SlideShare a Scribd company logo
1.
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
กรุงเทพมหานคร
วิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ป พ.ศ. 2556
1.
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
กรุงเทพมหานคร
วิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ป พ.ศ. 2556
1.
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
กรุงเทพมหานคร
วิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ป พ.ศ. 2556
2.
งานวิจัยในชั้นเรียน (Teacher research)
เรื่อง
การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร
บทคัดยอ :
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน “เปนคนดี คนเกง
และมีความสุข” หัวใจของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร นอกจากทําใหนักเรียนเขาใจและสรุปองค
ความรู ทางวิทยาศาสตรไดอยางถูกตอง ไดพัฒนาการคิดระดับสูง สามารถเชื่อมโยงความรูทาง
วิทยาศาสตร กับชีวิตจริงไดแลว ยังตองทําใหนักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตรตามสาระที่ 8
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี แตปจจุบันกลับพบวาเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรโดย
ภาพรวมของนักเรียนมีแนวโนมในทางลบมากขึ้นเรื่อยๆ สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร
โดยภาพรวมลดลงเชนกัน อีกทั้งผูวิจัยไดรับมอบหมายการสอนรายวิชาชีววิทยาในภาคเรียนที่ 2
ประจําปการศึกษา 2555 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-
คณิตศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบระดับเจตคติทาง
วิทยาศาสตรของนักเรียนทีมีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันเพื่อเปนขอมูลสารสนเทศยอนกลับ
จากผูเรียนในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคตอไปโดยการ
นําแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการวิจัยเชิงสํารวจครั้งนี้ ผล
ปรากฏวา สวนใหญนักเรียนหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ .05 แสดงวา นักเรียนหญิงมีความตั้งใจและใสใจตอการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรในชั้น
เรียนมากกวานักเรียนนักเรียนชาย นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาความแตกตางในระดับการศึกษา ก็พบวา
นักเรียนระดับชั้น ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ
นักเรียนระดับชั้น ม. 6/1 แสดงวา ประสบการณในการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนสงผล
ตอระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางกันอยางชัดเจน ซึ่งผูวิจัยจะตองหาแนวทาง
ปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับระดับการศึกษาและเพศของนักเรียน
โดยภาพรวมเพื่อสงเสริมเจตคติทางวิทยาศาสตรในทางบวกตามวัตถุประสงคของหลักสูตรซึ่งจะชวย
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนอยางตอเนื่องตอไป
3.
ความเปนมา และความสําคัญของปญหา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปน
กําลังของชาติใหเปนมนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเปน
พลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและ
การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและ
พัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ หรือ “เปนคนดี คนเกง และมีความสุข”
หัวใจของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร นอกจากทําใหนักเรียนเขาใจและสรุปองค
ความรู ทางวิทยาศาสตรไดอยางถูกตอง ไดพัฒนาการคิดระดับสูง สามารถเชื่อมโยงความรูทาง
วิทยาศาสตร กับชีวิตจริงไดแลว ยังตองทําใหนักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตรตามสาระที่ 8
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี คือ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร
ในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่
แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ดังนั้น การเสริมสราง
เจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตรจึงเปนเรื่องสําคัญสําหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในปจจุบัน
จากผลการทดสอบความรูพื้นฐานระดับชาติ หรือ O-NET ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 6 โดยภาพรวมปรากฏวาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานและมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ซึ่ง
สวนหนึ่งอาจมาจากธรรมชาติของววิชาวิทยาศาสตรพื้นฐานที่มีงคประกอบถึง 4 วิชายอย คือ
ชีววิทยาพื้นฐาน เคมีพื้นฐาน ฟสิกสพื้นฐาน และโลก ดาราศาสตรและอวกาศพื้นฐาน ซึ่งผูเรียนตอง
อาศัยกระบวนการจําและทําความเขาใจในระดับสูงเพราะเนื้อหาวิชามีจํานวนมากทั้งภาคทฤษฎีและ
การคํานวณ อีกทั้งสัดสวนคะแนนที่ตองใชในการเขามหาวิทยาลัยยังคอนขางนอย กอใหเกิดเจตคติ
ในทางลบและไมเห็นความสําคัญตอวิชาวิทยาศาสตรซึ่งปนอุปสรรคสําคัญยิ่งตอการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนซึ่งเปนนโยบายเรงดวนในการแกไขปญหาการศึกษาระดับชาติ
ดังนั้น ผูวิจัยจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางดานเจตคติทางวิทยาศาสตรของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ป
การศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการสรุปทิศทางหรือแนวโนมการ
เปลี่ยนแปลงทางดานเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียน ซึ่งจะเปนสารสนเทศยอนกลับสําคัญตอ
ผูสอนรายวิชาวิทยาศาสตรในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุ
วัตถุประสงคของหลักสูตร อีกทั้งยังเปนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชาติอีกทางหนึ่งดวย
4.
วัตถุประสงค
1. เพื่อศึกษาภาพรวมของระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
2. เพื่อเปรียบเทียบระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6
โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
3. เปรียบเทียบระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนเพศชายและเพศหญิง โปรแกรม
การเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจาร
พิพัฒน
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนประเภทการวิจัยเชิงสํารวจระดับเจตคติ
ทางวิทยาศาสตรที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกัน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
นิยามเชิงศัพท
การเรียนการสอนวิทยาศาสตร หมายถึง การใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยา
ศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมี
รูปรางที่แนนอนสามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ
เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
เจตคติทางวิทยาศาสตร หมายถึง อารมณหรือความรูสึกของผูเรียนตอรายวิชาวิทยาศาสตร
อันบังเกิดจากการรับรูตอสิ่งนั้นๆ โดยแสดงพฤติกรรมโนมเอียงอยางใดอยางหนึ่งในรูปการประเมิน
เชน ชอบ – ไมชอบในการเรียนวิทยาศาสตร เปนตน
สมมติฐานการวิจัย
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาค
เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒนที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันจะมี
ระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05
5.
ขอจํากัดงานวิจัย
รายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการสํารวจระดับเจตคติทางวิทยาศาสตของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน และใชแบบประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรเปรียบเทียบความแตกตางดาน
ระดับการศึกษาและเพศของนักเรียน เทานั้น มิไดเปรียบเทียบทั้งปการศึกษา ทุกระดับชั้นและ
สถานะภาพอื่นๆของนักเรียน ดังนั้น การศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะเนนเฉพาะการเปรียบระดับเจตคติตอ
วิทยาศาสตรของนักเรียนที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันเทานั้นมิไดครอบคลุมปจจัยดานอื่นๆ
ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย
1. เปนการไดรับขอมูลสารสนเทศยอนกลับจากผูเรียนในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการ
เรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตรซึ่งจะชวยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของผูเรียน
2. เปนวิธีการหรือแบบอยางแกครู อาจารย หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ สามารถนําไปใช
เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนตอไป
3. เปนการสงเสริมองคความรูและพื้นฐานความเขาใจของการวิจัยในชั้นเรียนทางดานการศึกษา
ระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน
กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย
ตัวแปรตน
 ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)
 เพศ (ชาย/หญิง)
ตัวแปรตาม
ระดับเจตคติตอวิทยาศาสตร
6.
การวิจัยเชิงสํารวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2555 ที่มีระดับการศึกษาและเพศที่แตกตางกัน โดยใชแบบประเมินเจตคติทาง
วิทยาศาสตรโดยนักเรียนเปนผูประเมินตนเอง ซึ่งมีวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้
ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom action research) ขั้นตอน
การวิจัยประกอบดวย
1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนและ
เครื่องมือในการวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร
2. การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่เปนแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียน
3. การเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรโดยใหนักเรียนกลุมตัวอยาง
เปนผูประเมินตนเอง
4. การวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลการศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาค
เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 ที่มีระดับการศึกษาและเพศที่แตกตางกันโดยการจัดทําเลม
รายงานฉบับสมบูรณ
ประชากรและกลุมตัวอยาง
1. ประชากร ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-
คณิตศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
2. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-
คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 หอง 1 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวน
111 คน โดยการสุมแบบเฉพาะเจาะจง
ตัวแปรในการศึกษาวิจัย
 ตัวแปรตนหรือสิ่งที่ตองการศึกษา ไดแก ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย และ แพศ
 ตัวแปรตามหรือผลที่ตองการศึกษา ไดแก เจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน
ขอมูลที่ใชในการวิจัย
ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย ,สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบแบบ Independent
samples t-test / One way ANOVA ของคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตรเปรียบเทียบระหวาง
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกกษาปที่ 4-6 กับ เพศชายและเพศหญิง จากการใชเครื่องมือที่เปนแบบ
ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรกับนักเรียนกลุมตัวอยาง
7.
เครื่องมือ
1. เครื่องมือ ไดแก แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาตรสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยนักเรียนเปนผูประเมินตนนเอง
2. วิธีการสรางและพัฒนาเครื่องมือ
แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาตรสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยนักเรียนเปนผูประเมินตนนเอง
(1) ศึกษาวิเคราะหเอกสารที่เกี่ยวของกับการประเมินเจตคติทาง
วิทยาศาสตรของนักเรียนทั้งหมด
(2) ดําเนินการออกแบบแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรสําหรับ
นักเรียนใหคลอบคลุมในทุกๆดาน
(3) จัดพิมพแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียนเพื่อใชเก็บ
ขอมูลตอไป
การเก็บรวบรวมขอมูล
การวิจัยครั้งนี้ใชแบบแผนการวิจัยเชิงสํารวจ โดยผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมคะแนนจาก
การทําแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรที่ผูวิจัยสรางขึ้นของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวน 111 คน ซึ่งการเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยไดดําเนินการ ดังนี้
1. จัดทําเอกสารแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาตรสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยนักเรียนเปนผูประเมินตนนเอง
2. เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรูของรายวิชาวิทยาศาสตรทั้งหมดในภาคเรียนที่ 2 ป
การศึกษา 2556 ผูวิจัยไดแจกแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรที่ผูวิจัยจัดทําขึ้น
ใหกับผูเรียนทําดวยตนเองในชั้นเรียนชั่วโมงสุด
3. นําผลคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตรจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรมา
วิเคราะหหาคาความถี่, คารอยละ, คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อบรรยาย
ลักษณะภาพรวมระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนและการทดสอบคาเฉลี่ยแบบ
Independent sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของระดับเจตคติระหวาง
นักเรียนเพศหญิงกับพศชาย และ One way ANOVA เพื่อเปรียบเทียบความแตกตาง
ของระดับเจตคติระหวางนักเรียนระดับชั้น ม.4-6 แลวบันทึกผลลงตารางเก็บรวบรวม
ขอมูล
การวิเคราะหขอมูล
วิเคราะหขอมูล โดยการหาคาความถี่, คารอยละ, คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อ
บรรยายลักษณะภาพรวมระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนและการทดสอบคาเฉลี่ยแบบ
Independent sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของระดับเจตคติระหวางนักเรียนเพศ
8.
หญิงกับพศชาย และ One way ANOVA เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของระดับเจตคติระหวาง
นักเรียนระดับชั้น ม.4-6 ถาพบความแตกตางก็จะนํามาทดสอบเปนรายคูแบบ Scheffe ที่ระดับ
นัยสําคัญ .05
การแปลคะแนนระดับความคิดเห็น
ขอความทางบวก คือ ขอที่ 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17, 19, 21, 23, 25, 27, 30
เห็นดวยอยางยิ่ง = 4 คะแนน
เห็นดวย = 3 คะแนน
ไมแนใจ = 2 คะแนน
ไมเห็นดวย = 1 คะแนน
ขอความทางลบ คือ ขอที่ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22, 24, 26, 28, 29
เห็นดวยอยางยิ่ง = 1 คะแนน
เห็นดวย = 2 คะแนน
ไมแนใจ = 3 คะแนน
ไมเห็นดวย = 4 คะแนน
เกณฑในการตัดสินระดับเจตคติทางวิทยาศาสตร
คาเฉลี่ยมากกวา 3.00 หมายถึง เจตคติทางวิทยาศาสตรระดับสูง
คาเฉลี่ย 2.00-3.00 หมายถึง เจตคติทางวิทยาศาสตรระดับปานกลาง
คาเฉลี่ยนอยกวา 2.00 หมายถึง เจตคติทางวิทยาศาสตรระดับต่ํา
การนําเสนอขอมูล
นําเสนอขอมูลโดยความเรียง ประกอบตารางและแผนภูมิวงกลม/กราฟแทง
9.
การวิจัยในชั้นเรียนเชิงสํารวจเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาภาพรวมของระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน
กลุมตัวอยางในการวิจัย อีกทั้งเพื่อเปรียบเทียบระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุม
ตัวอยางในการวิจัยที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกัน ซึ่งจากการวิจัยในครั้งนี้สามารถวิเคราะห
สรุป อภิปรายผลการศึกษาและขอเสนอแนะได ดังนี้
สรุปผลการวิจัย
1. ลักษณะโดยทั่วไปของนักเรียนกลุมตัวอยางในการวิจัยซึ่งเปนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลา
จารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน เปนเพศชาย จํานวน 18 คน (รอยละ 16.2) และเพศหญิง
จํานวน 93 (รอยละ 83.8) กําลังศึกษาอยูในระดับชั้น ม. 4/1 จํานวน 41 คน (รอยละ 36.9) ม. 5/1
จํานวน 30 คน (รอยละ 27.0) และ ม. 6/1 จํานวน 40 คน (รอยละ 36.0) ดังนั้น กลุมตัวอยางในการ
วิจัยครั้งนี้สวนใหญเปนนักเรียนเพศหญิง และกําลังศึกษาอยูในระดับชั้น ม. 4/1
2. ผลการวิเคราะหคาความถี่และรอยละของผลการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตร โดยรวม
ของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา นักเรียน
สวนใหญมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวย (3 คะแนน) ซึ่งมีจํานวน 17 ขอจากทั้งหมด 30 ขอ (คิด
เปนรอยละ 56.67: ขอ 1, 2, 5, 6, 7, 8, 10, 12, 13, 14, 16, 17, 18, 21, 23, 25, 30) สวนที่
นักเรียนมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยอยางยิ่ง (4 คะแนน) มีจํานวน 10 ขอ จากทั้งหมด 30 ขอ
(คิดเปนรอยละ 33.33: ขอ 3, 4, 9, 15, 20, 22, 24, 26, 28, 29) แตกลับพบวาในขอ 11
วิทยาศาสตรเปนวิชาที่นาเรียนกวาวิชาอื่น ๆ, ขอ 19 ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย
และขอ 27 ขาพเจาชอบวิชาวิทยาศาสตรมากกวาวิชาอื่น ๆ นักเรียนสวนใหญ มีความคิดเห็นอยูใน
ระดับไมแนใจ (2 คะแนน) ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนสวนใหญยังคงมีเจตคติในทางลบตอการเรียน
วิทยาศาสตรในชั้นเรียน นอกจากนี้เมื่อแยกพิจารณาตามความแตกตางดานเพศและระดับการศึกษา
ของนักเรียนก็พบวามีลักษณะแนวโนมที่คลายคลึงกับภาพรวม
3. ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยภาพรวมของนักเรียนกลุม
ตัวอยางระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ป
การศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา มีคาเฉลี่ยเจตคติตอ
วิทยาศาสตรมากที่สุดในขอที่ 4 คือ เรียนวิชาวิทยาศาสตรแลวสามารถนําไปใชพัฒนาตนเองได
10.
( X =3.71, SD = 0.562) และนอยที่สุดในขอที่ 19 คือ ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอ
คอย ( X =2.23, SD = 0.722) ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนรับรูและตระหนักถึงความสําคัญและ
ความจําเปนในการเรียนรูวิทยาศาสตรที่จะทําใหตนเองเกิดการพัฒนาในดานตางๆในอนาคตแต
อยางไรก็ตามธรรมชาติการเรียนรูวิทยาศาสตรซึ่งมีความซับชอน เนื้อหาความรูที่มีจํานวนมากและ
ยากตอการทําความเขาใจจึงทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยสวนใหญไมผานเกณฑการประเมิน
สงผลใหนักเรียนเกิดมีเจตคติในทางลบตอการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตรในชั้นเรียนตามมาดวย ทั้งนี้
ครูผูสอนจึงควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรูในรายวิชา
วิทยาศาสตรใหยืดหยุนและเหมาะสมกับสภาพผูเรียนในปจจุบัน มีการใหกําลังใจ การจูงใจและการ
เสริมแรงตางๆ เชน การสอนซอมเสริม การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
ซึ่งจะเปนการสงวเสริมเจตคติในทางบวกตอการเรียนรูวิทยาศาสตรของผูเรียนใหสูงยิ่งขึ้น
4. ผลการวิเคราะหโดยการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ Independent t – test
ระหวางเพศชายกับเพศหญิงในการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา ผลการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของ
นักเรียนกลุมตัวอยางระหวางเพศหญิงและเพศชายที่มีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ .05 ไดแก ขอ 3 วิทยาศาสตรทําใหคนเรามีเหตุผล พบวา เพศชายมีระดับเจตคติ
ตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง (t =2.610, sig =0.014), ขอ 6 วิทยาศาสตรชวยใหเรียนวิชาอื่นๆได
ดีขึ้น พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย (t =-2.629, sig =0.014), ขอ 12
วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย
(t = -2.128, sig =0.036), ขอ 19 ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย พบวา เพศชายมี
ระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง (t =2.537, sig =0.013) และ ขอ 20 เมื่อผูสอนใหทํา
การทดลองขาพเจามีความเต็มใจที่จะทําจนสําเร็จ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูง
กวาเพศชาย (t =-2.250, sig =0.026) จะเห็นไดวา สวนใหญนักเรียนหญิงมีระดับเจตคติตอ
วิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05
5. ผลการวิเคราะหโดยการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ One Way ANOVA ระหวาง
ระดับการศึกษาที่แตกตางกันในการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา ผลการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของ
นักเรียนกลุมตัวอยางระหวางระดับชั้น ม.4/1, ม.5/1 และ ม.6/1 ที่มีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตร
แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ไดแก ขอ 2 (F =5.683, sig
=0.005), ขอ 10 (F =8.594, sig =0.000), ขอ 11 (F =3.892, sig =0.023), ขอ 12 (F =10.790,
11.
sig =0.000), ขอ 18 (F =13.655, sig =0.000), ขอ 19 (F =5.592, sig =0.005) และ ขอ 22 (F
=4.768, sig =0.010) จากนั้นจึงทําการเปรียบเทียบรายคูแบบ Scheffe ก็พบวา ในขอ 2 ขาพเจา
อยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
.05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.005), ขอ 10 วิทยาศาสตรจะไมทําใหมนุษยเกิดความเครียด คือ ม. 4/1 มี
ระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.000) และ ม.
4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.043), ขอ
11 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่นาเรียนกวาวิชาอื่น ๆ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยาง
มีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.028), ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ คือ ม.
4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.000) และ
ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.041),
ขอ 18 ในชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตรแตละครั้งขาพเจาไมตองการใหหมดเร็ว คือ ม. 4/1 มีระดับเจต
คติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.000) และ ม. 4/1 มีระดับ
เจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.000), ขอ 19 ชั่วโมง
วิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.019) และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตก
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.021) และ ขอ 22 ในชั่วโมงวิทยาศาสตรขาพเจาจะ
ไมแอบอานหนังสือการตูน คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
.05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.012)
อภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไววานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจาร
พิพัฒนที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันจะมีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05 ดังนั้น ผลการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ
Independent t – test ระหวางเพศชายกับเพศหญิงในการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของ
นักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาค
เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน ซึ่งพบความแตกตาง
กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 ไดแก ขอ 3 วิทยาศาสตรทําใหคนเรามีเหตุผล พบวา เพศชายมี
ระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง, ขอ 6 วิทยาศาสตรชวยใหเรียนวิชาอื่นๆไดดีขึ้น พบวา
เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย, ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ
พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย, ขอ 19 ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่
ขาพเจารอคอย พบวา เพศชายมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง และ ขอ 20 เมื่อผูสอน
ใหทําการทดลองขาพเจามีความเต็มใจที่จะทําจนสําเร็จ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอ
12.
วิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย จะเห็นไดวา สวนใหญเพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศ
ชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 หรือที่ความเชื่อมั่น 95% อาจเนื่องมาจากนักเรียนหญิงจะมีความ
ตั้งใจและใสใจตอการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรในชั้นเรียนมากกวานักเรียนชายจึงสงผลใหเกิดเจต
คติในทางบวกเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ผลการวิเคราะหโดยการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ One
Way ANOVA ระหวางระดับการศึกษาที่แตกตางกัน ยังพบวา นักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น ม.4/1,
ม.5/1 และ ม.6/1 จะมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 ในขอ
2, 10, 11, 12, 18, 19 และ 22 และเมื่อทําการเปรียบเทียบรายคูแบบ Scheffe ก็พบวา ในขอ 2
ขาพเจาอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1, ขอ 10 วิทยาศาสตรจะไมทําใหมนุษยเกิดความเครียด คือ ม. 4/1 มีระดับ
เจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทาง
วิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1, ขอ 11 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่นาเรียน
กวาวิชาอื่น ๆ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม.
5/1, ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1, ขอ 18 ในชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตรแตละครั้งขาพเจาไมตองการใหหมด
เร็ว คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ
ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1, ขอ 19 ชั่วโมง
วิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมี
นัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 และ ขอ 22 ในชั่วโมงวิทยาศาสตรขาพเจาจะไมแอบอานหนังสือการตูน คือ
ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 จะเห็นไดวา
สวนใหญนักเรียนระดับชั้น ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05
กับ นักเรียนระดับชั้น ม. 6/1 แสดงวา ประสบการณในการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียน
สงผลตอระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางกันอยางชัดเจน
จากผลการวิจัยสามารถนําไปประยุกตใชในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู
รายวิชาวิทยาศาสตรทั้งพื้นฐานและเพิ่มเติม เพื่อสงเสริมเจตคติตอวิทยาศาสตรทางบวกของผูเรียน
โดยเฉพาะในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ให
สูงขึ้นอยางเหมาะบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลในดานเพศและระดับการศึกษา ซึ่งทําให
ผูเรียนไดพัฒนาตนเองอยางเต็มตามศักยภาพอันจะสงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน
รายวิชาวิทยาศาสตรทั้งในดานความรู ทักษะ และเจตคติ อีกทั้งจะสําเร็จการศึกษาในระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 6 เปนนักเรียนที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ.
2551 กําหนด อีกทั้งยังเปนการสงเสริมองคความรูและเปนพื้นฐานความเขาใจของการวิจัยในชั้นเรียน
13.
ทางดานการศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตรเพื่อสงเสริมพัฒนาศักยภาพผูเรียนใหเปนทรัพยากร
มนุษยที่มีคุณคาของสังคมและประเทศชาติตอไป
ขอเสนอแนะ
1. ขอเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้
1.1 ควรปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่องโดยบันทึกผล
ภายหลังการสอนในแตละครั้ง ซึ่งจะพบจุดที่เปนปญหาและควรดําเนินการแกไขเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนและเจตคติตอวิทยาศาสตรของผูเรียน
1.2 ควรหาวิธีการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมบนพื้นฐานความแตกตางดานเพศและ
ระดับการศึกษาของผูเรียนมาประยุกตใชใหครอบคลุมกับเนื้อหาทุกบทเรียนเพื่อใหเกิดการสงเสริม
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิทยาศาสตรของผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ
2. ขอเสนอแนะเพื่อการทําวิจัยในครั้งตอไป
2.1 ควรทําการวิจัยอยางตอเนื่องในปการศึกษาถัดไปและในระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนตน เพื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาที่มีความแตกตางดานเพศและระดับการศึกษา
2.2 ควรศึกษาสาเหตุปจจัยอื่นๆที่มีผลกระทบทําใหระดับเจตคติทางวิทยาศาสตร
คอนขางนอยหรือเกิดเจตคติทางวิทยาศาสตรในดานลบของผูเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งจะไดขอมูล
เชิงลึกมาใชประกอบการพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาวิธีการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนให
มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
14.
บรรณานุกรม
เอกสารอางอิง
ศ. ดร. สุวิมล วองวาณิช . การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน . พิมพครั้งที่ 14 . กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2553.
รศ. ดร.วรรณี แกมเกตุ . วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร (Research Methodology in
Behavioral Science) . พิมพครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2551.
ผศ. ดร. สัมมา รธนิธย . การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : จากประสบการณสูการปฎิบัติ .
กรุงเทพฯ : ขาวฟาง, 2546.
ผศ. ดร. วรรณิภา จัตุชัย และคณะ . การวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : พล
Copy Service and supply, 2551.
รศ. ดร. เบญจวรรณ กี่สุขพันธ และคณะ . หลักสูตรและการจัดการเรียนรู . กรุงเทพฯ : พล Copy
Service and supply, 2551.
รศ. ดร. สุวิมล ติรกานันท . สถิติและการวิจัยเบื้องตนทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ
มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2554.
รศ. ดร. สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ และคณะ . วิธีการวิเคราะหขอมูลทางการศึกษา 1 . กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ, 2545.
รศ. ดร. สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ และคณะ . ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ
ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2555.
รศ. ดร. สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ . การประเมินผลการศึกษา . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัย
รามคําแหง, 2554.
รศ. ดร. สุวิมล ติรกานันท . การสรางเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร : แนวทางสู
การปฏิบัติ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2550.
สถาบันสงเสริมการสอนคณิตศาสตร : กระทรวงศึกษาธิการ . คูมือครูสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เลม 1 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2548.
ผศ. กานดา พูนลาภทวี . สถิติเพื่อการวิจัย . กรุงเทพฯ : ฟสิกสเซ็นเตอร, 2539.
รศ. ดร. กัลยา วานิชยบัญชา . การใช SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล . กรุงเทพฯ :
บริษัท ธรรมสาร จํากัด, 2548.
สํานักพัฒนาการฝกหัดครู สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ . คูมือการฝกอบรมการวิจัยในชั้นเรียน .
กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเสมาธรรม, 2544.
กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 . กรุงเทพฯ :
โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. 2551.
15.
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการหมาชน). มาตรฐาน ตัวบงชี้ และ
เกณฑการพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่ 2 (พ.ศ.
2549-2553), กรุงเทพฯ.
สํานักงานเลขาธิการคุรุสภาและสถาบันการศึกษาทางไกล สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษา . ชุดการเรียนทางไกล หลักสูตรการวิจัยเพื่อ
พัฒนาการเรียนรู เลม 1-2 (หนวยการเรียนรูที่ 1-9) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.2550.
เว็ปไซตอางอิง
http://www.obec.go.th
http://www3.ipst.ac.th/smtat/index.php/component/content/article/24
http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html
http://www.sirinun.com/lesson1/a6.php
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension2/scientific_concepts_and_principles
/07.html
www.babydope.com/tag/เจตคติทางวิทยาศาสตร/
http://www2.udru.ac.th/~sci102/Data/Unit1/Unit1-6.htm
16.
ประวัติยอผูวิจัย
ชื่อ – นามสกุล : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
วัน/เดือน/ปเกิด : 4 มกราคม พ.ศ. 2527
ที่อยูปจจุบัน : 133 ซอยเจริญนคร 46 ถนนเจริญนคร แขวงบางลําภูลาง
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600
ประวัติการศึกษา :
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปจจุบันกําลังศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาการประเมินและการวิจัย
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง
การทํางานปจจุบัน : ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
16.
ประวัติยอผูวิจัย
ชื่อ – นามสกุล : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
วัน/เดือน/ปเกิด : 4 มกราคม พ.ศ. 2527
ที่อยูปจจุบัน : 133 ซอยเจริญนคร 46 ถนนเจริญนคร แขวงบางลําภูลาง
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600
ประวัติการศึกษา :
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปจจุบันกําลังศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาการประเมินและการวิจัย
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง
การทํางานปจจุบัน : ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
16.
ประวัติยอผูวิจัย
ชื่อ – นามสกุล : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
วัน/เดือน/ปเกิด : 4 มกราคม พ.ศ. 2527
ที่อยูปจจุบัน : 133 ซอยเจริญนคร 46 ถนนเจริญนคร แขวงบางลําภูลาง
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600
ประวัติการศึกษา :
พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ปจจุบันกําลังศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาการประเมินและการวิจัย
คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง
การทํางานปจจุบัน : ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
17.
ภาคผนวก

More Related Content

What's hot

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
Kan Pan
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
Chay Kung
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
Wichai Likitponrak
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
Prachoom Rangkasikorn
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
Preeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ สำหรับการสอบ PISA
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 

Viewers also liked

วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
sarawut chaicharoen
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Wichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1แผนBioม.6 1
แผนBioม.6 1
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์

โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556Lao-puphan Pipatsak
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
Prachoom Rangkasikorn
 
Onet bio 2548_61
Onet bio 2548_61Onet bio 2548_61
Onet bio 2548_61
Wichai Likitponrak
 
Wichaiclassresearch2560
Wichaiclassresearch2560Wichaiclassresearch2560
Wichaiclassresearch2560
Wichai Likitponrak
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
Wichai Likitponrak
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
Kruthai Kidsdee
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
Mayko Chan
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
panida428
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
ปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียน
ปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียนปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียน
ปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียนBenjamat Chantamala
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์ (20)

52101496 1 20130903-135102
52101496 1 20130903-13510252101496 1 20130903-135102
52101496 1 20130903-135102
 
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
Onet bio 2548_61
Onet bio 2548_61Onet bio 2548_61
Onet bio 2548_61
 
Wichaiclassresearch2560
Wichaiclassresearch2560Wichaiclassresearch2560
Wichaiclassresearch2560
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
ปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียน
ปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียนปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียน
ปกสารบัญหลักสูตรระดับชั้นเรียน
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์

  • 1. 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร วิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2556 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร วิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2556 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร วิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2556
  • 2. 2. งานวิจัยในชั้นเรียน (Teacher research) เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร บทคัดยอ : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน “เปนคนดี คนเกง และมีความสุข” หัวใจของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร นอกจากทําใหนักเรียนเขาใจและสรุปองค ความรู ทางวิทยาศาสตรไดอยางถูกตอง ไดพัฒนาการคิดระดับสูง สามารถเชื่อมโยงความรูทาง วิทยาศาสตร กับชีวิตจริงไดแลว ยังตองทําใหนักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตรตามสาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี แตปจจุบันกลับพบวาเจตคติตอวิชาวิทยาศาสตรโดย ภาพรวมของนักเรียนมีแนวโนมในทางลบมากขึ้นเรื่อยๆ สงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร โดยภาพรวมลดลงเชนกัน อีกทั้งผูวิจัยไดรับมอบหมายการสอนรายวิชาชีววิทยาในภาคเรียนที่ 2 ประจําปการศึกษา 2555 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร- คณิตศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบระดับเจตคติทาง วิทยาศาสตรของนักเรียนทีมีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันเพื่อเปนขอมูลสารสนเทศยอนกลับ จากผูเรียนในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคตอไปโดยการ นําแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการวิจัยเชิงสํารวจครั้งนี้ ผล ปรากฏวา สวนใหญนักเรียนหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ .05 แสดงวา นักเรียนหญิงมีความตั้งใจและใสใจตอการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรในชั้น เรียนมากกวานักเรียนนักเรียนชาย นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาความแตกตางในระดับการศึกษา ก็พบวา นักเรียนระดับชั้น ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ นักเรียนระดับชั้น ม. 6/1 แสดงวา ประสบการณในการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียนสงผล ตอระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางกันอยางชัดเจน ซึ่งผูวิจัยจะตองหาแนวทาง ปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับระดับการศึกษาและเพศของนักเรียน โดยภาพรวมเพื่อสงเสริมเจตคติทางวิทยาศาสตรในทางบวกตามวัตถุประสงคของหลักสูตรซึ่งจะชวย ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนอยางตอเนื่องตอไป
  • 3. 3. ความเปนมา และความสําคัญของปญหา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปน กําลังของชาติใหเปนมนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเปน พลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ หรือ “เปนคนดี คนเกง และมีความสุข” หัวใจของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร นอกจากทําใหนักเรียนเขาใจและสรุปองค ความรู ทางวิทยาศาสตรไดอยางถูกตอง ไดพัฒนาการคิดระดับสูง สามารถเชื่อมโยงความรูทาง วิทยาศาสตร กับชีวิตจริงไดแลว ยังตองทําใหนักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตรตามสาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี คือ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร ในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่ แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ดังนั้น การเสริมสราง เจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตรจึงเปนเรื่องสําคัญสําหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในปจจุบัน จากผลการทดสอบความรูพื้นฐานระดับชาติ หรือ O-NET ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 โดยภาพรวมปรากฏวาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานและมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง ซึ่ง สวนหนึ่งอาจมาจากธรรมชาติของววิชาวิทยาศาสตรพื้นฐานที่มีงคประกอบถึง 4 วิชายอย คือ ชีววิทยาพื้นฐาน เคมีพื้นฐาน ฟสิกสพื้นฐาน และโลก ดาราศาสตรและอวกาศพื้นฐาน ซึ่งผูเรียนตอง อาศัยกระบวนการจําและทําความเขาใจในระดับสูงเพราะเนื้อหาวิชามีจํานวนมากทั้งภาคทฤษฎีและ การคํานวณ อีกทั้งสัดสวนคะแนนที่ตองใชในการเขามหาวิทยาลัยยังคอนขางนอย กอใหเกิดเจตคติ ในทางลบและไมเห็นความสําคัญตอวิชาวิทยาศาสตรซึ่งปนอุปสรรคสําคัญยิ่งตอการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนซึ่งเปนนโยบายเรงดวนในการแกไขปญหาการศึกษาระดับชาติ ดังนั้น ผูวิจัยจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบความแตกตางดานเจตคติทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการสรุปทิศทางหรือแนวโนมการ เปลี่ยนแปลงทางดานเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียน ซึ่งจะเปนสารสนเทศยอนกลับสําคัญตอ ผูสอนรายวิชาวิทยาศาสตรในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนใหบรรลุ วัตถุประสงคของหลักสูตร อีกทั้งยังเปนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชาติอีกทางหนึ่งดวย
  • 4. 4. วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาภาพรวมของระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน 3. เปรียบเทียบระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนเพศชายและเพศหญิง โปรแกรม การเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจาร พิพัฒน ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนประเภทการวิจัยเชิงสํารวจระดับเจตคติ ทางวิทยาศาสตรที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกัน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร นิยามเชิงศัพท การเรียนการสอนวิทยาศาสตร หมายถึง การใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยา ศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมี รูปรางที่แนนอนสามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน เจตคติทางวิทยาศาสตร หมายถึง อารมณหรือความรูสึกของผูเรียนตอรายวิชาวิทยาศาสตร อันบังเกิดจากการรับรูตอสิ่งนั้นๆ โดยแสดงพฤติกรรมโนมเอียงอยางใดอยางหนึ่งในรูปการประเมิน เชน ชอบ – ไมชอบในการเรียนวิทยาศาสตร เปนตน สมมติฐานการวิจัย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาค เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒนที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันจะมี ระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05
  • 5. 5. ขอจํากัดงานวิจัย รายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการสํารวจระดับเจตคติทางวิทยาศาสตของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน และใชแบบประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรเปรียบเทียบความแตกตางดาน ระดับการศึกษาและเพศของนักเรียน เทานั้น มิไดเปรียบเทียบทั้งปการศึกษา ทุกระดับชั้นและ สถานะภาพอื่นๆของนักเรียน ดังนั้น การศึกษาวิจัยในครั้งนี้จะเนนเฉพาะการเปรียบระดับเจตคติตอ วิทยาศาสตรของนักเรียนที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันเทานั้นมิไดครอบคลุมปจจัยดานอื่นๆ ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1. เปนการไดรับขอมูลสารสนเทศยอนกลับจากผูเรียนในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการ เรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคของหลักสูตรซึ่งจะชวยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผูเรียน 2. เปนวิธีการหรือแบบอยางแกครู อาจารย หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ สามารถนําไปใช เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนตอไป 3. เปนการสงเสริมองคความรูและพื้นฐานความเขาใจของการวิจัยในชั้นเรียนทางดานการศึกษา ระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย ตัวแปรตน  ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)  เพศ (ชาย/หญิง) ตัวแปรตาม ระดับเจตคติตอวิทยาศาสตร
  • 6. 6. การวิจัยเชิงสํารวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 ที่มีระดับการศึกษาและเพศที่แตกตางกัน โดยใชแบบประเมินเจตคติทาง วิทยาศาสตรโดยนักเรียนเปนผูประเมินตนเอง ซึ่งมีวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้ ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom action research) ขั้นตอน การวิจัยประกอบดวย 1. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนและ เครื่องมือในการวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร 2. การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่เปนแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียน 3. การเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรโดยใหนักเรียนกลุมตัวอยาง เปนผูประเมินตนเอง 4. การวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลการศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาค เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 ที่มีระดับการศึกษาและเพศที่แตกตางกันโดยการจัดทําเลม รายงานฉบับสมบูรณ ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร- คณิตศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน 2. กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร- คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 หอง 1 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวน 111 คน โดยการสุมแบบเฉพาะเจาะจง ตัวแปรในการศึกษาวิจัย  ตัวแปรตนหรือสิ่งที่ตองการศึกษา ไดแก ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย และ แพศ  ตัวแปรตามหรือผลที่ตองการศึกษา ไดแก เจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ขอมูลที่ใชในการวิจัย ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย ,สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบแบบ Independent samples t-test / One way ANOVA ของคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตรเปรียบเทียบระหวาง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกกษาปที่ 4-6 กับ เพศชายและเพศหญิง จากการใชเครื่องมือที่เปนแบบ ประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรกับนักเรียนกลุมตัวอยาง
  • 7. 7. เครื่องมือ 1. เครื่องมือ ไดแก แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาตรสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยนักเรียนเปนผูประเมินตนนเอง 2. วิธีการสรางและพัฒนาเครื่องมือ แบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาตรสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยนักเรียนเปนผูประเมินตนนเอง (1) ศึกษาวิเคราะหเอกสารที่เกี่ยวของกับการประเมินเจตคติทาง วิทยาศาสตรของนักเรียนทั้งหมด (2) ดําเนินการออกแบบแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรสําหรับ นักเรียนใหคลอบคลุมในทุกๆดาน (3) จัดพิมพแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรสําหรับนักเรียนเพื่อใชเก็บ ขอมูลตอไป การเก็บรวบรวมขอมูล การวิจัยครั้งนี้ใชแบบแผนการวิจัยเชิงสํารวจ โดยผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมคะแนนจาก การทําแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรที่ผูวิจัยสรางขึ้นของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4-6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวน 111 คน ซึ่งการเก็บรวบรวมขอมูลผูวิจัยไดดําเนินการ ดังนี้ 1. จัดทําเอกสารแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาตรสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยนักเรียนเปนผูประเมินตนนเอง 2. เมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนรูของรายวิชาวิทยาศาสตรทั้งหมดในภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2556 ผูวิจัยไดแจกแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรที่ผูวิจัยจัดทําขึ้น ใหกับผูเรียนทําดวยตนเองในชั้นเรียนชั่วโมงสุด 3. นําผลคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตรจากแบบประเมินเจตคติทางวิทยาศาสตรมา วิเคราะหหาคาความถี่, คารอยละ, คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อบรรยาย ลักษณะภาพรวมระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนและการทดสอบคาเฉลี่ยแบบ Independent sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของระดับเจตคติระหวาง นักเรียนเพศหญิงกับพศชาย และ One way ANOVA เพื่อเปรียบเทียบความแตกตาง ของระดับเจตคติระหวางนักเรียนระดับชั้น ม.4-6 แลวบันทึกผลลงตารางเก็บรวบรวม ขอมูล การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูล โดยการหาคาความถี่, คารอยละ, คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อ บรรยายลักษณะภาพรวมระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนและการทดสอบคาเฉลี่ยแบบ Independent sample t-test เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของระดับเจตคติระหวางนักเรียนเพศ
  • 8. 8. หญิงกับพศชาย และ One way ANOVA เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของระดับเจตคติระหวาง นักเรียนระดับชั้น ม.4-6 ถาพบความแตกตางก็จะนํามาทดสอบเปนรายคูแบบ Scheffe ที่ระดับ นัยสําคัญ .05 การแปลคะแนนระดับความคิดเห็น ขอความทางบวก คือ ขอที่ 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17, 19, 21, 23, 25, 27, 30 เห็นดวยอยางยิ่ง = 4 คะแนน เห็นดวย = 3 คะแนน ไมแนใจ = 2 คะแนน ไมเห็นดวย = 1 คะแนน ขอความทางลบ คือ ขอที่ 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22, 24, 26, 28, 29 เห็นดวยอยางยิ่ง = 1 คะแนน เห็นดวย = 2 คะแนน ไมแนใจ = 3 คะแนน ไมเห็นดวย = 4 คะแนน เกณฑในการตัดสินระดับเจตคติทางวิทยาศาสตร คาเฉลี่ยมากกวา 3.00 หมายถึง เจตคติทางวิทยาศาสตรระดับสูง คาเฉลี่ย 2.00-3.00 หมายถึง เจตคติทางวิทยาศาสตรระดับปานกลาง คาเฉลี่ยนอยกวา 2.00 หมายถึง เจตคติทางวิทยาศาสตรระดับต่ํา การนําเสนอขอมูล นําเสนอขอมูลโดยความเรียง ประกอบตารางและแผนภูมิวงกลม/กราฟแทง
  • 9. 9. การวิจัยในชั้นเรียนเชิงสํารวจเรื่องการศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาภาพรวมของระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน กลุมตัวอยางในการวิจัย อีกทั้งเพื่อเปรียบเทียบระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุม ตัวอยางในการวิจัยที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกัน ซึ่งจากการวิจัยในครั้งนี้สามารถวิเคราะห สรุป อภิปรายผลการศึกษาและขอเสนอแนะได ดังนี้ สรุปผลการวิจัย 1. ลักษณะโดยทั่วไปของนักเรียนกลุมตัวอยางในการวิจัยซึ่งเปนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลา จารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน เปนเพศชาย จํานวน 18 คน (รอยละ 16.2) และเพศหญิง จํานวน 93 (รอยละ 83.8) กําลังศึกษาอยูในระดับชั้น ม. 4/1 จํานวน 41 คน (รอยละ 36.9) ม. 5/1 จํานวน 30 คน (รอยละ 27.0) และ ม. 6/1 จํานวน 40 คน (รอยละ 36.0) ดังนั้น กลุมตัวอยางในการ วิจัยครั้งนี้สวนใหญเปนนักเรียนเพศหญิง และกําลังศึกษาอยูในระดับชั้น ม. 4/1 2. ผลการวิเคราะหคาความถี่และรอยละของผลการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตร โดยรวม ของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา นักเรียน สวนใหญมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวย (3 คะแนน) ซึ่งมีจํานวน 17 ขอจากทั้งหมด 30 ขอ (คิด เปนรอยละ 56.67: ขอ 1, 2, 5, 6, 7, 8, 10, 12, 13, 14, 16, 17, 18, 21, 23, 25, 30) สวนที่ นักเรียนมีความคิดเห็นอยูในระดับเห็นดวยอยางยิ่ง (4 คะแนน) มีจํานวน 10 ขอ จากทั้งหมด 30 ขอ (คิดเปนรอยละ 33.33: ขอ 3, 4, 9, 15, 20, 22, 24, 26, 28, 29) แตกลับพบวาในขอ 11 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่นาเรียนกวาวิชาอื่น ๆ, ขอ 19 ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย และขอ 27 ขาพเจาชอบวิชาวิทยาศาสตรมากกวาวิชาอื่น ๆ นักเรียนสวนใหญ มีความคิดเห็นอยูใน ระดับไมแนใจ (2 คะแนน) ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนสวนใหญยังคงมีเจตคติในทางลบตอการเรียน วิทยาศาสตรในชั้นเรียน นอกจากนี้เมื่อแยกพิจารณาตามความแตกตางดานเพศและระดับการศึกษา ของนักเรียนก็พบวามีลักษณะแนวโนมที่คลายคลึงกับภาพรวม 3. ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยภาพรวมของนักเรียนกลุม ตัวอยางระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา มีคาเฉลี่ยเจตคติตอ วิทยาศาสตรมากที่สุดในขอที่ 4 คือ เรียนวิชาวิทยาศาสตรแลวสามารถนําไปใชพัฒนาตนเองได
  • 10. 10. ( X =3.71, SD = 0.562) และนอยที่สุดในขอที่ 19 คือ ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอ คอย ( X =2.23, SD = 0.722) ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนรับรูและตระหนักถึงความสําคัญและ ความจําเปนในการเรียนรูวิทยาศาสตรที่จะทําใหตนเองเกิดการพัฒนาในดานตางๆในอนาคตแต อยางไรก็ตามธรรมชาติการเรียนรูวิทยาศาสตรซึ่งมีความซับชอน เนื้อหาความรูที่มีจํานวนมากและ ยากตอการทําความเขาใจจึงทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยสวนใหญไมผานเกณฑการประเมิน สงผลใหนักเรียนเกิดมีเจตคติในทางลบตอการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตรในชั้นเรียนตามมาดวย ทั้งนี้ ครูผูสอนจึงควรมีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลการเรียนรูในรายวิชา วิทยาศาสตรใหยืดหยุนและเหมาะสมกับสภาพผูเรียนในปจจุบัน มีการใหกําลังใจ การจูงใจและการ เสริมแรงตางๆ เชน การสอนซอมเสริม การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งจะเปนการสงวเสริมเจตคติในทางบวกตอการเรียนรูวิทยาศาสตรของผูเรียนใหสูงยิ่งขึ้น 4. ผลการวิเคราะหโดยการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ Independent t – test ระหวางเพศชายกับเพศหญิงในการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา ผลการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของ นักเรียนกลุมตัวอยางระหวางเพศหญิงและเพศชายที่มีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ .05 ไดแก ขอ 3 วิทยาศาสตรทําใหคนเรามีเหตุผล พบวา เพศชายมีระดับเจตคติ ตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง (t =2.610, sig =0.014), ขอ 6 วิทยาศาสตรชวยใหเรียนวิชาอื่นๆได ดีขึ้น พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย (t =-2.629, sig =0.014), ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย (t = -2.128, sig =0.036), ขอ 19 ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย พบวา เพศชายมี ระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง (t =2.537, sig =0.013) และ ขอ 20 เมื่อผูสอนใหทํา การทดลองขาพเจามีความเต็มใจที่จะทําจนสําเร็จ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูง กวาเพศชาย (t =-2.250, sig =0.026) จะเห็นไดวา สวนใหญนักเรียนหญิงมีระดับเจตคติตอ วิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 5. ผลการวิเคราะหโดยการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ One Way ANOVA ระหวาง ระดับการศึกษาที่แตกตางกันในการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน พบวา ผลการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของ นักเรียนกลุมตัวอยางระหวางระดับชั้น ม.4/1, ม.5/1 และ ม.6/1 ที่มีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตร แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ไดแก ขอ 2 (F =5.683, sig =0.005), ขอ 10 (F =8.594, sig =0.000), ขอ 11 (F =3.892, sig =0.023), ขอ 12 (F =10.790,
  • 11. 11. sig =0.000), ขอ 18 (F =13.655, sig =0.000), ขอ 19 (F =5.592, sig =0.005) และ ขอ 22 (F =4.768, sig =0.010) จากนั้นจึงทําการเปรียบเทียบรายคูแบบ Scheffe ก็พบวา ในขอ 2 ขาพเจา อยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.005), ขอ 10 วิทยาศาสตรจะไมทําใหมนุษยเกิดความเครียด คือ ม. 4/1 มี ระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.000) และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.043), ขอ 11 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่นาเรียนกวาวิชาอื่น ๆ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.028), ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.000) และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.041), ขอ 18 ในชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตรแตละครั้งขาพเจาไมตองการใหหมดเร็ว คือ ม. 4/1 มีระดับเจต คติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.000) และ ม. 4/1 มีระดับ เจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.000), ขอ 19 ชั่วโมง วิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 (sig= 0.019) และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.021) และ ขอ 22 ในชั่วโมงวิทยาศาสตรขาพเจาจะ ไมแอบอานหนังสือการตูน คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 (sig= 0.012) อภิปรายผลการวิจัย ผลการวิจัยสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไววานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจาร พิพัฒนที่มีระดับการศึกษาและเพศแตกตางกันจะมีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05 ดังนั้น ผลการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ Independent t – test ระหวางเพศชายกับเพศหญิงในการประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรของ นักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาค เรียนที่ 2 ปการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จํานวนทั้งหมด 111 คน ซึ่งพบความแตกตาง กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 ไดแก ขอ 3 วิทยาศาสตรทําใหคนเรามีเหตุผล พบวา เพศชายมี ระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง, ขอ 6 วิทยาศาสตรชวยใหเรียนวิชาอื่นๆไดดีขึ้น พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย, ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย, ขอ 19 ชั่วโมงวิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ ขาพเจารอคอย พบวา เพศชายมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศหญิง และ ขอ 20 เมื่อผูสอน ใหทําการทดลองขาพเจามีความเต็มใจที่จะทําจนสําเร็จ พบวา เพศหญิงมีระดับเจตคติตอ
  • 12. 12. วิทยาศาสตรสูงกวาเพศชาย จะเห็นไดวา สวนใหญเพศหญิงมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวาเพศ ชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 หรือที่ความเชื่อมั่น 95% อาจเนื่องมาจากนักเรียนหญิงจะมีความ ตั้งใจและใสใจตอการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรในชั้นเรียนมากกวานักเรียนชายจึงสงผลใหเกิดเจต คติในทางบวกเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ผลการวิเคราะหโดยการทดสอบทางสถิติของคาเฉลี่ยแบบ One Way ANOVA ระหวางระดับการศึกษาที่แตกตางกัน ยังพบวา นักเรียนกลุมตัวอยางระดับชั้น ม.4/1, ม.5/1 และ ม.6/1 จะมีระดับเจตคติตอวิทยาศาสตรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 ในขอ 2, 10, 11, 12, 18, 19 และ 22 และเมื่อทําการเปรียบเทียบรายคูแบบ Scheffe ก็พบวา ในขอ 2 ขาพเจาอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1, ขอ 10 วิทยาศาสตรจะไมทําใหมนุษยเกิดความเครียด คือ ม. 4/1 มีระดับ เจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทาง วิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1, ขอ 11 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่นาเรียน กวาวิชาอื่น ๆ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1, ขอ 12 วิทยาศาสตรเปนวิชาที่ไมนาเบื่อ คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1, ขอ 18 ในชั่วโมงการเรียนวิทยาศาสตรแตละครั้งขาพเจาไมตองการใหหมด เร็ว คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1, ขอ 19 ชั่วโมง วิทยาศาสตรเปนชั่วโมงที่ขาพเจารอคอย คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมี นัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 5/1 และ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 และ ขอ 22 ในชั่วโมงวิทยาศาสตรขาพเจาจะไมแอบอานหนังสือการตูน คือ ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ ม. 6/1 จะเห็นไดวา สวนใหญนักเรียนระดับชั้น ม. 4/1 มีระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรแตกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05 กับ นักเรียนระดับชั้น ม. 6/1 แสดงวา ประสบการณในการเรียนรูรายวิชาวิทยาศาสตรของผูเรียน สงผลตอระดับเจตคติทางวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางกันอยางชัดเจน จากผลการวิจัยสามารถนําไปประยุกตใชในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู รายวิชาวิทยาศาสตรทั้งพื้นฐานและเพิ่มเติม เพื่อสงเสริมเจตคติตอวิทยาศาสตรทางบวกของผูเรียน โดยเฉพาะในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ให สูงขึ้นอยางเหมาะบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลในดานเพศและระดับการศึกษา ซึ่งทําให ผูเรียนไดพัฒนาตนเองอยางเต็มตามศักยภาพอันจะสงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน รายวิชาวิทยาศาสตรทั้งในดานความรู ทักษะ และเจตคติ อีกทั้งจะสําเร็จการศึกษาในระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 เปนนักเรียนที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 กําหนด อีกทั้งยังเปนการสงเสริมองคความรูและเปนพื้นฐานความเขาใจของการวิจัยในชั้นเรียน
  • 13. 13. ทางดานการศึกษาเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โปรแกรมการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตรเพื่อสงเสริมพัฒนาศักยภาพผูเรียนใหเปนทรัพยากร มนุษยที่มีคุณคาของสังคมและประเทศชาติตอไป ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้ 1.1 ควรปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่องโดยบันทึกผล ภายหลังการสอนในแตละครั้ง ซึ่งจะพบจุดที่เปนปญหาและควรดําเนินการแกไขเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและเจตคติตอวิทยาศาสตรของผูเรียน 1.2 ควรหาวิธีการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมบนพื้นฐานความแตกตางดานเพศและ ระดับการศึกษาของผูเรียนมาประยุกตใชใหครอบคลุมกับเนื้อหาทุกบทเรียนเพื่อใหเกิดการสงเสริม พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิทยาศาสตรของผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ขอเสนอแนะเพื่อการทําวิจัยในครั้งตอไป 2.1 ควรทําการวิจัยอยางตอเนื่องในปการศึกษาถัดไปและในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนตน เพื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาที่มีความแตกตางดานเพศและระดับการศึกษา 2.2 ควรศึกษาสาเหตุปจจัยอื่นๆที่มีผลกระทบทําใหระดับเจตคติทางวิทยาศาสตร คอนขางนอยหรือเกิดเจตคติทางวิทยาศาสตรในดานลบของผูเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งจะไดขอมูล เชิงลึกมาใชประกอบการพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาวิธีการจัดการเรียนรูในชั้นเรียนให มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น
  • 14. 14. บรรณานุกรม เอกสารอางอิง ศ. ดร. สุวิมล วองวาณิช . การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน . พิมพครั้งที่ 14 . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2553. รศ. ดร.วรรณี แกมเกตุ . วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร (Research Methodology in Behavioral Science) . พิมพครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2551. ผศ. ดร. สัมมา รธนิธย . การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู : จากประสบการณสูการปฎิบัติ . กรุงเทพฯ : ขาวฟาง, 2546. ผศ. ดร. วรรณิภา จัตุชัย และคณะ . การวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : พล Copy Service and supply, 2551. รศ. ดร. เบญจวรรณ กี่สุขพันธ และคณะ . หลักสูตรและการจัดการเรียนรู . กรุงเทพฯ : พล Copy Service and supply, 2551. รศ. ดร. สุวิมล ติรกานันท . สถิติและการวิจัยเบื้องตนทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2554. รศ. ดร. สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ และคณะ . วิธีการวิเคราะหขอมูลทางการศึกษา 1 . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ, 2545. รศ. ดร. สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ และคณะ . ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ ศูนยสงเสริมวิชาการ, 2555. รศ. ดร. สุรศักดิ์ อมรรัตนศักดิ์ . การประเมินผลการศึกษา . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมหาวิทยาลัย รามคําแหง, 2554. รศ. ดร. สุวิมล ติรกานันท . การสรางเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร : แนวทางสู การปฏิบัติ . กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2550. สถาบันสงเสริมการสอนคณิตศาสตร : กระทรวงศึกษาธิการ . คูมือครูสาระการเรียนรูคณิตศาสตร พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เลม 1 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2548. ผศ. กานดา พูนลาภทวี . สถิติเพื่อการวิจัย . กรุงเทพฯ : ฟสิกสเซ็นเตอร, 2539. รศ. ดร. กัลยา วานิชยบัญชา . การใช SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล . กรุงเทพฯ : บริษัท ธรรมสาร จํากัด, 2548. สํานักพัฒนาการฝกหัดครู สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ . คูมือการฝกอบรมการวิจัยในชั้นเรียน . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพเสมาธรรม, 2544. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. 2551.
  • 15. 15. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการหมาชน). มาตรฐาน ตัวบงชี้ และ เกณฑการพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่ 2 (พ.ศ. 2549-2553), กรุงเทพฯ. สํานักงานเลขาธิการคุรุสภาและสถาบันการศึกษาทางไกล สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษา . ชุดการเรียนทางไกล หลักสูตรการวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนรู เลม 1-2 (หนวยการเรียนรูที่ 1-9) . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.2550. เว็ปไซตอางอิง http://www.obec.go.th http://www3.ipst.ac.th/smtat/index.php/component/content/article/24 http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html http://www.sirinun.com/lesson1/a6.php http://www.baanjomyut.com/library_2/extension2/scientific_concepts_and_principles /07.html www.babydope.com/tag/เจตคติทางวิทยาศาสตร/ http://www2.udru.ac.th/~sci102/Data/Unit1/Unit1-6.htm
  • 16. 16. ประวัติยอผูวิจัย ชื่อ – นามสกุล : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ วัน/เดือน/ปเกิด : 4 มกราคม พ.ศ. 2527 ที่อยูปจจุบัน : 133 ซอยเจริญนคร 46 ถนนเจริญนคร แขวงบางลําภูลาง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 ประวัติการศึกษา : พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปจจุบันกําลังศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง การทํางานปจจุบัน : ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน 16. ประวัติยอผูวิจัย ชื่อ – นามสกุล : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ วัน/เดือน/ปเกิด : 4 มกราคม พ.ศ. 2527 ที่อยูปจจุบัน : 133 ซอยเจริญนคร 46 ถนนเจริญนคร แขวงบางลําภูลาง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 ประวัติการศึกษา : พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปจจุบันกําลังศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง การทํางานปจจุบัน : ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน 16. ประวัติยอผูวิจัย ชื่อ – นามสกุล : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ วัน/เดือน/ปเกิด : 4 มกราคม พ.ศ. 2527 ที่อยูปจจุบัน : 133 ซอยเจริญนคร 46 ถนนเจริญนคร แขวงบางลําภูลาง เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 ประวัติการศึกษา : พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกรียตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปจจุบันกําลังศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาการประเมินและการวิจัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง การทํางานปจจุบัน : ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน