SlideShare a Scribd company logo
Toolkit for 21st
Century
วิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (Biology)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (โปรแกรมการเรียนวิทย์-คณิต)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
คานา
แบบบันทึกการเรียนรู้ตามแนวทางของเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (Toolkit
for 21st
Century) ประกอบการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง
บทนาทางชีววิทยา (introduction of biology) รายวิชาชีววิทยา 1 (ว31241) กลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ฉบับนี้จัดทาขึ้นตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครูผู้สอนไดพัฒนาขึ้นจากปญหาที่เกิด
ขึ้นกับนักเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ส่วนยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและส่วน
ใหญ่มีแจตคติต่อวิทยาศาสตร์ในทางบวกค่อนข้างน้อย จึงทาให้ครูผู้สอนได้ศึกษาแนวคิดการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งสรางและพัฒนาแบบบันทึกการ
เรียนรู้ตามแนวทางของเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ประกอบการจัดการเรียนรู้ 8
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา โดยมีรูปแบบขั้นตอนการ
นาเสนอเพื่อใหผูเรียนได้เรียนรูจากกิจกรรมการปฏิบัติจริงด้วยตนเองโดยการทางานร่วมกันเป็นทีม
อย่างต่อเนื่องในรูปแบบการเรียนรู้โครงงาน (Project base learning) ซึ่งการกาหนดกิจกรรมการ
เรียนรูที่นาสนใจใหสอดคลองกับ จุดประสงคและเนนความสนใจตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้
ครูผู้สอนหวังเปนอยางยิ่งวาแบบบันทึกการเรียนรู้ตามแนวทางของเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 ประกอบการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง บทนา
ทางชีววิทยา จะเป็นประโยชนในการพัฒนาการการเรียนรู้ทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติ
ทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในอนาคตต่อไป
วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูผู้สอน
สาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ
ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไป
ใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ผลการเรียนรู้: สามารถอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการศึกษาชีววิทยา
ได้อย่างถูกต้อง
สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ผลการเรียนรู้: สามารถบอกส่วนประกอบและประเถทของกล้องจุลทรรศน์พร้อมประยุกต์ใช้ในการศึกษา
ทางด้านชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว.8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา
รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ขั้นตอนการสารวจชุมชนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
แบบสอบถาม
คาถามนา นักเรียนคิดคาถาม คาตอบที่ได้
ใคร
ทาอะไร
ที่ไหน
กับใคร
เมื่อไร
ทาไม
อย่างไร
คู่มือนักสารวจ
สถานที่.............................................................................................................วันที่.............................................
วัตถุประสงค์ของการสารวจในครั้งนี้ คือ ..............................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
เลือกวิธีการในการสารวจชุมชน
วิธีการ เลือก รายละเอียดที่จะสารวจ สิ่งที่ต้องเตรียม
สังเกตและจดบันทึก
วาดภาพหรือถ่ายภาพ
บริเวณพื้นที่ที่สารวจ
ระบุรายละเอียด
พูดคุยกับคนในชุมชน
อื่นๆ (ระบุ)
…………………………………
บันทึกสิ่งที่สารวจพบโดยการวาดภาพ
บันทึกความรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ผังมโนภาพจากสิ่งที่นักเรียนสนใจ
ตารางสรุปความคิดของตนเอง
หัวข้อ สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม วิธีการเรียนรู้
ตารางบันทึกการระดมความคิดเห็นของกลุ่ม
ชื่อนักเรียน ความคิดเห็น เหตุผล
ตารางบันทึกการออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน
กิจกรรม ความคิด
นักเรียน
ความคิดครู สรุปการเรียนรู้
ร่วมกัน
จุดประสงค์การ
เรียนรู้
การประเมินผล
KPA
แบบประเมินตนเอง
สิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ทาได้ดี
ส่งที่ต้องปรับปรุงแก้ไข สิ่งที่ด้องเรียนรู้เพิ่มเติม
ฝึกทักษะด้านกระบวนการศึกษาทางชีววิทยา
คำชี้แจง ให้นักเรียนในกลุ่มช่วยกันสังเกตภำพที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยำที่ได้รับและร่วมมือกันทำใบงำนชิ้นนี้
ให้สมบูรณ์
1. สิ่งที่สังเกตเห็น (เขียนมำอย่ำงน้อย 5 ข้อ)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
2. ตั้งคำถำมข้อสงสัยจำกภำพที่สังเกต (เขียนมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
3. ตั้งสมมติฐำน/คำตอบที่เป็นไปได้(เขียนมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
4. ออกแบบวิธีกำรตรวจสอบสมมติฐำน
4.1 ตัวแปรต้น คือ.......................... ตัวแปรตำม คือ ...........................ตัวแปรควบคุม คือ ................................
4.2 กลุ่มทดลอง คือ ...........................................................กลุ่มควบคุม คือ ....................................................
4.3 รูปกำรออกแบบ
5. กำรวิเรครำะห์ผลกำร ทดลอง/รูปแบบที่จะนำเสนอในรำยงำนโครงงำน (เขียนมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ)
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
6. สรุปผลที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรทดลอง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
ตัวอย่างภาพที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยา
ภำพที่ 1 ภำพที่ 2
ภำพที่ 3 ภำพที่ 4
ภำพที่ 5 ภำพที่ 6
เค้าโครงโครงงาน
1. ชื่อโครงงาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. คณะผู้ทาโครงงาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. จุดมุ่งหมาย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. สมมติฐานของการศึกษา
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
7. วิธีดาเนินงาน
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
- แผนปฏิบัติงาน
ขั้นตอนในการทา
โครงงาน
ระยะเวลาในการทาโครงงาน
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
9. เอกสารอ้างอิง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ตารางบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้และการต่อยอดองค์ความรู้
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ การต่อยอดองค์ความรู้
ผังมโนภาพจากสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้
หน่วยที่ 1
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ทบทวนเข้าใจแล้วมาลุย
แบบฝึ กหัดกันเลยนะครับ
คาถามท้ายหน่วยที่ 1 ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้
1. ชีววิทยำ (Biology) หมำยถึงอะไร
2. กำรศึกษำชีววิทยำสำมำรถทำได้กี่ระดับ อะไรบ้ำง
3. นักเรียนลองยกตัวอย่ำงกำรประยุกต์ใช้ควำมรู้ทำงชีววิทยำในชีวิตประจำวัน (3 ตัวอย่ำง)
4. คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตมีอะไรบ้ำง พร้อมอธิบำยพอสังเขป
สู้ๆๆๆๆ เพื่อ
เกรด 4 ของเรา
หน่วยที่ 2
การศึกษาชีววิทยา
ชีววิทยำ หมำยถึง กำรศึกษำควำมคิดของคนที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต หรือวิชำที่ว่ำด้วยควำมคิดของคน
เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตอย่ำงมีเหตุผลทำงวิทยำศำสตร์
องค์ประกอบของชีววิทยา
1. ควำมรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
- จำแนกตำมธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต : สัตววิทยำ ,พฤกษศำสตร์ ,จุลชีววิทยำ
- จำแนกตำมหน้ำที่และกำรทำงำนของสิ่งมีชีวิต : สรีรวิทยำ ,คัพภะวิทยำ ,พันธุศำสตร์
2. กระบวนกำรศึกษำที่ใช้ในกำรศึกษำ (กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์)
- กำหนดปัญหำ
- ตั้งสมมติฐำน : คำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดของปัญหำ
- ตรวจสอบสมมติฐำน : กำหนดตัวแปร, ทำกำรทดลอง
- แปลและวิเครำะห์ข้อมูล : กำรบรรยำยลักษณะของข้อมูลที่ได้
- สรุปผล: กำรนำข้อมูลที่ได้จำกกำรทดลองมำสรุปว่ำสอดคล้องกับสมมติฐำนหรือไม่
@ ข้อควรระวัง
ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำทำงด้ำนวิทยำศำสตร์สำมำรถแยกได้เป็นหลำยประเภทดังนี้
- ข้อเท็จจริง หรือ ข้อมูล คือ สิ่งที่ได้จำกกำรสังเกต
- สมมติฐำน คือ ผล หรือ คำตอบที่อำจเป็นไปได้ของปัญหำ
- ทฤษฎีเป็นข้อสรุปที่ได้รับกำรยืนยันจำกผลกำรทดลอง ซึ่งอำจเปลี่ยนแปลงได้ถ้ำผลกำรทดลองครั้งใหม่
เปลี่ยนไปจำกเดิม
- กฎเป็นข้อสรุปที่ได้รับกำรพิสูจน์ยืนยันหลำยๆครั้งในสภำวะที่แตกต่ำงกัน
ขอบข่ายของวิชาชีววิทยา
ชีววิทยำแบ่งออกเป็นสำขำต่ำงๆมำกมำย ขึ้นอยู่กับวิธีกำรจำแนกที่แตกต่ำงกันโดยทั่วไปมักแบ่งออกได้ดังนี้
1. จำแนกตำมธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต ได้เป็นแขนงต่ำงๆ คือ
- พฤกษศำสตร์ (Botany) เป็นวิชำที่ศึกษำเกี่ยวกับพืช เช่น Agrostology (ศึกษำเกี่ยวกับหญ้ำ)
Pteridology (ศึกษำเกี่ยวกับเฟิร์น) เป็นต้น
- สัตววิทยำ (Zoology) เป็นวิชำที่ศึกษำเกี่ยวกับเรื่องรำวของสัตว์เช่น Icthyology (มีนวิทยำ – ศึกษำ
เกี่ยวกับปลำ Entomology (กีฏวิทยำ – ศึกษำเกี่ยวกับแมลง)
- จุลชีววิทยำ (Microbiology) เป็นวิชำที่ศึกษำเรื่องรำวของจุลินทรีย์เช่น Mycology (กำรศึกษำ
เกี่ยวกับเห็ดรำ) Bacteriology (กำรศึกษำเกี่ยวกับแบคทีเรีย)
2. จำแนกตำมหน้ำที่และกำรทำงำนของสิ่งมีชีวิต เป็นสำขำต่ำงๆ ดังนี้
- สำขำวิชำที่ศึกษำสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย เช่น สัณฐำนวิทยำ (Morphology) ศึกษำเกี่ยวกับลักษณะ
และโครงสร้ำงองค์ประกอบภำยนอกของสิ่งมีชีวิต, กำยวิภำคศำสตร์ (Anatomy) ศึกษำเกี่ยวกับลักษณะและ
โครงสร้ำงองค์ประกอบภำยในของสิ่งมีชีวิต, สรีรวิทยำ (Physiology) ศึกษำเกี่ยวกับหน้ำที่และกำรทำงำน
ขององค์ประกอบสิ่งมีชีวิต นอกจำกนี้ยังมีสำขำวิชำอื่นๆ เช่น คัพภะวิทยำ (Embryology) วิทยำเอนโดคริน
(Endocrinology)
- สำขำวิชำที่ศึกษำถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น อนุกรมวิธำนวิทยำ (Taxonomy)
ศึกษำเกี่ยวกับกำรจำแนกหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต นอกจำกนั้นยังมีสำขำอื่นๆ เช่น นิเวศวิทยำ (Ecology)
พันธุศำสตร์ (Genetics)
ความพยายามอยู่ที่ไหน
ความสาเร็จอยู่ที่นั้น
คาถามท้ายหน่วยที่ 2 ให้นักเรียนตอบคำถำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้
1. วิชำชีววิทยำมีกี่องค์ประกอบอะไรบ้ำง
2. องค์ควำมรู้ทำงชีววิทยำสำมำรถแยกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้ำง
3. กระบวนกำรที่ใช้ในกำรศึกษำชีววิทยำ เรียกว่ำอะไร มีขั้นตอนอย่ำงไรบ้ำง
4. ขอบข่ำยของชีววิทยำโดยทั่วไปจำแนกได้อย่ำงไร จงอธิบำยมำพอสังเขป
5. จงอธิบำยควำมแตกต่ำงระหว่ำงสำขำวิชำสัณฐำนวิทยำ, กำยวิภำคศำสตร์และสรีรวิทยำ
6. จงยกตัวอย่ำงสำขำวิชำที่ต้องศึกษำถึงสิ่งมีชีวิตเป็นกลุ่มหรือเป็นหมู่ (3 ตัวอย่ำง)
เราจะตั้งใจทาอย่างสุด
ความสามารถ
หน่วยที่ 3
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งในกำรศึกษำชีววิทยำเนื่องจำกเป็นเครื่องมือที่
ช่วยทำให้นักวิทยำศำสตร์สำมำรถมองเห็นสิ่งมีชีวิตและโครงสร้ำงของสิ่งมีชีวิตที่มีขนำดเล็กมำกๆได้จึงทำ
ให้เกิดกำรค้นพบและได้รับควำมรู้มำกมำย กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ
1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็นแบบใช้แสงธรรมดำหรืออำจเรียกได้ว่ำกล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์
ประกอบ (Compound microscope) ทั้งชนิดที่ใช้แสงสว่ำงตำมธรรมชำติและชนิดที่ใช้ไฟฟ้ำและแบบใช้
แสงสเตอริโอ (Stereoscopic microscope)
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้มี 2 แบบ คือ
- กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่ำน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำง
ภำยในของเซลล์โดยลำแสงอิเล็กตรอนจะส่องผ่ำนเซลล์ที่เตรียมให้บำงเป็นพิเศษ
- กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกรำด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงของ
ผิวเซลล์หรือผิวของวัตถุ โดยแสงของอิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ
ภำพที่ได้จำกกำรส่องดูด้วยกล้องทั้ง 4 แบบ จะปรำกฏแตกต่ำงกัน คือ ภำพที่ได้จำกกล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนจะให้รำยละเอียดได้มำกกว่ำกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและภำพที่เกิดจำกกล้องจุลทรรศน์
อิเล็กตรอนแบบส่องผ่ำนจะช่วยให้เรำเห็นรำยละเอียดภำยในของโครงสร้ำงต่ำงๆได้ดี เช่นเดียวกับกำรใช้
กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำแต่มีควำมละเอียดสูงกว่ำ ส่วนกล้องอิเล็กตรอนแบบส่องกรำดจะมอง
ห็นโครงสร้ำงด้ำนนอกของวัตถุเป็นภำพสำมมิติ เช่นเดียวกับกำรใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ
แต่มีควำมละเอียดสูงกว่ำ
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ชนิดของแสง แสงธรรมดำ ( = 4x103
Ao
) ลำอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao
)
ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้ำ
กาลังขยาย ประมำณ 2,000 เท่ำ ประมำณ 500,000 เท่ำ
ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร
ภายในลากล้อง มีอำกำศ สุญญำกำศ
ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภำพเสมือนหัวกลับ ภำพปรำกฏบนจอเรืองแสง
สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปรำศจำกน้ำ
ข้อควรจา
- กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ = กำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ x กำลังขยำยเลนส์ใกล้ตำ
- ขยำดภำพ = ขนำดวัตถุ x กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์
ข้อสังเกต
- ถ้ำกำลังขยำยของกล้องสูงจะเห็นภำพที่มีรำยละเอียดมำกกว่ำ แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภำพจะน้อยกว่ำ
กล้องที่มีกำลังขยำยต่ำ
ข้อควรระวัง
- ภำพที่มองผ่ำนกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดำเป็นภำพเสมือนหัวกลับ ภำพที่มองเห็นในกล้องจะกลับจำก
ซ้ำยเป็นขวำและบนเป็นล่ำงเสมอ
สู้ๆนะครับคนเก่ง
คาถามท้ายหน่วยที่ 3 ให้นักเรียนตอบคำถำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้
1. กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) คืออะไร
2. กล้องจุลทรรศน์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีกี่ประเภท อะไรบ้ำง
3. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำมีควำมแตกต่ำงจำกกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโออย่ำงไรบ้ำง
4. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ TEM มีควำมแตกต่ำงจำกกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ SEM อย่ำงไร
บ้ำง
5. จงเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
6. เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยำยเลนส์ใกล้ตำ 10X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X สำมำรถมองเห็นเซลล์
ยำว 100 ไมครอน ขนำดจริงของเซลล์นี้คือเท่ำใด
7. จงบอกชื่อส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำนี้ให้ถูกต้อง
จงพยายามอย่าท้อถอย
เพื่อรอคอยอนาคตที่สดใส
(1)
(2)
(6)
(9)
(3)
(4)
(5)
(7)
(8)
หน่วยที่ 4
โครงงานวิทยาศาสตร์
เอ้...แล้วโครงงานชีววิทยาจะ
เริ่มต้นทาอย่างไรกันดีนะ
โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
โครงงานประเภททดลอง
โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล
โครงานประเภททฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานชีววิทยา
1. เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปราบศัตรูพืชจากพืชในท้องถิ่น
2. การป้องกันการวางไข่ของแมลงวันในปลาเค็มโดยการใช้สารสกัดจากฟ้าทลายโจร
3. การทากระดาษสาจากกาบกล้วย
4. แก๊สชีวภาพจากมูลสุกร
5. การบาบัดน้าเสียจากครัวเรือนด้วยพืชน้า
6. เปรียบเทียบการปลูกข้าวโดยใช้ปุ๋ยเคมีกับปุ๋ยคอก
7. ความหลากหลายของสมุนไพรในบ้านนาฮัง
8. ลูกประคบสมุนไพร
9. ไซดักแมลงสาบ
10. ผักสลัดไฮเทค ฯลฯ
ขอให้เพื่อนๆประสบ
ความสาเร็จทุกคนนะครับ
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
1. ชื่อโครงงาน
2. คณะผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. จุดมุ่งหมาย
6. สมมติฐานของการศึกษา
7. วิธีดาเนินงาน
- วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้
- ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า
- รูปประกอบการทาโครงงาน
- แผนปฏิบัติงาน
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
9. เอกสารอ้างอิง
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์
ปกนอก/ใน
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนา
- วัตถุประสงค์ - สมมติฐาน
- ตัวแปรในการทาโครงงาน - นิยามเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมีและขั้นตอนการทาโครงงาน
- วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี - ขั้นตอนการทาโครงงาน
บทที่ 4 ผลการทาโครงงาน
- ตารางบันทึกผล - กราฟ/แผนภูมิแสดงผล - รูปถ่ายแสดงผล
บทที่ 5 วิเคราะห์และสรุปผลการทาโครงงาน
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
คาถามท้ายหน่วยที่ 4 ให้นักเรียนตอบคำถำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้
1. จงให้ควำมหมำย “โครงงำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี” มำพอสังเขป
2. “โครงงำนวิทยำศำสตร์” ต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้ำง
3. โครงงำนแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้ำง อธิบำยมำพอสังเขป
4. ตัวแปร หมำยถึงอะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
5. จงยกตัวอย่ำงโครงงำนแต่ละประเภทมำอย่ำงละ 1 เรื่อง
6. เค้ำโครงโครงงำนวิทยำศำสตร์ต้องประกอบด้วยหัวข้อใดบ้ำง
7. กำรเขียนรำยงำนประกอบโครงงำนวิทยำศำสตร์จะต้องประกอบด้วยหัวข้อใดบ้ำง
พวกเธอนี่สุดยอดจริงๆ
เก่งกันทุกคนเลย
แบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน
ชื่อ-นำมสกุล ........................................................................... เลขที่ ........... ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ห้อง ..........
โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
**********************************************************************************
คาแนะนา – แบบบันทึกกำรฝึกปฏิบัติของนักเรียนเป็นกำรประเมินผลกำรเรียนของนักเรียน ซึ่งนักเรียน
จะต้องทำให้เรียบร้อยและส่งครูผู้สอนเมื่อสิ้นสุดกำรเรียน
- แบบบันทึกกำรฝึกปฏิบัติของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ใช้บันทึกสำระสำคัญโดยสรุปเนื้อหำแต่ละหน่วยจำกแบบบันทึก Toolkit for 21st
Century
ตอนที่ 2 ใช้ตอบคำถำมท้ำยกรอบเนื้อหำแต่ละหน่วยจำกแบบบันทึก Toolkit for 21st
Century
*************************************************************************************
ตอนที่ 1 ใช้บันทึกสำระสำคัญโดยสรุปเนื้อหำแต่ละหน่วยจำกบทเรียน
หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
สำระสำคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
สำระสำคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์
สำระสำคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาสาสตร์
สำระสำคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2 ใช้ตอบคำถำมท้ำยกรอบเนื้อหำแต่ละกรอบ
กรอบที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
1. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
2. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
3. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
4. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
1. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
2. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
3. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
4. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
5. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
6. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์
1. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
2. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
3. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
4. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
5. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
6. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
7. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาศาสตร์
1. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
2. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
3. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
4. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
5. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
6. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
7. ………………………………………………………………………………………………..........…
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
#####################################################################
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ. 2551.
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.), คู่มือ TOOLKIT FOR 21st
CENTURY.
กรุงเทพ. 2556.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา
พื้นฐาน : ชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนที่แน้นวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2553.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา
เพิ่มเติม : ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : องค์การค้าของ
สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2554.
ดร.กิตติศักดิ์ แป้นงามและคณะ, เรียนสนุก สอนสบาย (PCRS Learning Model). นครนายก. 2555.
รศ. ดร.สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี, หนังสือโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยศึกษา, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ :
บริษัท ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2537.
เฉลยแบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
**************************************************************************************************
ตอนที่ 1 ใช้บันทึกสาระสาคัญโดยสรุปเนื้อหาแต่ละหน่วยในแบบบันทึกToolkit for 21st
Century
กรอบที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
สาระสาคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน
..................................................................................................................................................................
กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
สาระสาคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน
.................................................................................................................................................................
กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์
สาระสาคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน
.................................................................................................................................................................
กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาสาสตร์
สาระสาคัญดังนี้ .......................................................................................................................................
เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน
.................................................................................................................................................................
ตอนที่ 2 ใช้ตอบคาถามท้ายหน่วยในแบบบันทึกToolkit for 21st
Century
กรอบที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
1. การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
2. 2 ระดับ ได้แก่ ระดับใหญ่ (สิ่งมีชีวิตโลก) และระดับย่อยลงมา (เซลล์สิ่งมีชีวิต)
3. พัธุวิศวกรรม ,การผลิตยาต้านมะเร็ง และอุตสาหกรรมอาหาร
4. 8 คุณสมบัติ ได้แก่ มีโครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างระบบ ,มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย ,มีการ
ปรับตัว ,มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ,มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง ,มีความ
ต้องการพลังงาน ,มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา
1. 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและกระบวนการศึกษาสิ่งมีชีวิต
2. 4 ประเภท คือ ข้อเท็จจริง ,สมมติฐาน ,ทฤษฎีและกฎ
3. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ กาหนดปัญหา ,ตั้งสมมติฐาน ,ตรวจสอบสมมติฐาน ,แปลและวิเคราะห์
ข้อมูล และสรุปผล
4. จาแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและจาแนกตามหน้าที่และการทางานของสิ่งมีชีวิต
5. สัณฐานวิทยา คือ การศึกษารูปร่างลักษณะภายนอกของสิ่งมีชีวิต
กายวิภาคศาสตร์ คือ การศึกษาองค์ประกอบโครงสร้างภายในสิ่งมีชีวิต
สรีรวิทยา คือ การศึกษาหน้าที่การทางานของระบบภายในสิ่งมีชีวิต
6. อนุกรมวิธาน (taxonomy) นิเวศวิทยา (ecology) และพันธุศาสตร์ (genetics)
กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์
1. เป็นเครื่องมือช่วยในการศึกษาสิ่งมีชีวิตและโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากๆได้
2. 2 ประเภท ได้แก่ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดา (LM) ,กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงอิเล็กตรอน (EM)
3. LM จะมีกาลังขยายสูงกว่า ,แสงเดินทางทะลุผ่านวัตถุ ,สิ่งมีชีวิตที่ใช้ศึกษาต้องบางและโปร่งแสง ,สามารถ
วางบนสไลด์ได้ ,ภาพ 2 มิติใช้ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต
4. TEM ใช้ศึกษาโครงสร้างละเอียดภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ,แสงเดินทางทะลุผ่านวัตถุ ,ภาพ 2 มิติ
5.
ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ชนิดของแสง แสงธรรมดา ( = 4x103
Ao
) ลาอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao
)
ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้า
ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
กาลังขยาย ประมาณ 2,000 เท่า ประมาณ 500,000 เท่า
ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร
ภายในลากล้อง มีอากาศ สุญญากาศ
ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภาพเสมือนหัวกลับ ภาพปรากฏบนจอเรืองแสง
สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปราศจากน้า
6. 0.1 ไมโครเมตร หรือ 100 นาโนเมตร
7. (1) เลนส์ใกล้ตา (2) ปุ่มปรับภาพหยาบ (3) แขนกล้อง
(4 )ปุ่มปรับภาพละเอียด (5) ฐานกล้อง (6) ลากล้อง
(7) แท่งวางสไลด์ (8) กระจกเงา (9) เลนส์ใกล้วัตถุ
กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาศาสตร์
1. กิจกรรมที่มีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบตั้งแต่เลือกหัวข้อจนถึงการนาเสนอข้อมูล
2. 4 องค์ประกอบ ได้แก่ กิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,นักเรียนเป็นผู้ริเริ่มตามความถนัด
และสนใจ ,ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
3. 4 ประเภท คือ โครงงานประเภททดลอง, โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล, โครงงานประเภท
สิ่งประดิษฐ์ และโครงงานประเภททฤษฎี
4. สิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน แบ่งเป็น 3 ตัวแปร คือ ตัวแปรต้น ตัวแปรตามและตัวแปรควบคุม
5. โครงงานประเภททดลอง เช่น การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปราบศัตรูพืชจากพืชในท้องถิ่น
โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล เช่น ความหลากหลายของสมุนไพในชุมชน
โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เช่น ไซดักแมลงสาป
โครงงานประเภททฤษฎี เช่น การคัดเลือกทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
6. (1) ชื่อโครงงาน (2) คณะผู้ทาโครงงาน (3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
(4) ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (5) จุดมุ่งหมาย (6) สมมติฐานของการศึกษา
(7) วิธีดาเนินงาน (8) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (9) เอกสารอ้างอิง
7. ปกนอก/ใน บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมีและขั้นตอนการทาโครงาน บทที่ 4 ผลการทาโครงงาน
บทที่ 5 วิเคราะห์และสรุปผลการทาโครงงาน ภาคผนวก
บรรณานุกรม
แบบทดสอบก่อนเรียนรายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมำย  ลงใน
กระดำษคำตอบที่แจกให้
1. ชีววิทยา (Biology) หมายถึงข้อใด
ก. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย์ ข. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพืช
ค. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์ ง. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
2. หน่วยพื้นฐานสาคัญที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือข้อใด
ก. เซลล์ ข. เนื้อเยื่อ ค. อวัยวะ ง. ระบบอวัยวะ
3. การแตกหน่อของไฮดรา เป็นคุณสมบัติข้อใดของสิ่งมีชีวิต
ก. ความต้องการพลังงาน ข. การสืบพันธุ์
ค. การเจริญเติบโต ง. การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
4. ข้อใดคือคุณสมบัติการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
ก. การเอนเข้าหาแสงของยอดถั่ว ข. การเปลี่ยนรูปร่างของดักแด้เป็นผีเสื้อ
ค. การลดรูปใบเป็นหนามของกระบองเพชร ง. การขับปัสสาวะหลังจากดื่มน้ามากๆ
5. ข้อใดคือองค์ประกอบของวิชาชีววิทยา
ก. องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้ ข. กระบวนการศึกษาและการประยุกต์ใช้
ค. องค์ความรู้และกระบวนการศึกษา ง. ถูกทุกข้อ
6. ข้อใดยกตัวอย่างของการศึกษาด้านชีววิทยาที่ถูกต้อง
ก. การศึกษาความเร็วของแสง ข. การศึกษาการเคลื่อนที่ของคลื่น
ข. การศึกษากระบวนการย่อยอาหาร ง. การศึกษาการทางานของระบบรอก
7. ข้อใดคือกระบวนการที่ใช้ในการศึกษาชีววิทยา
ก. กระบวนการทางสังคมศาสตร์ ข. กระบวนการทางภาษาศาสตร์
ค. กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ง. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
8. ข้อใดคือความหมายของการศึกษาสรีรวิทยา
ก. การศึกษาโครงสร้างภายในสิ่งมีชีวิต ข. การศึกษารูปร่างภายนอกของสิ่งมีชีวิต
ค. การศึกษาหน้าที่ระบบอวัยวะภายในสิ่งมีชีวิต ง. ถูกทุกข้อ
9. เครื่องมือที่ช่วยขยายขอบเขตการสังเกตของมนุษย์ในการศึกษาเซลล์วิทยาคือข้อใด
ก. กล้องจุลทรรศน์ ข. กล้องโทรทรรศน์
ค. กล้องวีดิทัศน์ ง. กล้องดิจิตอล
10. ขั้นตอนใดเป็นหัวใจของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ก. การตั้งสมมติฐาน ข. การสังเกต ค. การดาเนินการทดลอง ง. การสรุปผลการทดลอง
ชื่อ....................นามสกุล...............................เลขที่..........ชั้น............
11. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการศึกษาทางชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง
ก. ปัญหา,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,วิเคราะห์,สรุป ข. ตรวจสอบ,ปัญหา,วิเคราะห์,สรุป,สมมติฐาน
ค. วิเคราะห์,สรุป,ปัญหา,ตรวจสอบ,สมมติฐาน ง. ปัญหา,วิเคราะห์,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,สรุป
12. การศึกษาด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส คือข้อใด
ก. สัตววิทยา ข. พฤกษศาสตร์ ค. จุลชีววิทยา ง. พันธุศาสตร์
13. ข้อใดจัดเป็นสมมติฐาน
ก. คาตอบของคาถาม ข. สิ่งที่เป็นไปได้ ค. จินตนาการ ง. การทดลอง
14. โครงงานชีววิทยา เรื่อง “โมเดลแบบจาลองสารพันธุกรรม DNA จากขยะอิเล็กทรอนิกส์” จัดเป็นโครงงาน
ประเภทใด
ก. โครงงานประเภททดลอง ข. โครงงานประเภทสารวจ
ค. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ง. โครงงานประเภททฤษฎี
15. กลุ่มควบคุมในการทดลองทางวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ทาการทดลองในด้านใด
ก. ช่วยยืนยันผลการทดลอง ข. ป้องกันการผิดพลาดในการทดลอง
ค. ช่วยให้ตัวแปรอื่นๆไม่ส่งผลต่อการทดลอง ง. ช่วยอ้างอิงในการสรุปผลการทดลอง
16. ขั้นตอนใดของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะนาไปสู่การหาคาตอบของปัญหาและการศึกษาต่อไป
ก. การรวบรวมข้อมูล ข. การสังเกตและการบันทึกข้อมูล
ค. การตรวจสอบสมมติฐาน และการรวบรวมข้อมูล ง. การตั้งสมมติฐาน และการออกแบบการทดลอง
17. การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาประมวลผลว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ ตรงกับข้อใด
ก. การตั้งปัญหา ข. การตรวจสอบ ค. การวิเคราะห์ ง. การสรุป
โครงงานชีววิทยา เรื่อง “กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจากเกล็ดปลาชนิดต่างๆ” ตอบคาถามข้อ 18-20
18. สิ่งใดเป็นตัวแปรต้น
ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้
ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
19. ข้อใดเป็นตัวแปรตำม
ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้
ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
20. ข้อใดเป็นตัวแปรควบคุม
ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้
ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
แบบทดสอบหลังเรียนรายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมำย  ลงใน
กระดำษคำตอบที่แจกให้
1. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการศึกษาทางชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง
ก. ปัญหา,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,วิเคราะห์,สรุป ข. ตรวจสอบ,ปัญหา,วิเคราะห์,สรุป,สมมติฐาน
ค. วิเคราะห์,สรุป,ปัญหา,ตรวจสอบ,สมมติฐาน ง. ปัญหา,วิเคราะห์,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,สรุป
2. การศึกษาด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส คือข้อใด
ก. สัตววิทยา ข. พฤกษศาสตร์ ค. จุลชีววิทยา ง. พันธุศาสตร์
3. ข้อใดจัดเป็นสมมติฐาน
ก. คาตอบของคาถาม ข. สิ่งที่เป็นไปได้ ค. จินตนาการ ง. การทดลอง
4. โครงงานชีววิทยา เรื่อง “โมเดลแบบจาลองสารพันธุกรรม DNA จากขยะอิเล็กทรอนิกส์” จัดเป็นโครงงาน
ประเภทใด
ก. โครงงานประเภททดลอง ข. โครงงานประเภทสารวจ
ค. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ง. โครงงานประเภททฤษฎี
5. กลุ่มควบคุมในการทดลองทางวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ทาการทดลองในด้านใด
ก. ช่วยยืนยันผลการทดลอง ข. ป้องกันการผิดพลาดในการทดลอง
ค. ช่วยให้ตัวแปรอื่นๆไม่ส่งผลต่อการทดลอง ง. ช่วยอ้างอิงในการสรุปผลการทดลอง
6. ขั้นตอนใดของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะนาไปสู่การหาคาตอบของปัญหาและการศึกษาต่อไป
ก. การรวบรวมข้อมูล ข. การสังเกตและการบันทึกข้อมูล
ค. การตรวจสอบสมมติฐาน และการรวบรวมข้อมูล ง. การตั้งสมมติฐาน และการออกแบบการทดลอง
7. การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาประมวลผลว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ ตรงกับข้อใด
ก. การตั้งปัญหา ข. การตรวจสอบ ค. การวิเคราะห์ ง. การสรุป
โครงงานชีววิทยา เรื่อง “กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจากเกล็ดปลาชนิดต่างๆ” ตอบคาถามข้อ 8-10
8. สิ่งใดเป็นตัวแปรต้น
ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้
ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
9. ข้อใดเป็นตัวแปรตำม
ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้
ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ชื่อ....................นามสกุล...............................เลขที่..........ชั้น............
10. ข้อใดเป็นตัวแปรควบคุม
ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้
ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
11. ชีววิทยา (Biology) หมายถึงข้อใด
ก. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย์ ข. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพืช
ค. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์ ง. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
12. หน่วยพื้นฐานสาคัญที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือข้อใด
ก. เซลล์ ข. เนื้อเยื่อ ค. อวัยวะ ง. ระบบอวัยวะ
13. การแตกหน่อของไฮดรา เป็นคุณสมบัติข้อใดของสิ่งมีชีวิต
ก. ความต้องการพลังงาน ข. การสืบพันธุ์
ค. การเจริญเติบโต ง. การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
14. ข้อใดคือคุณสมบัติการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
ก. การเอนเข้าหาแสงของยอดถั่ว ข. การเปลี่ยนรูปร่างของดักแด้เป็นผีเสื้อ
ค. การลดรูปใบเป็นหนามของกระบองเพชร ง. การขับปัสสาวะหลังจากดื่มน้ามากๆ
15. ข้อใดคือองค์ประกอบของวิชาชีววิทยา
ก. องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้ ข. กระบวนการศึกษาและการประยุกต์ใช้
ค. องค์ความรู้และกระบวนการศึกษา ง. ถูกทุกข้อ
16. ข้อใดยกตัวอย่างของการศึกษาด้านชีววิทยาที่ถูกต้อง
ก. การศึกษาความเร็วของแสง ข. การศึกษาการเคลื่อนที่ของคลื่น
ข. การศึกษากระบวนการย่อยอาหาร ง. การศึกษาการทางานของระบบรอก
17. ข้อใดคือกระบวนการที่ใช้ในการศึกษาชีววิทยา
ก. กระบวนการทางสังคมศาสตร์ ข. กระบวนการทางภาษาศาสตร์
ค. กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ง. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
18. ข้อใดคือความหมายของการศึกษาสรีรวิทยา
ก. การศึกษาโครงสร้างภายในสิ่งมีชีวิต ข. การศึกษารูปร่างภายนอกของสิ่งมีชีวิต
ค. การศึกษาหน้าที่ระบบอวัยวะภายในสิ่งมีชีวิต ง. ถูกทุกข้อ
19. เครื่องมือที่ช่วยขยายขอบเขตการสังเกตของมนุษย์ในการศึกษาเซลล์วิทยาคือข้อใด
ก. กล้องจุลทรรศน์ ข. กล้องโทรทรรศน์
ค. กล้องวีดิทัศน์ ง. กล้องดิจิตอล
20. ขั้นตอนใดเป็นหัวใจของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ก. การตั้งสมมติฐาน ข. การสังเกต ค. การดาเนินการทดลอง ง. การสรุปผลการทดลอง
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
เฉลย : แบบทดสอบรายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา
ก่อนเรียน หลังเรียน
1. ง.
2. ก.
3. ข.
4. ค.
5. ค.
6. ค.
7. ง.
8. ค.
9. ก.
10. ข.
11. ก.
12. ค.
13. ข.
14. ค.
15. ค.
16. ง.
17. ง.
18. ค.
19. ก.
20. ข.
1. ก.
2. ค.
3. ข.
4. ค.
5. ค.
6. ง.
7. ง.
8. ค.
9. ก.
10. ข.
11. ง.
12. ก.
13. ข.
14. ค.
15. ค.
16. ค.
17. ง.
18. ค.
19. ก.
20. ข.
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st century

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
Wichai Likitponrak
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Wichai Likitponrak
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
Wichai Likitponrak
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
KruPa Jggdd
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
Sar 63 อบ
Sar 63 อบSar 63 อบ
Sar 63 อบ
PornpenInta
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsJiraporn
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
Sar 63 อบ
Sar 63 อบSar 63 อบ
Sar 63 อบ
 
รายงาน Obec awards
รายงาน Obec awardsรายงาน Obec awards
รายงาน Obec awards
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 

Viewers also liked

วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (18)

วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
โครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืชโครงสร้างหน้าที่พืช
โครงสร้างหน้าที่พืช
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 

Similar to Toolkit for 21st century

Project 02
Project 02Project 02
Project 02
chorthip
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d051
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1Wichai Likitponrak
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3Aomiko Wipaporn
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsNanthawat Tabngern
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
prakan1234
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรีใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรีPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีนใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีนPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57
รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57
รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57
Dnavaroj Dnaka
 
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
Dnavaroj Dnaka
 
ประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุล
ประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุลประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุล
ประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุลEKNARIN
 

Similar to Toolkit for 21st century (20)

Project 02
Project 02Project 02
Project 02
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 1
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
 
แผนการสอน..
แผนการสอน..แผนการสอน..
แผนการสอน..
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_resultsFirst grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
First grasp the_fundamentals_then_study_and_teach_to_best_results
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
รวมเล่มกิจกรรมบำเพ็ญ ภาคเรียน 2
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรีใบความรู้ที่ 2  เรื่อง  สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพเหตุการณ์ปลายสมัยธนบุรี
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีนใบความรู้ที่ 3  เรื่อง  ที่ตั้งอารยธรรมจีน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ที่ตั้งอารยธรรมจีน
 
รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57
รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57
รายงานสัปดาห์วันวิทย์ ญสส. ปี 57
 
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
รายงานการจัดกิจกรรมสัปดาห์วันวิทยาศาสตร์ รร.ญสส. ปี 2557
 
ประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุล
ประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุลประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุล
ประกาศผลสอบคัดเลือก ม.4เพชรพิกุล
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

Toolkit for 21st century

  • 1. Toolkit for 21st Century วิทยาศาสตร์ : ชีววิทยา (Biology) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (โปรแกรมการเรียนวิทย์-คณิต) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ ชื่อ..........................................นามสกุล...................................................เลขที่........ชั้น............ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1
  • 2. คานา แบบบันทึกการเรียนรู้ตามแนวทางของเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (Toolkit for 21st Century) ประกอบการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา (introduction of biology) รายวิชาชีววิทยา 1 (ว31241) กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ฉบับนี้จัดทาขึ้นตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครูผู้สอนไดพัฒนาขึ้นจากปญหาที่เกิด ขึ้นกับนักเรียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ส่วนยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและส่วน ใหญ่มีแจตคติต่อวิทยาศาสตร์ในทางบวกค่อนข้างน้อย จึงทาให้ครูผู้สอนได้ศึกษาแนวคิดการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 พร้อมทั้งสรางและพัฒนาแบบบันทึกการ เรียนรู้ตามแนวทางของเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ประกอบการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา โดยมีรูปแบบขั้นตอนการ นาเสนอเพื่อใหผูเรียนได้เรียนรูจากกิจกรรมการปฏิบัติจริงด้วยตนเองโดยการทางานร่วมกันเป็นทีม อย่างต่อเนื่องในรูปแบบการเรียนรู้โครงงาน (Project base learning) ซึ่งการกาหนดกิจกรรมการ เรียนรูที่นาสนใจใหสอดคลองกับ จุดประสงคและเนนความสนใจตามหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ครูผู้สอนหวังเปนอยางยิ่งวาแบบบันทึกการเรียนรู้ตามแนวทางของเครื่องมือเสริมสร้างทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 ประกอบการจัดการเรียนรู้ 8 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เรื่อง บทนา ทางชีววิทยา จะเป็นประโยชนในการพัฒนาการการเรียนรู้ทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติ ทางวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในอนาคตต่อไป วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูผู้สอน
  • 3. สาระการเรียนรู้/มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบ ต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไป ใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ผลการเรียนรู้: สามารถอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและกระบวนการศึกษาชีววิทยา ได้อย่างถูกต้อง สาระที่ 2 : ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้: สามารถบอกส่วนประกอบและประเถทของกล้องจุลทรรศน์พร้อมประยุกต์ใช้ในการศึกษา ทางด้านชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว.8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
  • 4. ขั้นตอนการสารวจชุมชนเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ แบบสอบถาม คาถามนา นักเรียนคิดคาถาม คาตอบที่ได้ ใคร ทาอะไร ที่ไหน กับใคร เมื่อไร ทาไม อย่างไร คู่มือนักสารวจ สถานที่.............................................................................................................วันที่............................................. วัตถุประสงค์ของการสารวจในครั้งนี้ คือ .............................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. เลือกวิธีการในการสารวจชุมชน วิธีการ เลือก รายละเอียดที่จะสารวจ สิ่งที่ต้องเตรียม สังเกตและจดบันทึก วาดภาพหรือถ่ายภาพ บริเวณพื้นที่ที่สารวจ ระบุรายละเอียด พูดคุยกับคนในชุมชน อื่นๆ (ระบุ) …………………………………
  • 5. บันทึกสิ่งที่สารวจพบโดยการวาดภาพ บันทึกความรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 7. ตารางสรุปความคิดของตนเอง หัวข้อ สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติม วิธีการเรียนรู้ ตารางบันทึกการระดมความคิดเห็นของกลุ่ม ชื่อนักเรียน ความคิดเห็น เหตุผล
  • 9. ฝึกทักษะด้านกระบวนการศึกษาทางชีววิทยา คำชี้แจง ให้นักเรียนในกลุ่มช่วยกันสังเกตภำพที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยำที่ได้รับและร่วมมือกันทำใบงำนชิ้นนี้ ให้สมบูรณ์ 1. สิ่งที่สังเกตเห็น (เขียนมำอย่ำงน้อย 5 ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 2. ตั้งคำถำมข้อสงสัยจำกภำพที่สังเกต (เขียนมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 3. ตั้งสมมติฐำน/คำตอบที่เป็นไปได้(เขียนมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 4. ออกแบบวิธีกำรตรวจสอบสมมติฐำน 4.1 ตัวแปรต้น คือ.......................... ตัวแปรตำม คือ ...........................ตัวแปรควบคุม คือ ................................ 4.2 กลุ่มทดลอง คือ ...........................................................กลุ่มควบคุม คือ .................................................... 4.3 รูปกำรออกแบบ 5. กำรวิเรครำะห์ผลกำร ทดลอง/รูปแบบที่จะนำเสนอในรำยงำนโครงงำน (เขียนมำอย่ำงน้อย 3 ข้อ) ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 6. สรุปผลที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………
  • 11. เค้าโครงโครงงาน 1. ชื่อโครงงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. คณะผู้ทาโครงงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จุดมุ่งหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. สมมติฐานของการศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 12. 7. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - แผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนในการทา โครงงาน ระยะเวลาในการทาโครงงาน 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 9. เอกสารอ้างอิง .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................
  • 16. คาถามท้ายหน่วยที่ 1 ให้นักเรียนตอบคำถำมต่อไปนี้ 1. ชีววิทยำ (Biology) หมำยถึงอะไร 2. กำรศึกษำชีววิทยำสำมำรถทำได้กี่ระดับ อะไรบ้ำง 3. นักเรียนลองยกตัวอย่ำงกำรประยุกต์ใช้ควำมรู้ทำงชีววิทยำในชีวิตประจำวัน (3 ตัวอย่ำง) 4. คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิตมีอะไรบ้ำง พร้อมอธิบำยพอสังเขป สู้ๆๆๆๆ เพื่อ เกรด 4 ของเรา
  • 17. หน่วยที่ 2 การศึกษาชีววิทยา ชีววิทยำ หมำยถึง กำรศึกษำควำมคิดของคนที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต หรือวิชำที่ว่ำด้วยควำมคิดของคน เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตอย่ำงมีเหตุผลทำงวิทยำศำสตร์ องค์ประกอบของชีววิทยา 1. ควำมรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต - จำแนกตำมธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต : สัตววิทยำ ,พฤกษศำสตร์ ,จุลชีววิทยำ - จำแนกตำมหน้ำที่และกำรทำงำนของสิ่งมีชีวิต : สรีรวิทยำ ,คัพภะวิทยำ ,พันธุศำสตร์ 2. กระบวนกำรศึกษำที่ใช้ในกำรศึกษำ (กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์) - กำหนดปัญหำ - ตั้งสมมติฐำน : คำตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมดของปัญหำ - ตรวจสอบสมมติฐำน : กำหนดตัวแปร, ทำกำรทดลอง - แปลและวิเครำะห์ข้อมูล : กำรบรรยำยลักษณะของข้อมูลที่ได้ - สรุปผล: กำรนำข้อมูลที่ได้จำกกำรทดลองมำสรุปว่ำสอดคล้องกับสมมติฐำนหรือไม่ @ ข้อควรระวัง ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำทำงด้ำนวิทยำศำสตร์สำมำรถแยกได้เป็นหลำยประเภทดังนี้ - ข้อเท็จจริง หรือ ข้อมูล คือ สิ่งที่ได้จำกกำรสังเกต - สมมติฐำน คือ ผล หรือ คำตอบที่อำจเป็นไปได้ของปัญหำ - ทฤษฎีเป็นข้อสรุปที่ได้รับกำรยืนยันจำกผลกำรทดลอง ซึ่งอำจเปลี่ยนแปลงได้ถ้ำผลกำรทดลองครั้งใหม่ เปลี่ยนไปจำกเดิม - กฎเป็นข้อสรุปที่ได้รับกำรพิสูจน์ยืนยันหลำยๆครั้งในสภำวะที่แตกต่ำงกัน ขอบข่ายของวิชาชีววิทยา ชีววิทยำแบ่งออกเป็นสำขำต่ำงๆมำกมำย ขึ้นอยู่กับวิธีกำรจำแนกที่แตกต่ำงกันโดยทั่วไปมักแบ่งออกได้ดังนี้ 1. จำแนกตำมธรรมชำติของสิ่งมีชีวิต ได้เป็นแขนงต่ำงๆ คือ - พฤกษศำสตร์ (Botany) เป็นวิชำที่ศึกษำเกี่ยวกับพืช เช่น Agrostology (ศึกษำเกี่ยวกับหญ้ำ) Pteridology (ศึกษำเกี่ยวกับเฟิร์น) เป็นต้น - สัตววิทยำ (Zoology) เป็นวิชำที่ศึกษำเกี่ยวกับเรื่องรำวของสัตว์เช่น Icthyology (มีนวิทยำ – ศึกษำ เกี่ยวกับปลำ Entomology (กีฏวิทยำ – ศึกษำเกี่ยวกับแมลง) - จุลชีววิทยำ (Microbiology) เป็นวิชำที่ศึกษำเรื่องรำวของจุลินทรีย์เช่น Mycology (กำรศึกษำ เกี่ยวกับเห็ดรำ) Bacteriology (กำรศึกษำเกี่ยวกับแบคทีเรีย)
  • 18. 2. จำแนกตำมหน้ำที่และกำรทำงำนของสิ่งมีชีวิต เป็นสำขำต่ำงๆ ดังนี้ - สำขำวิชำที่ศึกษำสิ่งมีชีวิตแต่ละหน่วย เช่น สัณฐำนวิทยำ (Morphology) ศึกษำเกี่ยวกับลักษณะ และโครงสร้ำงองค์ประกอบภำยนอกของสิ่งมีชีวิต, กำยวิภำคศำสตร์ (Anatomy) ศึกษำเกี่ยวกับลักษณะและ โครงสร้ำงองค์ประกอบภำยในของสิ่งมีชีวิต, สรีรวิทยำ (Physiology) ศึกษำเกี่ยวกับหน้ำที่และกำรทำงำน ขององค์ประกอบสิ่งมีชีวิต นอกจำกนี้ยังมีสำขำวิชำอื่นๆ เช่น คัพภะวิทยำ (Embryology) วิทยำเอนโดคริน (Endocrinology) - สำขำวิชำที่ศึกษำถึงสิ่งมีชีวิตเป็นหมู่ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น อนุกรมวิธำนวิทยำ (Taxonomy) ศึกษำเกี่ยวกับกำรจำแนกหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต นอกจำกนั้นยังมีสำขำอื่นๆ เช่น นิเวศวิทยำ (Ecology) พันธุศำสตร์ (Genetics) ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั้น
  • 19. คาถามท้ายหน่วยที่ 2 ให้นักเรียนตอบคำถำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้ 1. วิชำชีววิทยำมีกี่องค์ประกอบอะไรบ้ำง 2. องค์ควำมรู้ทำงชีววิทยำสำมำรถแยกได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้ำง 3. กระบวนกำรที่ใช้ในกำรศึกษำชีววิทยำ เรียกว่ำอะไร มีขั้นตอนอย่ำงไรบ้ำง 4. ขอบข่ำยของชีววิทยำโดยทั่วไปจำแนกได้อย่ำงไร จงอธิบำยมำพอสังเขป 5. จงอธิบำยควำมแตกต่ำงระหว่ำงสำขำวิชำสัณฐำนวิทยำ, กำยวิภำคศำสตร์และสรีรวิทยำ 6. จงยกตัวอย่ำงสำขำวิชำที่ต้องศึกษำถึงสิ่งมีชีวิตเป็นกลุ่มหรือเป็นหมู่ (3 ตัวอย่ำง) เราจะตั้งใจทาอย่างสุด ความสามารถ
  • 20. หน่วยที่ 3 กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ที่มีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งในกำรศึกษำชีววิทยำเนื่องจำกเป็นเครื่องมือที่ ช่วยทำให้นักวิทยำศำสตร์สำมำรถมองเห็นสิ่งมีชีวิตและโครงสร้ำงของสิ่งมีชีวิตที่มีขนำดเล็กมำกๆได้จึงทำ ให้เกิดกำรค้นพบและได้รับควำมรู้มำกมำย กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ 1. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง แบ่งเป็นแบบใช้แสงธรรมดำหรืออำจเรียกได้ว่ำกล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ ประกอบ (Compound microscope) ทั้งชนิดที่ใช้แสงสว่ำงตำมธรรมชำติและชนิดที่ใช้ไฟฟ้ำและแบบใช้ แสงสเตอริโอ (Stereoscopic microscope) 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้มี 2 แบบ คือ - กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่ำน (Transmission Electron Microscope: TEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำง ภำยในของเซลล์โดยลำแสงอิเล็กตรอนจะส่องผ่ำนเซลล์ที่เตรียมให้บำงเป็นพิเศษ - กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกรำด (Scanning Electron Microscope: SEM) ใช้ศึกษำโครงสร้ำงของ ผิวเซลล์หรือผิวของวัตถุ โดยแสงของอิเล็กตรอนส่องกระทบผิวของวัตถุ
  • 21. ภำพที่ได้จำกกำรส่องดูด้วยกล้องทั้ง 4 แบบ จะปรำกฏแตกต่ำงกัน คือ ภำพที่ได้จำกกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนจะให้รำยละเอียดได้มำกกว่ำกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและภำพที่เกิดจำกกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่ำนจะช่วยให้เรำเห็นรำยละเอียดภำยในของโครงสร้ำงต่ำงๆได้ดี เช่นเดียวกับกำรใช้ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำแต่มีควำมละเอียดสูงกว่ำ ส่วนกล้องอิเล็กตรอนแบบส่องกรำดจะมอง ห็นโครงสร้ำงด้ำนนอกของวัตถุเป็นภำพสำมมิติ เช่นเดียวกับกำรใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ แต่มีควำมละเอียดสูงกว่ำ ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ชนิดของแสง แสงธรรมดำ ( = 4x103 Ao ) ลำอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao ) ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้ำ กาลังขยาย ประมำณ 2,000 เท่ำ ประมำณ 500,000 เท่ำ ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร ภายในลากล้อง มีอำกำศ สุญญำกำศ ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภำพเสมือนหัวกลับ ภำพปรำกฏบนจอเรืองแสง สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปรำศจำกน้ำ ข้อควรจา - กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ = กำลังขยำยของเลนส์ใกล้วัตถุ x กำลังขยำยเลนส์ใกล้ตำ - ขยำดภำพ = ขนำดวัตถุ x กำลังขยำยของกล้องจุลทรรศน์ ข้อสังเกต - ถ้ำกำลังขยำยของกล้องสูงจะเห็นภำพที่มีรำยละเอียดมำกกว่ำ แต่บริเวณขอบเขตที่มองเห็นภำพจะน้อยกว่ำ กล้องที่มีกำลังขยำยต่ำ ข้อควรระวัง - ภำพที่มองผ่ำนกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดำเป็นภำพเสมือนหัวกลับ ภำพที่มองเห็นในกล้องจะกลับจำก ซ้ำยเป็นขวำและบนเป็นล่ำงเสมอ สู้ๆนะครับคนเก่ง
  • 22. คาถามท้ายหน่วยที่ 3 ให้นักเรียนตอบคำถำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้ 1. กล้องจุลทรรศน์ (Microscope) คืออะไร 2. กล้องจุลทรรศน์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีกี่ประเภท อะไรบ้ำง 3. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำมีควำมแตกต่ำงจำกกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโออย่ำงไรบ้ำง 4. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ TEM มีควำมแตกต่ำงจำกกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ SEM อย่ำงไร บ้ำง 5. จงเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน 6. เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกำลังขยำยเลนส์ใกล้ตำ 10X และเลนส์ใกล้วัตถุ 100X สำมำรถมองเห็นเซลล์ ยำว 100 ไมครอน ขนำดจริงของเซลล์นี้คือเท่ำใด 7. จงบอกชื่อส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดำนี้ให้ถูกต้อง จงพยายามอย่าท้อถอย เพื่อรอคอยอนาคตที่สดใส (1) (2) (6) (9) (3) (4) (5) (7) (8)
  • 25. โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล โครงานประเภททฤษฎี ตัวอย่างโครงงานชีววิทยา 1. เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปราบศัตรูพืชจากพืชในท้องถิ่น 2. การป้องกันการวางไข่ของแมลงวันในปลาเค็มโดยการใช้สารสกัดจากฟ้าทลายโจร 3. การทากระดาษสาจากกาบกล้วย 4. แก๊สชีวภาพจากมูลสุกร 5. การบาบัดน้าเสียจากครัวเรือนด้วยพืชน้า 6. เปรียบเทียบการปลูกข้าวโดยใช้ปุ๋ยเคมีกับปุ๋ยคอก 7. ความหลากหลายของสมุนไพรในบ้านนาฮัง 8. ลูกประคบสมุนไพร 9. ไซดักแมลงสาบ 10. ผักสลัดไฮเทค ฯลฯ ขอให้เพื่อนๆประสบ ความสาเร็จทุกคนนะครับ
  • 26. เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ชื่อโครงงาน 2. คณะผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. จุดมุ่งหมาย 6. สมมติฐานของการศึกษา 7. วิธีดาเนินงาน - วัสดุ-อุปกรณ์-สารเคมีและเครื่องมือที่ใช้ - ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้า - รูปประกอบการทาโครงงาน - แผนปฏิบัติงาน 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 9. เอกสารอ้างอิง รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ปกนอก/ใน บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนา - วัตถุประสงค์ - สมมติฐาน - ตัวแปรในการทาโครงงาน - นิยามเชิงปฏิบัติการ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมีและขั้นตอนการทาโครงงาน - วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมี - ขั้นตอนการทาโครงงาน บทที่ 4 ผลการทาโครงงาน - ตารางบันทึกผล - กราฟ/แผนภูมิแสดงผล - รูปถ่ายแสดงผล บทที่ 5 วิเคราะห์และสรุปผลการทาโครงงาน ภาคผนวก บรรณานุกรม
  • 27. คาถามท้ายหน่วยที่ 4 ให้นักเรียนตอบคำถำมที่กำหนดให้ต่อไปนี้ 1. จงให้ควำมหมำย “โครงงำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี” มำพอสังเขป 2. “โครงงำนวิทยำศำสตร์” ต้องมีองค์ประกอบอะไรบ้ำง 3. โครงงำนแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้ำง อธิบำยมำพอสังเขป 4. ตัวแปร หมำยถึงอะไร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท 5. จงยกตัวอย่ำงโครงงำนแต่ละประเภทมำอย่ำงละ 1 เรื่อง 6. เค้ำโครงโครงงำนวิทยำศำสตร์ต้องประกอบด้วยหัวข้อใดบ้ำง 7. กำรเขียนรำยงำนประกอบโครงงำนวิทยำศำสตร์จะต้องประกอบด้วยหัวข้อใดบ้ำง พวกเธอนี่สุดยอดจริงๆ เก่งกันทุกคนเลย
  • 28. แบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน ชื่อ-นำมสกุล ........................................................................... เลขที่ ........... ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 ห้อง .......... โรงเรียนศีลำจำรพิพัฒน์ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ********************************************************************************** คาแนะนา – แบบบันทึกกำรฝึกปฏิบัติของนักเรียนเป็นกำรประเมินผลกำรเรียนของนักเรียน ซึ่งนักเรียน จะต้องทำให้เรียบร้อยและส่งครูผู้สอนเมื่อสิ้นสุดกำรเรียน - แบบบันทึกกำรฝึกปฏิบัติของนักเรียน แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ใช้บันทึกสำระสำคัญโดยสรุปเนื้อหำแต่ละหน่วยจำกแบบบันทึก Toolkit for 21st Century ตอนที่ 2 ใช้ตอบคำถำมท้ำยกรอบเนื้อหำแต่ละหน่วยจำกแบบบันทึก Toolkit for 21st Century ************************************************************************************* ตอนที่ 1 ใช้บันทึกสำระสำคัญโดยสรุปเนื้อหำแต่ละหน่วยจำกบทเรียน หน่วยที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สำระสำคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา สำระสำคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................
  • 29. กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์ สำระสำคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาสาสตร์ สำระสำคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ตอนที่ 2 ใช้ตอบคำถำมท้ำยกรอบเนื้อหำแต่ละกรอบ กรอบที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 2. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 3. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 4. ………………………………………………………………………………………………..........… ..................................................................................................................................................................
  • 30. กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา 1. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 2. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 3. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 4. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 5. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 6. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์ 1. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 2. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 3. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 4. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 5. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 6. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 7. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................
  • 31. กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 2. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 3. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 4. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. 5. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 6. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. 7. ………………………………………………………………………………………………..........… .................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. #####################################################################
  • 32. บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ. 2551. สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.), คู่มือ TOOLKIT FOR 21st CENTURY. กรุงเทพ. 2556. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐาน : ชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนที่แน้นวิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2553. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ, หนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม : ชีววิทยา เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : องค์การค้าของ สคสค. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2554. ดร.กิตติศักดิ์ แป้นงามและคณะ, เรียนสนุก สอนสบาย (PCRS Learning Model). นครนายก. 2555. รศ. ดร.สมพงศ์ จันทร์โพธิ์ศรี, หนังสือโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยศึกษา, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : บริษัท ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จากัด. จัดพิมพ์และจาหน่าย. 2537.
  • 33. เฉลยแบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ************************************************************************************************** ตอนที่ 1 ใช้บันทึกสาระสาคัญโดยสรุปเนื้อหาแต่ละหน่วยในแบบบันทึกToolkit for 21st Century กรอบที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สาระสาคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน .................................................................................................................................................................. กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา สาระสาคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน ................................................................................................................................................................. กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์ สาระสาคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน ................................................................................................................................................................. กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาสาสตร์ สาระสาคัญดังนี้ ....................................................................................................................................... เขียนตามความเข้าใจของนักเรียนโดยอ้างอิงจากกรอบเนื้อหาบทเรียน ................................................................................................................................................................. ตอนที่ 2 ใช้ตอบคาถามท้ายหน่วยในแบบบันทึกToolkit for 21st Century กรอบที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1. การศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต 2. 2 ระดับ ได้แก่ ระดับใหญ่ (สิ่งมีชีวิตโลก) และระดับย่อยลงมา (เซลล์สิ่งมีชีวิต) 3. พัธุวิศวกรรม ,การผลิตยาต้านมะเร็ง และอุตสาหกรรมอาหาร
  • 34. 4. 8 คุณสมบัติ ได้แก่ มีโครงสร้างและการทาหน้าที่อย่างระบบ ,มีการรักษาสมดุลภายในร่างกาย ,มีการ ปรับตัว ,มีการสืบพันธุ์และถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ,มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่าง ,มีความ ต้องการพลังงาน ,มีการรับรู้ต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม กรอบที่ 2 การศึกษาชีววิทยา 1. 2 องค์ประกอบ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและกระบวนการศึกษาสิ่งมีชีวิต 2. 4 ประเภท คือ ข้อเท็จจริง ,สมมติฐาน ,ทฤษฎีและกฎ 3. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ กาหนดปัญหา ,ตั้งสมมติฐาน ,ตรวจสอบสมมติฐาน ,แปลและวิเคราะห์ ข้อมูล และสรุปผล 4. จาแนกตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตและจาแนกตามหน้าที่และการทางานของสิ่งมีชีวิต 5. สัณฐานวิทยา คือ การศึกษารูปร่างลักษณะภายนอกของสิ่งมีชีวิต กายวิภาคศาสตร์ คือ การศึกษาองค์ประกอบโครงสร้างภายในสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยา คือ การศึกษาหน้าที่การทางานของระบบภายในสิ่งมีชีวิต 6. อนุกรมวิธาน (taxonomy) นิเวศวิทยา (ecology) และพันธุศาสตร์ (genetics) กรอบที่ 3 กล้องจุลทรรศน์ 1. เป็นเครื่องมือช่วยในการศึกษาสิ่งมีชีวิตและโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากๆได้ 2. 2 ประเภท ได้แก่ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงธรรมดา (LM) ,กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงอิเล็กตรอน (EM) 3. LM จะมีกาลังขยายสูงกว่า ,แสงเดินทางทะลุผ่านวัตถุ ,สิ่งมีชีวิตที่ใช้ศึกษาต้องบางและโปร่งแสง ,สามารถ วางบนสไลด์ได้ ,ภาพ 2 มิติใช้ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล์สิ่งมีชีวิต 4. TEM ใช้ศึกษาโครงสร้างละเอียดภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ,แสงเดินทางทะลุผ่านวัตถุ ,ภาพ 2 มิติ 5. ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ชนิดของแสง แสงธรรมดา ( = 4x103 Ao ) ลาอิเล็กตรอน ( = 0.05-10 Ao ) ชนิดของเลนส์ เลนส์นูน เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้า ลักษณะเปรียบเทียบ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน กาลังขยาย ประมาณ 2,000 เท่า ประมาณ 500,000 เท่า ขนาดวัตถุที่เล็กที่สุด 0.2 ไมโครเมตร 0.0005 ไมโครเมตร ภายในลากล้อง มีอากาศ สุญญากาศ ภาพสุดท้ายที่เกิดขึ้น ภาพเสมือนหัวกลับ ภาพปรากฏบนจอเรืองแสง สภาพของวัตถุที่ใช้ดู มีหรือไม่มีชีวิต ไม่มีชีวิตและแห้งปราศจากน้า
  • 35. 6. 0.1 ไมโครเมตร หรือ 100 นาโนเมตร 7. (1) เลนส์ใกล้ตา (2) ปุ่มปรับภาพหยาบ (3) แขนกล้อง (4 )ปุ่มปรับภาพละเอียด (5) ฐานกล้อง (6) ลากล้อง (7) แท่งวางสไลด์ (8) กระจกเงา (9) เลนส์ใกล้วัตถุ กรอบที่ 4 โครงงานวิทยาศาสตร์ 1. กิจกรรมที่มีการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบตั้งแต่เลือกหัวข้อจนถึงการนาเสนอข้อมูล 2. 4 องค์ประกอบ ได้แก่ กิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,นักเรียนเป็นผู้ริเริ่มตามความถนัด และสนใจ ,ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติโดยมีครูเป็นที่ปรึกษา 3. 4 ประเภท คือ โครงงานประเภททดลอง, โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล, โครงงานประเภท สิ่งประดิษฐ์ และโครงงานประเภททฤษฎี 4. สิ่งต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการทาโครงงาน แบ่งเป็น 3 ตัวแปร คือ ตัวแปรต้น ตัวแปรตามและตัวแปรควบคุม 5. โครงงานประเภททดลอง เช่น การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปราบศัตรูพืชจากพืชในท้องถิ่น โครงงานประเภทสารวจและรวบรวมข้อมูล เช่น ความหลากหลายของสมุนไพในชุมชน โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เช่น ไซดักแมลงสาป โครงงานประเภททฤษฎี เช่น การคัดเลือกทางธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 6. (1) ชื่อโครงงาน (2) คณะผู้ทาโครงงาน (3) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา (4) ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (5) จุดมุ่งหมาย (6) สมมติฐานของการศึกษา (7) วิธีดาเนินงาน (8) ผลที่คาดว่าจะได้รับ (9) เอกสารอ้างอิง 7. ปกนอก/ใน บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนา บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วัสดุ อุปกรณ์ สารเคมีและขั้นตอนการทาโครงาน บทที่ 4 ผลการทาโครงงาน บทที่ 5 วิเคราะห์และสรุปผลการทาโครงงาน ภาคผนวก บรรณานุกรม
  • 36. แบบทดสอบก่อนเรียนรายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมำย  ลงใน กระดำษคำตอบที่แจกให้ 1. ชีววิทยา (Biology) หมายถึงข้อใด ก. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย์ ข. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพืช ค. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์ ง. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต 2. หน่วยพื้นฐานสาคัญที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือข้อใด ก. เซลล์ ข. เนื้อเยื่อ ค. อวัยวะ ง. ระบบอวัยวะ 3. การแตกหน่อของไฮดรา เป็นคุณสมบัติข้อใดของสิ่งมีชีวิต ก. ความต้องการพลังงาน ข. การสืบพันธุ์ ค. การเจริญเติบโต ง. การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม 4. ข้อใดคือคุณสมบัติการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ก. การเอนเข้าหาแสงของยอดถั่ว ข. การเปลี่ยนรูปร่างของดักแด้เป็นผีเสื้อ ค. การลดรูปใบเป็นหนามของกระบองเพชร ง. การขับปัสสาวะหลังจากดื่มน้ามากๆ 5. ข้อใดคือองค์ประกอบของวิชาชีววิทยา ก. องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้ ข. กระบวนการศึกษาและการประยุกต์ใช้ ค. องค์ความรู้และกระบวนการศึกษา ง. ถูกทุกข้อ 6. ข้อใดยกตัวอย่างของการศึกษาด้านชีววิทยาที่ถูกต้อง ก. การศึกษาความเร็วของแสง ข. การศึกษาการเคลื่อนที่ของคลื่น ข. การศึกษากระบวนการย่อยอาหาร ง. การศึกษาการทางานของระบบรอก 7. ข้อใดคือกระบวนการที่ใช้ในการศึกษาชีววิทยา ก. กระบวนการทางสังคมศาสตร์ ข. กระบวนการทางภาษาศาสตร์ ค. กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ง. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 8. ข้อใดคือความหมายของการศึกษาสรีรวิทยา ก. การศึกษาโครงสร้างภายในสิ่งมีชีวิต ข. การศึกษารูปร่างภายนอกของสิ่งมีชีวิต ค. การศึกษาหน้าที่ระบบอวัยวะภายในสิ่งมีชีวิต ง. ถูกทุกข้อ 9. เครื่องมือที่ช่วยขยายขอบเขตการสังเกตของมนุษย์ในการศึกษาเซลล์วิทยาคือข้อใด ก. กล้องจุลทรรศน์ ข. กล้องโทรทรรศน์ ค. กล้องวีดิทัศน์ ง. กล้องดิจิตอล 10. ขั้นตอนใดเป็นหัวใจของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ก. การตั้งสมมติฐาน ข. การสังเกต ค. การดาเนินการทดลอง ง. การสรุปผลการทดลอง ชื่อ....................นามสกุล...............................เลขที่..........ชั้น............
  • 37. 11. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการศึกษาทางชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง ก. ปัญหา,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,วิเคราะห์,สรุป ข. ตรวจสอบ,ปัญหา,วิเคราะห์,สรุป,สมมติฐาน ค. วิเคราะห์,สรุป,ปัญหา,ตรวจสอบ,สมมติฐาน ง. ปัญหา,วิเคราะห์,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,สรุป 12. การศึกษาด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส คือข้อใด ก. สัตววิทยา ข. พฤกษศาสตร์ ค. จุลชีววิทยา ง. พันธุศาสตร์ 13. ข้อใดจัดเป็นสมมติฐาน ก. คาตอบของคาถาม ข. สิ่งที่เป็นไปได้ ค. จินตนาการ ง. การทดลอง 14. โครงงานชีววิทยา เรื่อง “โมเดลแบบจาลองสารพันธุกรรม DNA จากขยะอิเล็กทรอนิกส์” จัดเป็นโครงงาน ประเภทใด ก. โครงงานประเภททดลอง ข. โครงงานประเภทสารวจ ค. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ง. โครงงานประเภททฤษฎี 15. กลุ่มควบคุมในการทดลองทางวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ทาการทดลองในด้านใด ก. ช่วยยืนยันผลการทดลอง ข. ป้องกันการผิดพลาดในการทดลอง ค. ช่วยให้ตัวแปรอื่นๆไม่ส่งผลต่อการทดลอง ง. ช่วยอ้างอิงในการสรุปผลการทดลอง 16. ขั้นตอนใดของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะนาไปสู่การหาคาตอบของปัญหาและการศึกษาต่อไป ก. การรวบรวมข้อมูล ข. การสังเกตและการบันทึกข้อมูล ค. การตรวจสอบสมมติฐาน และการรวบรวมข้อมูล ง. การตั้งสมมติฐาน และการออกแบบการทดลอง 17. การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาประมวลผลว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ ตรงกับข้อใด ก. การตั้งปัญหา ข. การตรวจสอบ ค. การวิเคราะห์ ง. การสรุป โครงงานชีววิทยา เรื่อง “กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจากเกล็ดปลาชนิดต่างๆ” ตอบคาถามข้อ 18-20 18. สิ่งใดเป็นตัวแปรต้น ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้ ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 19. ข้อใดเป็นตัวแปรตำม ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้ ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 20. ข้อใดเป็นตัวแปรควบคุม ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้ ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
  • 38. แบบทดสอบหลังเรียนรายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมำย  ลงใน กระดำษคำตอบที่แจกให้ 1. ข้อใดเรียงลาดับขั้นตอนการศึกษาทางชีววิทยาได้อย่างถูกต้อง ก. ปัญหา,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,วิเคราะห์,สรุป ข. ตรวจสอบ,ปัญหา,วิเคราะห์,สรุป,สมมติฐาน ค. วิเคราะห์,สรุป,ปัญหา,ตรวจสอบ,สมมติฐาน ง. ปัญหา,วิเคราะห์,สมมติฐาน,ตรวจสอบ,สรุป 2. การศึกษาด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส คือข้อใด ก. สัตววิทยา ข. พฤกษศาสตร์ ค. จุลชีววิทยา ง. พันธุศาสตร์ 3. ข้อใดจัดเป็นสมมติฐาน ก. คาตอบของคาถาม ข. สิ่งที่เป็นไปได้ ค. จินตนาการ ง. การทดลอง 4. โครงงานชีววิทยา เรื่อง “โมเดลแบบจาลองสารพันธุกรรม DNA จากขยะอิเล็กทรอนิกส์” จัดเป็นโครงงาน ประเภทใด ก. โครงงานประเภททดลอง ข. โครงงานประเภทสารวจ ค. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ง. โครงงานประเภททฤษฎี 5. กลุ่มควบคุมในการทดลองทางวิทยาศาสตร์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ทาการทดลองในด้านใด ก. ช่วยยืนยันผลการทดลอง ข. ป้องกันการผิดพลาดในการทดลอง ค. ช่วยให้ตัวแปรอื่นๆไม่ส่งผลต่อการทดลอง ง. ช่วยอ้างอิงในการสรุปผลการทดลอง 6. ขั้นตอนใดของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่จะนาไปสู่การหาคาตอบของปัญหาและการศึกษาต่อไป ก. การรวบรวมข้อมูล ข. การสังเกตและการบันทึกข้อมูล ค. การตรวจสอบสมมติฐาน และการรวบรวมข้อมูล ง. การตั้งสมมติฐาน และการออกแบบการทดลอง 7. การนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาประมวลผลว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่ ตรงกับข้อใด ก. การตั้งปัญหา ข. การตรวจสอบ ค. การวิเคราะห์ ง. การสรุป โครงงานชีววิทยา เรื่อง “กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจากเกล็ดปลาชนิดต่างๆ” ตอบคาถามข้อ 8-10 8. สิ่งใดเป็นตัวแปรต้น ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้ ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 9. ข้อใดเป็นตัวแปรตำม ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้ ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง ชื่อ....................นามสกุล...............................เลขที่..........ชั้น............
  • 39. 10. ข้อใดเป็นตัวแปรควบคุม ก. กระดาษอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ข. ปริมาณของเกล็ดปลาที่ใช้ ค. ชนิดของเกล็ดปลาที่ใช้ ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 11. ชีววิทยา (Biology) หมายถึงข้อใด ก. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับมนุษย์ ข. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับพืช ค. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์ ง. การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต 12. หน่วยพื้นฐานสาคัญที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต คือข้อใด ก. เซลล์ ข. เนื้อเยื่อ ค. อวัยวะ ง. ระบบอวัยวะ 13. การแตกหน่อของไฮดรา เป็นคุณสมบัติข้อใดของสิ่งมีชีวิต ก. ความต้องการพลังงาน ข. การสืบพันธุ์ ค. การเจริญเติบโต ง. การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม 14. ข้อใดคือคุณสมบัติการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต ก. การเอนเข้าหาแสงของยอดถั่ว ข. การเปลี่ยนรูปร่างของดักแด้เป็นผีเสื้อ ค. การลดรูปใบเป็นหนามของกระบองเพชร ง. การขับปัสสาวะหลังจากดื่มน้ามากๆ 15. ข้อใดคือองค์ประกอบของวิชาชีววิทยา ก. องค์ความรู้และการประยุกต์ใช้ ข. กระบวนการศึกษาและการประยุกต์ใช้ ค. องค์ความรู้และกระบวนการศึกษา ง. ถูกทุกข้อ 16. ข้อใดยกตัวอย่างของการศึกษาด้านชีววิทยาที่ถูกต้อง ก. การศึกษาความเร็วของแสง ข. การศึกษาการเคลื่อนที่ของคลื่น ข. การศึกษากระบวนการย่อยอาหาร ง. การศึกษาการทางานของระบบรอก 17. ข้อใดคือกระบวนการที่ใช้ในการศึกษาชีววิทยา ก. กระบวนการทางสังคมศาสตร์ ข. กระบวนการทางภาษาศาสตร์ ค. กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ง. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 18. ข้อใดคือความหมายของการศึกษาสรีรวิทยา ก. การศึกษาโครงสร้างภายในสิ่งมีชีวิต ข. การศึกษารูปร่างภายนอกของสิ่งมีชีวิต ค. การศึกษาหน้าที่ระบบอวัยวะภายในสิ่งมีชีวิต ง. ถูกทุกข้อ 19. เครื่องมือที่ช่วยขยายขอบเขตการสังเกตของมนุษย์ในการศึกษาเซลล์วิทยาคือข้อใด ก. กล้องจุลทรรศน์ ข. กล้องโทรทรรศน์ ค. กล้องวีดิทัศน์ ง. กล้องดิจิตอล 20. ขั้นตอนใดเป็นหัวใจของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ก. การตั้งสมมติฐาน ข. การสังเกต ค. การดาเนินการทดลอง ง. การสรุปผลการทดลอง @@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
  • 40. เฉลย : แบบทดสอบรายวิชาชีววิทยา 1 เรื่อง บทนาทางชีววิทยา ก่อนเรียน หลังเรียน 1. ง. 2. ก. 3. ข. 4. ค. 5. ค. 6. ค. 7. ง. 8. ค. 9. ก. 10. ข. 11. ก. 12. ค. 13. ข. 14. ค. 15. ค. 16. ง. 17. ง. 18. ค. 19. ก. 20. ข. 1. ก. 2. ค. 3. ข. 4. ค. 5. ค. 6. ง. 7. ง. 8. ค. 9. ก. 10. ข. 11. ง. 12. ก. 13. ข. 14. ค. 15. ค. 16. ค. 17. ง. 18. ค. 19. ก. 20. ข.