กระเทียม พลับพลึง
ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM)
4.) คอร์ม (corm) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรงเช่นเดียวกับบัลบ์ มีข้อปล้องเห็นชัดตามข้อมีใบเกล็ดบางๆ หุ้ม ลาต้นหน้าที่
สะสมอาหารทาให้อวบอ้วน มีตาตามข้อสามารถงอกเป็นใบโผล่ขึ้นเหนือดินหรืออาจแตกเป็นลาต้นใต้ดินต่อไปได้ ส่วนล่างของ
ลาต้นมีรากฝอยเส้นเล็ก ๆ จานวนมาก เช่น เผือก แห้วจีน ซ่อนกลิ่นฝรั่ง
ความหมายและความสาคัญของใบ
ความหมายและความสาคัญของใบ
• ใบ ( Leaves) เป็น อวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้างโดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อปล้องของต้นและ กิ่ง ใบส่วนใหญ่มักแผ่แบน มีสีเขียว
ของคลอโรฟิลล์ ทาหน้าที่หลักในการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) และคายน้า (transpiration) รูปร่างและ
ขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช หน้าที่หลักของใบคือใช้ในการสังเคราะห์แสง การหายใจและการคายน้า
ใบ ( LEAVES)
การเรียงของใบ (LEAF ARRANGEMENT)
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 1. แผ่นใบหรือตัวใบ (leaf blade or lamina) มักแผ่แบน มีสีเขียว ส่วนใหญ่มีรูปร่างรี บางชนิดอาจมีรูปร่าง
กลม รูปหัวใจ รูปพัด ในใบหญ้าแผ่นใบมักจะเรียวยาว แผ่นใบเป็นส่วนสาคัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่สร้างอาหาร บางชนิดมี
ขนาดเล็กเป็นใบเกล็ด (scale leaf) หรือม้วนเป็นท่อ เช่นในใบหอม
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 1.1 เส้นใบ ( vein ) ให้สังเกตเส้นกลางใบ ( midrib ) ซึ่งต่อเป็นเนื้อเดียวกับก้านใบ จากเส้นกลางใบแยกออกเป็นเส้น
ใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเป็นเส้นแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) เส้นใบแบบขนาน (
parallel venation )พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว แบ่งเป็นเรียงตามยาวของใบ (plamately parallel
venation) และเส้นใบขนานกันตามขวางของใบ ( pinately parallel venation )
เส้นใบ ( VEIN )
• Parallel venation ลักษณะเส้นใบขนานกัน ถ้ามีเส้นกลางใบและมีเส้นใบย่อยแตกออกจากเส้นกลางใบขนานกัน
ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Costal parallel เช่น ใบหญ้า อ้อย ข้าว ถ้าเส้นใบขนานกันตั้งแต่โคนใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ
แบบนี้เรียกว่า Basal parallel เช่น ใบ พุทธรักษา ใบตอง
เส้นใบ ( VEIN )
• Reticulate venation หรือ netted venation ลักษณะคล้ายร่างแห สานกัน ถ้ามีเส้นกลางใบและมี
เส้นใบย่อยแตกออกจากเส้นกลางใบ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า pinnately netted venation ถ้าแตกจากโคนของ
ใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้เรียกว่า palmately
เส้นใบ ( VEIN )
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 1.2 ส่วนของใบเลี้ยงคู่เป็นแบบตาข่าย (netted หรือ recticulated venation) ซึ่งมี 2 แบบคือ
แบบตาข่ายขนนก ( pinnately netted venation ) ตาข่ายแบบรูปมือ ( palmately
netted venation )
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 2. ก้านใบ (petiole) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างตัวใบกับลาต้น มีลักษณะเป็นก้านสั้นๆ ในใบหญ้าก้านใบมักจะแบน
บางโอบส่วนลาต้นไว้ ซึ่งนิยมเรียกว่ากาบ หรือ sheath พืชบางชนิดอาจไม่มีก้านใบ เรียกใบแบบนี้ว่า sessile
leaf ถ้ามีก้านใบเรียกว่า petiolate
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 3. หูใบ (stipule) เป็นส่วนของระยางค์ที่ยื่นออกมาตรงโคนใบที่ติดกับลาต้น หูใบมักมีอายุไม่นานและจะลดร่วงไป หู
ใบมักมีสีเขียวแต่อาจมีสีเช่น หูใบของต้นยางอินเดียหูใบมีสีสันสวยงามหุ้มยอดอ่อนเอาไว้ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เรียก
ใบแบบนี้ว่า exstipulate leaf ถ้ามีหูใบเรียกว่า stipulate leaf เช่น เข็ม พุดน้าบุด มีหูใบอยู่ระหว่างใบ
ทั้งสองข้าง กุหลาบมีหูใบเชื่อมติดต่อกับก้านใบ ชบามีหูใบอยู่บริเวณซอกใบ
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 4. ขอบใบ (Leaf margin) หมายถึงส่วนริมสุดของตัวใบตั้งแต่โคนใบจนถึงปลายใบพืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะ
ขอบใบแตกต่างกันไป เช่น ขอบใบเรียบ ขอบใบหยัก ขอบใบเว้า
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 5. โคนใบ หรือฐานใบ (Leaf base) คือส่วนที่อยู่ล่างสุดของแผ่นใบที่ติดกับก้านใบหรือกิ่ง
Leaf base
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 6. ปลายใบ (Leaf apex) ส่วนของแผ่นใบที่อยู่ปลายสุดตรงข้ามกับก้านใบปลายใบของพืชแต่ละชนิดมีลักษณะ
แตกต่างกันไป
ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF
• 7. เส้นกลางใบ (Midrib) คือ ส่วนที่ยื่นต่อจากก้านใบเข้าไปในตัวใบ มีลักษณะเป็นสันนูน แบ่งใบออกเป็นสองซีก เส้น
กลางใบจะแตกแขนงมากมายกระจายไปทั่วแผ่นใบ เรียกว่า เส้นใบ (Vein) ซึ่งจะช่วยให้แผ่นใบกางอยู่ได้
โครงสร้างภายในและภายนอกของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
• ใบประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชนิด คือ Epidermis, Mesophyll และ Vascular bundle
• 1. ชั้นเอพิเดอร์มิส (Epidermis layer) เป็นชั้นที่อยู่นอกสุดของใบทั้งสองด้านทาหน้าที่ปกคลุมส่วนที่อยู่ด้านในของ
ใบ ด้านหลังใบหรือด้านบน คือ Upper epidermis และด้านท้องใบหรือด้านล่าง คือ Lower epidermis ชั้นเอพิเดอร์
มิสประกอบด้วยเซลล์ที่เรียงตัวเพียงชั้นเดียวและมี cuticle ปกคลุมอยู่
โครงสร้างภายในของใบ
• เซลล์เอพิเดอร์มิสบางเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เป็นเซลล์คุม (guard cell) มีลักษณะรูปร่างคล้ายไต อยู่เป็น
คู่ๆ ระหว่างเซลล์คุมเป็นปากใบ (stomata,/ pl. stoma) ซึ่งเป็นทางผ่านเข้าออก
โครงสร้างภายในของใบ
• 2. ชั้นเมโซฟิลล์ (Mesophyll layer)
• เมโซฟิลล์ (Mesophyll : Gr. mesos = กึ่งกลาง, phyllon = ใบ) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างเอพิเดอร์มิสทั้งบนและ
ล่าง เซลล์ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรคิมาที่มีคลอโรฟิลล์อยู่ซึ่งเรียกว่า คลอเรงคิมา (chlorenchyma) โดยเซลล์ทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมด
สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี และทาให้ใบไม้เป็นสีเขียว
โครงสร้างภายในของใบ
• ชั้นเมโซฟิลล์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
• 1) palisade mesophyll เป็นส่วนที่อยู่ทางด้านบน ติดกับ upper epidermis เซลล์ชั้นนี้มีลักษณะเป็น
ทรงกระบอกยาวๆ เรียงตัวอัดกันแน่นและตั้งฉากกับผิวใบ อาจเป็นแถวเดียวหรือหลายแถวซ้อนกันก็ได้แล้วแต่ชนิดของใบพืช
โครงสร้างภายในของใบ
• ชั้นเมโซฟิลล์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
• 2) spongy mesophyll เป็นชั้นที่อยู่ถัดจาก palisade mesophyll ลงมาจนถึงเอพิเดอร์มีสด้านล่าง เซลล์ชั้นนี้มี
รูปร่างค่อนข้างกลม หรือรูปร่างไม่แน่นอน มีการจัดเรียงตัวเกาะกันอย่างหลวม ๆ ทาให้มีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก ทาให้ผนังของเซลล์มีพื้นที่
สัมผัสกับอากาศได้มากจึงเหมาะสาหรับการแลกเปลี่ยนก๊าซ
โครงสร้างภายในของใบ
• 3. มัดท่อลาเลียง (Vascular bundle) คือ ส่วนของเส้นใบที่แทรกอยู่ภายในใบ ประกอบด้วยท่อน้าหรือไซเลม (Xylem)
อยู่ด้านบน และท่ออาหาร หรือโฟลเอม (Phloem) อยู่ด้านล่าง ทาหน้าที่ลาเลียงน้าเข้าสู่ส่วนต่าง ๆ ของใบ และลาเลียงอาหารที่ได้
จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงไปยังส่วนต่าง ๆ ทั่วต้นพืช
โครงสร้างภายในของใบ
• มัดท่อลาเลียงจะถูกล้อมรอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า บันเดิลชีท (Bundle sheath) ทาให้ท่อลาเลียงมีความแข็งแรง
ยิ่งขึ้น บันเดิลชีทนี้ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา หรือเซลล์สเคลอเรงคิมาที่ไม่มีคลอโรพลาสต์ เรียงซ้อนกัน 1-2 ชั้น
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
การจัดประเภทของใบ
การจัดประเภทของใบ
• 1. ใบแท้ (Foliage leaf) คือใบไม้ปกติทั่วๆ ไป มีสีเขียวและแผ่นเป็นแผ่นกว้างแบนเพื่อทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วย
แสง หายใจ และคายน้า แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ ใบเดี่ยว และใบประกอบ
• 2. ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf) พืชบางชนิดมีใบที่
เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ มือเกาะ หนาม สะสมอาหาร เป็นต้น
ใบแท้ (FOLIAGE LEAF)
• 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่ พืชบางชนิดตัวใบเว้า โค้งไปมา จึง
ทาให้ดูคล้ายมีตัวใบหลายแผ่นแต่บางส่วนของตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่า เป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง ตัวใบมัก
ติดกับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียก sessile leaves เช่น บานชื่น
ใบแท้ (FOLIAGE LEAF)
• 2. ใบประกอบ (compound leaf) ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบจามจุรี ใบย่อย
เรียกว่า leaflets ใบประกอบจะมีตาที่ซอกใบที่ติดกับลาต้นเท่านั้น (แต่ส่วนที่เป็นก้านใบย่อยจะไม่พบตา) ใบ
ประกอบยังสามารถแบ่งเป็นประเภทย่อยๆได้ 2 ประเภทดังนี้
ใบประกอบ (COMPOUND LEAF)
• Pinnately compound leaf (ใบประกอบแบบขนนก) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบย่อย (leaflets) แต่
ละใบย่อยมีก้านใบย่อย (petiolule) ออกจากแกนกลาง (rachis) เป็นคู่ๆ คล้ายขนนก
PINNATELY COMPOUND LEAF
• ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว (Pinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจากก้าน
ใบเพียงครั้งเดียว ใบย่อยแต่ละใบจะมีก้านใบย่อยเรียกว่า petiolue ได้แก่ ใบกุหลาบ ใบมะขาม ใบขี้เหล็ก ใบสะเดา
ใบทองอุไร ใบกาลพฤกษ์
PINNATELY COMPOUND LEAF
• ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น (bipinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจาก
ก้านใบเพียง 2 ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือแกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla เช่น ใบหางนกยูงฝรั่ง
จามจุรี กระถิน
PINNATELY COMPOUND LEAF
• ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจาก
ก้านใบเพียง 3ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือแกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla แต่แกนกลางที่ 3 อาจ
เรียกรวมว่า rachilla ตัวอย่าง เช่น ใบมะรุม บีบ
ใบประกอบ (COMPOUND LEAF)
• Palmately compound leaf (ใบประกอบแบบฝ่ ามือ) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบย่อย (leaflets)
แตกออกจากส่วนก้านใบลักษณะคล้ายนิ้วมือ ซึ่งแบ่งเป็นประเภทต่างๆดังนี้ bifoliage ใบที่ประกอบด้วยใบย่อย 2
ใบ trifoliage ใบที่ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ
PALMATELY COMPOUND LEAF
bifoliage trifoliage
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
1. มือเกาะ (leaf tendril) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อยึดและพยุงลาต้นให้ไต่ขึ้นที่สูงได้ เช่น ถั่วลันเตา มะระ ตาลึง
เป็นต้น โดยอาจเปลี่ยนแปลงมาจากทั้งใบหรือส่วนต่าง ๆ ของใบ เช่น หูใบ ก้านใบ ปลายใบ หรือใบย่อย
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
2. หนาม (Leaf spine) เป็นใบที่เปลี่ยนเป็นหนามเพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่จะมากัดกิน และช่วยลดการคาย
น้าอีกด้วย เช่น มะขามเทศ กระบองเพชร ป่ านศรนารายณ์ สับปะรด เป็นต้น
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
3. ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่สะสมอาหารและน้าจึงมีลักษณะอวบอ้วน
เนื่องจากสะสมน้าและอาหารไว้มาก เช่น ใบเลี้ยงของพืชต่างๆ ใบว่านหางจระเข้ กาบกล้วย
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
4. ใบเกล็ด (Scale leaf) มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีคลอโรฟิลล์ เช่น ใบเกล็ดของสนทะเล โปร่งฟ้า ขิง ข่า เผือก
แห้ว เป็นต้น
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
5. เกล็ดหุ้มตา (Bud scale) มีลักษณะเป็นแผ่นหุ้มตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโตก็จะดันให้เกล็ดหุ้มตากางออกหรือหลุด
ร่วงไป เช่น ในต้นสาเก จาปี และยาง เป็นต้น
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
6. ฟิลโลด (Phyllode) หรือ Phyllodium (Gr. phyllon = ใบ) เป็นส่วนต่างๆ ของใบที่เปลี่ยนแปลงไป
เป็นแผ่นแบนคล้ายตัวใบ พืชที่มีใบแบบนี้มักจะไม่มีใบที่แท้จริง เช่น ใบกระถินณรงค์เปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
7. ทุ่นลอย (Floating leaf) พืชน้าบางชนิด เช่น ผักตบชวา จะมีก้านใบที่พองออก ภายในมีช่องว่างให้อากาศแทรก
อยู่มาก จึงช่วยพยุงลาต้นทาให้สามารถลอยน้าได้
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
8. ใบประดับหรือใบดอก (Floral leaf หรือ Bract: L. bractea = แผ่นโลหะ) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อ
ทาหน้าที่ช่วยรองรับดอก มักมีสีเขียว แต่พืชหลายชนิดมีใบประดับเป็นสีอื่นๆ คล้ายกลีบดอก เพื่อช่วยล่อแมลงสาหรับผสมเกสร
เช่น เฟื่องฟ้า คริสต์มาส หน้าวัว เป็นต้น
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
9. ใบสืบพันธุ์ (Vegetative reproductive leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยในการแพร่พันธุ์ เช่น ใบ
คว่าตายหงายเป็น
ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF)
• พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่
10. กับดักแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่ดัก
จับแมลงหรือสัตว์เล็กๆ โดยมีการสร้างเอนไซม์สาหรับย่อยแล้วดูดซึมแร่ธาตุไปใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หยาดน้าค้าง กาบ
หอยแครง และหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
Pinutchaya Nakchumroon
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
Dnavaroj Dnaka
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
Suricha Phichan
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Taraya Srivilas
 

What's hot (20)

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 

Viewers also liked

14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
Wichai Likitponrak
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชnokbiology
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบnokbiology
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
Wichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อnokbiology
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
Wichai Likitponrak
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นnokbiology
 
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pageใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองnokbiology
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกnokbiology
 
พืช
พืชพืช
พืช
Chamaiporn
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
Wichai Likitponrak
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 2
 
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้นการเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
 
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1pageใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
ใบความรู้+พืชใบเลี่ยงคู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว+ป.5+275+dltvscip5+54sc p05 f14-1page
 
บทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนองบทที่ 10 การตอบสนอง
บทที่ 10 การตอบสนอง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
พืช
พืชพืช
พืช
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
2.แรงและการเคลื่อนที่gs ลอยตัวเสียดทานโมเม้น
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 

Similar to 11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2

Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
Oui Nuchanart
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
Thitaree Samphao
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
Thanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อOui Nuchanart
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2
Patitta Intarasopa
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
Ratarporn Ritmaha
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
เข็มชาติ วรนุช
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
Thanyamon Chat.
 

Similar to 11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2 (16)

Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2พริกกะเหรี่ยง 2
พริกกะเหรี่ยง 2
 
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
11 6
11 611 6
11 6
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2

  • 2. โครงสร้างและหน้าที่ของรากลาต้นและใบ (2) • โครงสร้างภายในและภายนอกของลาต้น • การจัดประเภทของลาต้น • ความหมายและความสาคัญของใบ • โครงสร้างภายในและภายนอกของใบ • การจัดประเภทของใบ
  • 4. โครงสร้างภายในและภายนอกของลาต้น • ลาต้นเป็นโครงสร้างของพืชที่เจริญถัดขึ้นมาจากราก ลาต้นมีข้อปล้อง บริเวณข้อจะมีใบ ที่ซอกใบมีตา ลา ต้นทาหน้าที่ชูกิ่ง ใบ ดอก ผล และทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ธาตุอาหาร และน้า
  • 5. โครงสร้างภายในลาต้น ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ : เมื่อตัดลาต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ที่ยังอ่อนอยู่ตามขวาง แล้วนามาศึกษาจะพบลักษณะการเรียงตัวของ ลาต้นและรากคล้ายกันและลาต้นมีการเรียงตัว ดังนี้ 1) เอพิเดอร์มิส ( Epidermis ) อยู่ชั้นนอกสุด ปกติเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียว ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจเปลี่ยนแปลงไป เป็นขน หนาม หรือเซลล์คุม ( Guard Cell ) ผิวด้านนอกของเอพิดอร์มิสมักมีสารพวกคิวทิน เคลือบอยู่เพื่อ ป้องกันการระเหยของน้า
  • 6. โครงสร้างภายในลาต้น 2) คอร์เทกซ์ ( Cortex ) มีอาณาเขตแคบกว่าในรากเซลล์ ส่วนนี้ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวกันหลายชั้น เซลล์พวก นี้มักมีสีเขียวและสังเคราะห์ด้วยแสงได้ด้วยนอกจากนี้ยังช่วยสะสมน้าและอาหารให้แก่พืช เซลล์ชั้นคอร์เทกซ์ที่อยู่ติดกับเอพิ เดอร์มิสเป็นเซลล์เล็กๆ 2-3 แถว คือ เซลล์พวกคอลเลงคิมา และมีเซลล์สเกลอเรงคิมาแทรกอยู่ช่วยให้ลาต้นแข็งแรงขึ้น การแตกกิ่ง ของพืชจะแตกในชั้นนี้เรียกว่า “ เอกโซจีนัสบรานชิ่ง ( Exogenous branching )” ซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งเป็น เอนโดจีนัสบรานชิ่ง ชั้นในของคอร์เทกซ์ คือ เอนโดเดอร์มิสเป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวในลาต้น พืชส่วนใหญ่มักเห็นชั้นเอนโด เดอร์มิสได้ไม่ชัดเจนหรือไม่เห็นเลยซึ่งแตกต่างจากรากซึ่งมีและเห็นชัดเจน เซลล์ที่ทาหน้าที่ในการหลั่งสาร ( Secretory Cell ) เช่น เรซิน ( Resin ) น้ายาง ( Latex ) ก็อยู่ในชั้นนี้
  • 8. โครงสร้างภายในลาต้น 3) สตีล ( Stele ) ในลาต้นฃั้นสองของสตีลจะแคบมากและแบ่งออกจากชั้นของคอร์เทกซ์ได้ไม่ชัดเจนนัก และแตกต่างจากใน ราก ประกอบด้วย 3.1 มัดท่อลาเลียง อยู่เป็นกลุ่มๆ ด้านในเป็นไซเลม ด้านนอกเป็นโฟลเอ็มเรียงตัวในแนวรัศมีเดียวกัน
  • 10. โครงสร้างภายในลาต้น 3.3 พิธ อยู่ชั้นในสุดเป็นไส้ในของลาต้นประกอบด้วยเนื้อเยื่อพาเรงคิมาทาหน้าที่สะสมแป้งหรือสารต่างๆเช่น ผลึกแทนนิน ( Tannin ) พิธที่แทรกอยู่ในมัดท่อลาเลียงจะดูดคล้ายรัศมี เรียกว่า พิธเรย์ ( Pith Ray ) ทาหน้าที่สะสมอาหาร ช่วยลาเลียง น้า เกลือแร่ และอาหารไปทางด้านข้างของลาต้น
  • 11. โครงสร้างภายในลาต้น ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว : ส่วนใหญ่มีการเจริญเติบโตขั้นต้น ( Primary Growth ) เท่านั้น มีชั้นต่างๆเช่นเดียวกับพืช ใบเลี้ยงคู่ต่างกันที่มัดท่อลาเลียงรวมกันเป็นกลุ่มๆประกอบด้วยเซลล์ค่อนข้างกลมขนาดใหญ่ 2 เซลล์ ซึ่งได้แก่ไซเลมและเซลล์ เล็กๆ ด้านบนคือโฟลเอ็ม ส่วนทางด้านล่างของไซเลมเป็นช่องกลมๆเช่นกันคือช่องอากาศมัดท่อลาเลียงของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะ มีบันเดิลชีท ( Bundle Sheath ) ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อพวกพาเรงคิมาที่มีแป้งสะสมหรืออาจเป็นเนื้อเยื่อสเกลอเรงคิมามา หุ้มล้อมรอบเอาไว้
  • 12. โครงสร้างภายในลาต้น กลุ่มของมัดท่อลาเลียงจะกระจายทุกส่วนของลาต้น แต่มักอยู่รอบนอกมากว่ารอบในและมัดท่อลาเลียงไม่มีเนื้อเยื่อเจริญ ด้านข้างหรือแคมเบียมคั่นอยู่ พืชพวกนี้จึงเจริญเติบโตด้านข้างจากัด แต่มักจะสูงขึ้นได้มาก เนื่องจากพืชใบเลี้ยเดี่ยวมีเนื้อเยื่อ เจริญบริเวณข้อทาให้ปล้องยืดยาวขึ้น ในพืชบางชนิดส่วนของพืชจะสลายไปกลายเป็นช่องกลวงอยู่กลางลาต้น เรียกว่า “ ช่องพิธ ( Pith Cavity ) ” เช่น ในลาต้นของไผ่ หญ้า เป็นต้น
  • 14. ตารางแสดงความแตกต่างระหว่างลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่กับลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ลาต้นพืชใบเลี้ยงคู่ 1. มีข้อและปล้องเห็นได้ชัดเจน 2. ไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา 3.มัดท่อน้าท่ออาหารกระจายไปทั่วลาต้น 4. ส่วนมากไม่มีแคมเบียม 5. ส่วนมากไม่มีการเจริญขั้นที่สอง 6. ส่วนมากไม่มีวงปี 7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการในการทางาน 1. เห็นได้ไม่ชัดเจนนัก 2. มีกิ่งก้านสาขามาก 3. มัดท่อน้าท่ออาหารเรียงตัวเป็นวงรอบลาต้น 4. ส่วนมากมีแคมเบียม นอกจากพืชล้มลุกบางชนิดไม่มี 5. ส่วนมากมีการเจริญขั้นที่สองและเจริญไปเรื่อยๆ สัมพันธ์กับความสูง 6. ส่วนมากมีวงปี 7. โฟลเอ็มและไซเลมมีอายุการทางานสั้น แต่จะมีการ สร้างขึ้นมาทดแทนอยู่เรื่อยๆโดยแคมเบียม
  • 16.
  • 17. การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่ พืชใบเลี้ยงคู่ที่มีเนื้อไม้เป็นการเจริญเติบโตเพื่อขยายขนาดทางด้านข้างจะมีวาสคิวลาร์แคมเบียมเกิดขึ้นตรงแนวระหว่าง ไซเลม และโฟลเอ็มของการเจริญเติบโตขั้นแรก วาสคิวลาร์แคมเบียม จะแบ่งเซลล์สร้างเนื้อเยื่อไซเลมขั้นที่สองเพิ่มขึ้น ทางด้านในและสร้างเนื้อเยื่อโฟลเอ็มขั้นที่สองเพิ่มขึ้นทางด้านนอก การแบ่งเซลล์ได้ไซเลมขั้นที่สองจะเกิดขึ้นเร็วกว่าการเกิด โฟลเอ็มขั้นที่สอง ในพืชส่วนมากโฟลเอ็มขั้นแรกทางด้านนอกจะถูกโฟลเอ็มขั้นที่สองที่สร้างขึ้นใหม่เบียดจนสลายไปหมด
  • 18. การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่ ในรอบ 1 ปี วาสคิวลาร์แคมเบียมของพืชที่มีเนื้อไม้จะมีการแบ่งเซลล์สร้างไซเลมและโฟลเอ็มขั้นที่สองจานวนมากน้อยต่างกันในแต่ ละฤดูขึ้นอยู่กับปริมาณน้าและแร่ธาตุอาหาร ในฤดูที่สิ่งแวดล้อมอุดมสมบูรณ์ดี เช่น ฤดูฝน เซลล์ชั้นไซเลมจะเจริญเร็วมีขนาดใหญ่ ทาให้ได้ชั้นไซเลมกว้าง และมีสีจาง ส่วนในฤดูแล้งเซลล์ชั้นไซเลมจะเจริญช้ามีขนาดเล็กเบียดกันแน่นทาให้เห็นเป็นแถบแคบๆ และ มีสีเข้ม ลักษณะดังกล่าวทาให้เนื้อไม้มีสีจางและมีสีเข้มสลับกันมองเห็นเป็นวงเรียกว่า วงปี (annual ring) ดังรูป
  • 19. การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่ ไซเลมที่มีอายุมากที่สุดจะอยู่ชั้นในสุดของลาต้น ถ้าเป็นลาต้นที่มีอายุมากๆ ไซเลมชั้นในจะไม่ทาหน้าที่ลาเลียงน้าอีกต่อไป แต่ จะทาหน้าที่ให้ความแข็งแรง และอาจสะสมสารอินทรีย์ต่างๆ มักมองเห็นไซเลมบริเวณนี้มีสีเข้มเรียกไซเลมบริเวณนี้ ว่า “ แก่นไม้ ( heart wood )”ซึ่งจะมีความแข็งแรงมากกว่าบริเวณอื่น แก่นม้นี้จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากไซเลมชั้น ถัดออกมาที่มีอายุมากขึ้นและอุดตันกลายเป็นแก่นไม้เพิ่มขึ้น ส่วนไซเลมซึ่งอยู่รอบนอกซึ้งมีสีจางกว่าชั้นในก็ยังคงทาหน้าที่ ลาเลียงน้า และธาตุอาหารต่อไป เรียกชั้นนี้ว่า “ กระพี้ไม้ ( sap wood ) ” ชั้นกระพี้ไม้จะมีความหนาค่อนข้างคงที่ ทั้งกระพี้ไม้และแก่นไม้รวมกันเรียกว่า “เนื้อไม้ ( wood ) ” ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อไซเลมทั้งหมด
  • 20. การเจริญเติบโตขั้นที่สองของลาต้นใบเลี้ยงคู่ เปลือกไม้ ( bark ) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจากวาสคิวลาร์แคมเบียมออกไปข้างนอก ในลาต้นที่มีอายุน้อยเปลือกไม้ประกอบด้วย เอพิเดอร์มิส คอร์เทกซ์ และโฟลเอ็ม ส่วนลาต้นที่มีอายุมากเอพิเดอร์มิสหลุดสลายไปเหลือแต่เนื้อเยื่อคอร์ก ( cork ) และ คอร์กแคมเบียม ( cork cambium ) และอาจมีเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่เกิดจากการแบ่งตัวของคอร์กแคมเบียมรวมทั้ง โฟลเอ็มครั้งที่สองที่สร้างขึ้นมาใหม่ ซึ่งทาหน้าที่ลาเลียงอาหารแทนโฟลเอ็มขั้นแรกที่ถูกเบียดสลายไป
  • 24. ชนิดของลาต้น สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 1) ต้นไม้ยืนต้น (tree) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักต้นเดียว จากนั้นจึงแตกกิ่งก้านสาขาบริเวณยอด ลักษณะ เนื้อแข็ง ลาต้นมีขนาดใหญ่ อายุยืนหลายปี
  • 25. ชนิดของลาต้น สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 2) ต้นไม้พุ่ม (shrub) เป็นต้นไม้ที่มีลาต้นหลักหลายต้น มักมีเนื้อไม้แข็งแต่มีขนาดเล็กว่าไม้ยืนต้น แตก กิ่งก้านสาขาใกล้บริเวณผิวดิน
  • 26. ชนิดของลาต้น สามารถจาแนกลาต้นออกตามแหล่งที่อยู่ได้สองประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ลาต้นเหนือดินและลาต้นใต้ดิน ลาต้นเหนือดิน (aerial stem) 3) ต้นไม้ล้มลุก (herb) เป็นต้นไม้ที่มีเนื้อไม้อ่อนหรือไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใหญ่มีอายุปีเดียว บางชนิดอาจอยู่ได้ สองปี เมื่อครบวัฏจักรชีวิตจะตายไป ไม้ล้มลุกบางชนิดที่มีลาต้นอยู่ใต้ดิน เมื่อส่วนที่อยู่เหนือดินตายส่วนที่อยู่ ใต้ดินจะพักตัวอยู่และงอกในฤดูถัดไป
  • 27. ชนิดของลาต้น จาแนกตามลักษณะของเนื้อไม้ 1) ลาต้นที่มีเนื้อไม้ (woody stem) ได้แก่ ลาต้นของต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นและไม้พุ่ม
  • 29. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ 1) ลาต้นเลื้อย (creeping stem หรือ prostate stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยไปตามผิวดินหรือผิวน้าและมี รากงอกออกมาจากบริเวณข้อแล้วแทงลงดินเพื่อช่วยยึดลาต้น นอกจากนี้บริเวณข้อจะมีตาเจริญเป็นลาต้นแขนงยาวขนาน ไปกับพื้นดินหรือผิวน้า ซึ่งจะงอกรากและลาต้นขึ้นใหม่ เรียกว่า ไหล (stolon หรือ runner) เช่น สตรอเบอรี ผักบุ้ง ผักตบชวา
  • 30. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ 2) ลาต้นปีนป่ าย (climbing stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยหรือไต่ขึ้นที่สูง มีลาต้นอ่อน เป็นพวกไม้เถา (vine) ได้แก่ - ทไวเนอร์ (twiner) เป็นไม้เถาที่ปีนป่ ายขึ้นที่สูงโดยใช้ลาต้นพันกับหลักเป็นเกลียว เช่น ถั่วฝักยาว บางชนิดลาต้น เปลี่ยนไปเป็นมือพัน (tendril) ยืดหดได้คล้ายลวดสปริง เช่น องุ่น
  • 31. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ 2) ลาต้นปีนป่ าย (climbing stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยหรือไต่ขึ้นที่สูง มีลาต้นอ่อน เป็นพวกไม้เถา (vine) ได้แก่ - รูตไคลม์เบอร์ (root climber) เป็นลาต้นที่ปีนป่ ายขึ้นที่สูงโดยงอกรากออกจากข้อยึดติดกับหลักหรือต้นไม้ เช่น พลู พริกไทย
  • 32. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ 2) ลาต้นปีนป่ าย (climbing stem) เป็นลาต้นที่เลื้อยหรือไต่ขึ้นที่สูง มีลาต้นอ่อน เป็นพวกไม้เถา (vine) ได้แก่ - ลาต้นหนาม (spine หรือ thorny stem) เป็นลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นหนามรวมทั้งขอเกี่ยวสาหรับปีนป่ ายขึ้น ที่สูงและป้องกันอันตราย เช่น ส้ม
  • 33. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ 3) ฟีลโลเคลด (phylloclade) เป็นลาต้นที่มีลักษณะแบนจนกระทั่งคล้ายกับลักษณะของใบในพืชทั่ว ๆ ไป ลาต้นแบบนี้ ปกติจะทาหน้าที่ของใบด้วย คือ สังเคราะห์แสงดังนั้นพืชที่มีลาต้นแบบนี้จึงไม่มีใบหรือมีก็เล็กมาก เช่น ตะบองเพชร
  • 34. ลาต้นที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่พิเศษ 3) แคลโดฟีลล์ (cladophyll) หรือ แคลโดด (cladode) เป็นลาต้นที่เปลี่ยนไปมีลักษณะคล้ายใบเช่นเดียวกันกับฟีล โลเคลดแต่มักใช้กับกิ่งก้านที่เป็นเส้นเรียวเล็ก ทาหน้าที่แทนใบโดยมีสีเขียว สามารถสังเคราะห์แสงได้ เช่น หน่อไม้ฝรั่ง สน ปฏิพัทธ์
  • 35. ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM) ลำต้นใต้ดินบำงชนิดมักมีผู้เข้ำใจผิดว่ำเป็นรำก ทั้งนี้เพรำะลำต้นเหล่ำนี้ไม่มีคลอโรฟีลล์ มีรำกเล็ก ๆ งอกออกมำ ซึ่งคล้ำยกับรำกแขนงที่แตกออกมำจำกรำกแก้ว กำรที่จะพิจำรณำว่ำลำต้นใต้ดินไม่ใช่รำกสังเกตได้จำกลำต้น เหล่ำนี้มีข้อและปล้องสั้น ๆ บำงทีก็มีตำอยู่ตำมข้อด้วย ลำต้นใต้ดินมีรูปร่ำงแตกต่ำงไปจำกลำต้นเหนือดิน ส่วน ใหญ่ทำหน้ำที่สะสมอำหำร ได้แก่ ไรโซม ทูเบอร์ บัลบ์และคอร์ม
  • 36. ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM) 1) ไรโซม (rhizome) เป็นลาต้นใต้ดินที่มักขนานไปกับผิวดิน มีข้อและปล้องสั้น ๆ ตามข้อมีใบเกล็ดสีน้าตาลไม่มีคลอโรฟีลล์ หุ้มตาไว้ ตาสามารถแตกแขนงเป็นลาต้นใต้ดินหรือลาต้นและใบชูขึ้นเหนือดิน มีรากงอกลงดิน ลาต้นชนิดนี้มักเรียกว่า แง่ง หรือ เหง้า เช่น ขิง ข่า ขมิ้น พุทธรักษา หญ้าคา หญ้าแพรก
  • 37. ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM) สาหรับกล้วยเป็นลาต้นใต้ดินที่คล้ายไรโซมแต่มีลักษณะตั้งตรงแทนที่จะขนานไปกับผิวดิน จึงเรียกว่า รูตสต็อก (root stock) ส่วนที่เห็นคล้ายลาต้นซึ่งโผล่พ้นดินมีสีเขียวนั้นเป็นกาบใบที่แผ่ซ้อนกันเป็นมัดตั้งตรงคล้ายลาต้น
  • 38. ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM) 2) ทูเบอร์ (tuber) เป็นลาต้นใต้ดินสั้น ๆ ประกอบด้วยข้อและปล้องประมาณ 3-4ปล้องเท่านั้น ไม่มีใบเกล็ด ลาต้นมีอาหาร สะสมทาให้อวบอ้วน มีตาอยู่โดยรอบซึ่งมักจะบุ๋มลงไป สามารถงอกต้นใหญ่ชูขึ้นเหนือดินในบริเวณตานั้น ได้แก่ มันฝรั่ง
  • 39. ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM) 3) บัลบ์ (bulb) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรง อาจโผล่พ้นดินขึ้นมาบ้าง มีปล้องสั้นมาก ตามปล้องมีใบเกล็ดซ้อนกันหลายชั้น ห่อหุ้มลาต้นเอาไว้เห็นเป็นหัวขึ้นมา ใบเกล็ดนี้จะทาหน้าที่สะสมอาหาร ในขณะที่ลาต้นไม่มีอาหารสะสมอยู่ ส่วนล่างของลาต้น มีรากเป็นกระจุก เช่น หอม กระเทียม พลับพลึง
  • 40. ลาต้นใต้ดิน (UNDERGROUND STEM) 4.) คอร์ม (corm) เป็นลาต้นใต้ดินที่ตั้งตรงเช่นเดียวกับบัลบ์ มีข้อปล้องเห็นชัดตามข้อมีใบเกล็ดบางๆ หุ้ม ลาต้นหน้าที่ สะสมอาหารทาให้อวบอ้วน มีตาตามข้อสามารถงอกเป็นใบโผล่ขึ้นเหนือดินหรืออาจแตกเป็นลาต้นใต้ดินต่อไปได้ ส่วนล่างของ ลาต้นมีรากฝอยเส้นเล็ก ๆ จานวนมาก เช่น เผือก แห้วจีน ซ่อนกลิ่นฝรั่ง
  • 42. ความหมายและความสาคัญของใบ • ใบ ( Leaves) เป็น อวัยวะที่เจริญออกไปบริเวณด้านข้างโดยมีตาเหน่งอยู่ที่ข้อปล้องของต้นและ กิ่ง ใบส่วนใหญ่มักแผ่แบน มีสีเขียว ของคลอโรฟิลล์ ทาหน้าที่หลักในการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) และคายน้า (transpiration) รูปร่างและ ขนาดของใบแตกต่างกันไปตามชนิดของพืช หน้าที่หลักของใบคือใช้ในการสังเคราะห์แสง การหายใจและการคายน้า
  • 45. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 1. แผ่นใบหรือตัวใบ (leaf blade or lamina) มักแผ่แบน มีสีเขียว ส่วนใหญ่มีรูปร่างรี บางชนิดอาจมีรูปร่าง กลม รูปหัวใจ รูปพัด ในใบหญ้าแผ่นใบมักจะเรียวยาว แผ่นใบเป็นส่วนสาคัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่สร้างอาหาร บางชนิดมี ขนาดเล็กเป็นใบเกล็ด (scale leaf) หรือม้วนเป็นท่อ เช่นในใบหอม
  • 46.
  • 47. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 1.1 เส้นใบ ( vein ) ให้สังเกตเส้นกลางใบ ( midrib ) ซึ่งต่อเป็นเนื้อเดียวกับก้านใบ จากเส้นกลางใบแยกออกเป็นเส้น ใบ ซึ่งจะแยกแขนงออกไปอีกเป็นเส้นแขนงใบ ( vientet ) การเรียงของใบ ( venation ) เส้นใบแบบขนาน ( parallel venation )พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว แบ่งเป็นเรียงตามยาวของใบ (plamately parallel venation) และเส้นใบขนานกันตามขวางของใบ ( pinately parallel venation )
  • 48. เส้นใบ ( VEIN ) • Parallel venation ลักษณะเส้นใบขนานกัน ถ้ามีเส้นกลางใบและมีเส้นใบย่อยแตกออกจากเส้นกลางใบขนานกัน ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า Costal parallel เช่น ใบหญ้า อ้อย ข้าว ถ้าเส้นใบขนานกันตั้งแต่โคนใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้เรียกว่า Basal parallel เช่น ใบ พุทธรักษา ใบตอง
  • 49. เส้นใบ ( VEIN ) • Reticulate venation หรือ netted venation ลักษณะคล้ายร่างแห สานกัน ถ้ามีเส้นกลางใบและมี เส้นใบย่อยแตกออกจากเส้นกลางใบ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า pinnately netted venation ถ้าแตกจากโคนของ ใบ ไม่มีเส้นใบกลางใบ แบบนี้เรียกว่า palmately
  • 51. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 1.2 ส่วนของใบเลี้ยงคู่เป็นแบบตาข่าย (netted หรือ recticulated venation) ซึ่งมี 2 แบบคือ แบบตาข่ายขนนก ( pinnately netted venation ) ตาข่ายแบบรูปมือ ( palmately netted venation )
  • 52. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 2. ก้านใบ (petiole) เป็นส่วนที่เชื่อมต่อระหว่างตัวใบกับลาต้น มีลักษณะเป็นก้านสั้นๆ ในใบหญ้าก้านใบมักจะแบน บางโอบส่วนลาต้นไว้ ซึ่งนิยมเรียกว่ากาบ หรือ sheath พืชบางชนิดอาจไม่มีก้านใบ เรียกใบแบบนี้ว่า sessile leaf ถ้ามีก้านใบเรียกว่า petiolate
  • 53. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 3. หูใบ (stipule) เป็นส่วนของระยางค์ที่ยื่นออกมาตรงโคนใบที่ติดกับลาต้น หูใบมักมีอายุไม่นานและจะลดร่วงไป หู ใบมักมีสีเขียวแต่อาจมีสีเช่น หูใบของต้นยางอินเดียหูใบมีสีสันสวยงามหุ้มยอดอ่อนเอาไว้ พืชบางชนิดอาจไม่มีหูใบ เรียก ใบแบบนี้ว่า exstipulate leaf ถ้ามีหูใบเรียกว่า stipulate leaf เช่น เข็ม พุดน้าบุด มีหูใบอยู่ระหว่างใบ ทั้งสองข้าง กุหลาบมีหูใบเชื่อมติดต่อกับก้านใบ ชบามีหูใบอยู่บริเวณซอกใบ
  • 54. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 4. ขอบใบ (Leaf margin) หมายถึงส่วนริมสุดของตัวใบตั้งแต่โคนใบจนถึงปลายใบพืชแต่ละชนิดจะมีลักษณะ ขอบใบแตกต่างกันไป เช่น ขอบใบเรียบ ขอบใบหยัก ขอบใบเว้า
  • 55.
  • 56. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 5. โคนใบ หรือฐานใบ (Leaf base) คือส่วนที่อยู่ล่างสุดของแผ่นใบที่ติดกับก้านใบหรือกิ่ง
  • 58. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 6. ปลายใบ (Leaf apex) ส่วนของแผ่นใบที่อยู่ปลายสุดตรงข้ามกับก้านใบปลายใบของพืชแต่ละชนิดมีลักษณะ แตกต่างกันไป
  • 59.
  • 60. ส่วนประกอบของใบ COMPLETE LEAF • 7. เส้นกลางใบ (Midrib) คือ ส่วนที่ยื่นต่อจากก้านใบเข้าไปในตัวใบ มีลักษณะเป็นสันนูน แบ่งใบออกเป็นสองซีก เส้น กลางใบจะแตกแขนงมากมายกระจายไปทั่วแผ่นใบ เรียกว่า เส้นใบ (Vein) ซึ่งจะช่วยให้แผ่นใบกางอยู่ได้
  • 61.
  • 63. โครงสร้างภายในของใบ • ใบประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชนิด คือ Epidermis, Mesophyll และ Vascular bundle • 1. ชั้นเอพิเดอร์มิส (Epidermis layer) เป็นชั้นที่อยู่นอกสุดของใบทั้งสองด้านทาหน้าที่ปกคลุมส่วนที่อยู่ด้านในของ ใบ ด้านหลังใบหรือด้านบน คือ Upper epidermis และด้านท้องใบหรือด้านล่าง คือ Lower epidermis ชั้นเอพิเดอร์ มิสประกอบด้วยเซลล์ที่เรียงตัวเพียงชั้นเดียวและมี cuticle ปกคลุมอยู่
  • 64. โครงสร้างภายในของใบ • เซลล์เอพิเดอร์มิสบางเซลล์เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่เป็นเซลล์คุม (guard cell) มีลักษณะรูปร่างคล้ายไต อยู่เป็น คู่ๆ ระหว่างเซลล์คุมเป็นปากใบ (stomata,/ pl. stoma) ซึ่งเป็นทางผ่านเข้าออก
  • 65. โครงสร้างภายในของใบ • 2. ชั้นเมโซฟิลล์ (Mesophyll layer) • เมโซฟิลล์ (Mesophyll : Gr. mesos = กึ่งกลาง, phyllon = ใบ) เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างเอพิเดอร์มิสทั้งบนและ ล่าง เซลล์ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรคิมาที่มีคลอโรฟิลล์อยู่ซึ่งเรียกว่า คลอเรงคิมา (chlorenchyma) โดยเซลล์ทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมด สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้ดี และทาให้ใบไม้เป็นสีเขียว
  • 66. โครงสร้างภายในของใบ • ชั้นเมโซฟิลล์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ • 1) palisade mesophyll เป็นส่วนที่อยู่ทางด้านบน ติดกับ upper epidermis เซลล์ชั้นนี้มีลักษณะเป็น ทรงกระบอกยาวๆ เรียงตัวอัดกันแน่นและตั้งฉากกับผิวใบ อาจเป็นแถวเดียวหรือหลายแถวซ้อนกันก็ได้แล้วแต่ชนิดของใบพืช
  • 67. โครงสร้างภายในของใบ • ชั้นเมโซฟิลล์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ • 2) spongy mesophyll เป็นชั้นที่อยู่ถัดจาก palisade mesophyll ลงมาจนถึงเอพิเดอร์มีสด้านล่าง เซลล์ชั้นนี้มี รูปร่างค่อนข้างกลม หรือรูปร่างไม่แน่นอน มีการจัดเรียงตัวเกาะกันอย่างหลวม ๆ ทาให้มีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก ทาให้ผนังของเซลล์มีพื้นที่ สัมผัสกับอากาศได้มากจึงเหมาะสาหรับการแลกเปลี่ยนก๊าซ
  • 68. โครงสร้างภายในของใบ • 3. มัดท่อลาเลียง (Vascular bundle) คือ ส่วนของเส้นใบที่แทรกอยู่ภายในใบ ประกอบด้วยท่อน้าหรือไซเลม (Xylem) อยู่ด้านบน และท่ออาหาร หรือโฟลเอม (Phloem) อยู่ด้านล่าง ทาหน้าที่ลาเลียงน้าเข้าสู่ส่วนต่าง ๆ ของใบ และลาเลียงอาหารที่ได้ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงไปยังส่วนต่าง ๆ ทั่วต้นพืช
  • 69. โครงสร้างภายในของใบ • มัดท่อลาเลียงจะถูกล้อมรอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า บันเดิลชีท (Bundle sheath) ทาให้ท่อลาเลียงมีความแข็งแรง ยิ่งขึ้น บันเดิลชีทนี้ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา หรือเซลล์สเคลอเรงคิมาที่ไม่มีคลอโรพลาสต์ เรียงซ้อนกัน 1-2 ชั้น
  • 73. การจัดประเภทของใบ • 1. ใบแท้ (Foliage leaf) คือใบไม้ปกติทั่วๆ ไป มีสีเขียวและแผ่นเป็นแผ่นกว้างแบนเพื่อทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วย แสง หายใจ และคายน้า แบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ ใบเดี่ยว และใบประกอบ • 2. ใบพิเศษ (Specialized leaf) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (Modified leaf) พืชบางชนิดมีใบที่ เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ มือเกาะ หนาม สะสมอาหาร เป็นต้น
  • 74. ใบแท้ (FOLIAGE LEAF) • 1. ใบเดี่ยว (simple leaf) ใบที่มีตัวใบแผ่นเดียว เช่น ใบน้อยหน่า มะม่วง ชมพู่ พืชบางชนิดตัวใบเว้า โค้งไปมา จึง ทาให้ดูคล้ายมีตัวใบหลายแผ่นแต่บางส่วนของตัวใบยังเชื่อมกันอยู่ถือว่า เป็นใบเดี่ยว เช่น ใบมะละกอ ใบฟักทอง ตัวใบมัก ติดกับก้านใบ ถ้าใบที่ไม่มีก้านใบเรียก sessile leaves เช่น บานชื่น
  • 75. ใบแท้ (FOLIAGE LEAF) • 2. ใบประกอบ (compound leaf) ใบที่มีตัวใบหลายแผ่นติดอยู่กับก้านใบเดียว เช่น ขี้เหล็ก ใบจามจุรี ใบย่อย เรียกว่า leaflets ใบประกอบจะมีตาที่ซอกใบที่ติดกับลาต้นเท่านั้น (แต่ส่วนที่เป็นก้านใบย่อยจะไม่พบตา) ใบ ประกอบยังสามารถแบ่งเป็นประเภทย่อยๆได้ 2 ประเภทดังนี้
  • 76. ใบประกอบ (COMPOUND LEAF) • Pinnately compound leaf (ใบประกอบแบบขนนก) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบย่อย (leaflets) แต่ ละใบย่อยมีก้านใบย่อย (petiolule) ออกจากแกนกลาง (rachis) เป็นคู่ๆ คล้ายขนนก
  • 77. PINNATELY COMPOUND LEAF • ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว (Pinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจากก้าน ใบเพียงครั้งเดียว ใบย่อยแต่ละใบจะมีก้านใบย่อยเรียกว่า petiolue ได้แก่ ใบกุหลาบ ใบมะขาม ใบขี้เหล็ก ใบสะเดา ใบทองอุไร ใบกาลพฤกษ์
  • 78. PINNATELY COMPOUND LEAF • ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น (bipinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจาก ก้านใบเพียง 2 ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือแกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla เช่น ใบหางนกยูงฝรั่ง จามจุรี กระถิน
  • 79. PINNATELY COMPOUND LEAF • ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnately compound leaf) ใบที่ประกอบด้วยใบย่อยแตกออกจาก ก้านใบเพียง 3ครั้ง และมีช่วงของก้านใบหรือแกนกลาง 2 แห่ง คือ rachis และ rachilla แต่แกนกลางที่ 3 อาจ เรียกรวมว่า rachilla ตัวอย่าง เช่น ใบมะรุม บีบ
  • 80. ใบประกอบ (COMPOUND LEAF) • Palmately compound leaf (ใบประกอบแบบฝ่ ามือ) ใบที่ประกอบด้วยหลายใบย่อย (leaflets) แตกออกจากส่วนก้านใบลักษณะคล้ายนิ้วมือ ซึ่งแบ่งเป็นประเภทต่างๆดังนี้ bifoliage ใบที่ประกอบด้วยใบย่อย 2 ใบ trifoliage ใบที่ประกอบด้วยใบย่อย 3 ใบ
  • 82. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 1. มือเกาะ (leaf tendril) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อยึดและพยุงลาต้นให้ไต่ขึ้นที่สูงได้ เช่น ถั่วลันเตา มะระ ตาลึง เป็นต้น โดยอาจเปลี่ยนแปลงมาจากทั้งใบหรือส่วนต่าง ๆ ของใบ เช่น หูใบ ก้านใบ ปลายใบ หรือใบย่อย
  • 83. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 2. หนาม (Leaf spine) เป็นใบที่เปลี่ยนเป็นหนามเพื่อป้องกันอันตรายจากสัตว์ที่จะมากัดกิน และช่วยลดการคาย น้าอีกด้วย เช่น มะขามเทศ กระบองเพชร ป่ านศรนารายณ์ สับปะรด เป็นต้น
  • 84. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 3. ใบสะสมอาหาร (Storage leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่สะสมอาหารและน้าจึงมีลักษณะอวบอ้วน เนื่องจากสะสมน้าและอาหารไว้มาก เช่น ใบเลี้ยงของพืชต่างๆ ใบว่านหางจระเข้ กาบกล้วย
  • 85. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 4. ใบเกล็ด (Scale leaf) มีลักษณะเป็นเกล็ดเล็กๆ ไม่มีคลอโรฟิลล์ เช่น ใบเกล็ดของสนทะเล โปร่งฟ้า ขิง ข่า เผือก แห้ว เป็นต้น
  • 86. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 5. เกล็ดหุ้มตา (Bud scale) มีลักษณะเป็นแผ่นหุ้มตาไว้ เมื่อตาเจริญเติบโตก็จะดันให้เกล็ดหุ้มตากางออกหรือหลุด ร่วงไป เช่น ในต้นสาเก จาปี และยาง เป็นต้น
  • 87. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 6. ฟิลโลด (Phyllode) หรือ Phyllodium (Gr. phyllon = ใบ) เป็นส่วนต่างๆ ของใบที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นแผ่นแบนคล้ายตัวใบ พืชที่มีใบแบบนี้มักจะไม่มีใบที่แท้จริง เช่น ใบกระถินณรงค์เปลี่ยนแปลงมาจากก้านใบ
  • 88. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 7. ทุ่นลอย (Floating leaf) พืชน้าบางชนิด เช่น ผักตบชวา จะมีก้านใบที่พองออก ภายในมีช่องว่างให้อากาศแทรก อยู่มาก จึงช่วยพยุงลาต้นทาให้สามารถลอยน้าได้
  • 89. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 8. ใบประดับหรือใบดอก (Floral leaf หรือ Bract: L. bractea = แผ่นโลหะ) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อ ทาหน้าที่ช่วยรองรับดอก มักมีสีเขียว แต่พืชหลายชนิดมีใบประดับเป็นสีอื่นๆ คล้ายกลีบดอก เพื่อช่วยล่อแมลงสาหรับผสมเกสร เช่น เฟื่องฟ้า คริสต์มาส หน้าวัว เป็นต้น
  • 90. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 9. ใบสืบพันธุ์ (Vegetative reproductive leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อช่วยในการแพร่พันธุ์ เช่น ใบ คว่าตายหงายเป็น
  • 91. ใบพิเศษ (SPECIALIZED LEAF) หรือใบที่เปลี่ยนแปลงไป (MODIFIED LEAF) • พืชบางชนิดมีใบที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อทาหน้าที่อย่างอื่นนอกจากการสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ 10. กับดักแมลง (Insectivorous leaf หรือ Carnivorous leaf) เป็นใบที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้าที่ดัก จับแมลงหรือสัตว์เล็กๆ โดยมีการสร้างเอนไซม์สาหรับย่อยแล้วดูดซึมแร่ธาตุไปใช้ประโยชน์ ตัวอย่างเช่น หยาดน้าค้าง กาบ หอยแครง และหม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น
  • 92. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!