SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 2
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
การถ่ายทอด
พลังงาน
ในระบบนิเวศ
ประชากรใน
ระบบนิเวศ
วัฏจักรของ
สาร
ระบบนิเวศ
• กลุ่มสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และ
จุลินทรีย์ที่อาศัย
อยู่บริเวณเดียวกัน มีความสัมพันธ์
กัน
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
อย่างเป็นระบบ
• โลกเป็นระบบนิเวศที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดเรียกว่า โลกของสิ่งมีชีวิต
(biosphere)
ความหมายของ
ระบบนิเวศ
กลุ่มสิ่งมีชีวิต (community): กลุ่ม
ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อาศัยอยู่ภายใน
ระบบนิเวศ ซึ่งอาจมีหนึ่งชนิดหรือ
มากกว่า
หนึ่งชนิดขึ้นไปก็ได้
กลุ่มสิ่งมีชีวิต (community): กลุ่ม
ของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อาศัยอยู่ภายใน
ระบบนิเวศ ซึ่งอาจมีหนึ่งชนิดหรือ
มากกว่า
หนึ่งชนิดขึ้นไปก็ได้
แหล่งที่อยู่ (habitat): บริเวณที่
มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เช่น บริเวณทุ่ง
หญ้า ในหนองนำ้า เป็นต้น
แหล่งที่อยู่ (habitat): บริเวณที่
มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ เช่น บริเวณทุ่ง
หญ้า ในหนองนำ้า เป็นต้น
สิ่งแวดล้อม (environment): องค์
ประกอบที่ไม่มีชีวิต ซึ่งมีความสัมพันธ์
และเกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ เช่น
อากาศ แสง นำ้า ดิน แร่ธาตุ เป็นต้น
สิ่งแวดล้อม (environment): องค์
ประกอบที่ไม่มีชีวิต ซึ่งมีความสัมพันธ์
และเกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ เช่น
อากาศ แสง นำ้า ดิน แร่ธาตุ เป็นต้น
โครงสร้
างของ
ระบบ
นิเวศ
โครงสร้
างของ
ระบบ
นิเวศ
โครงสร้างของ
ระบบนิเวศ
การแบ่งประเภทของระบบนิเวศ โดยใช้แหล่งที่อยู่เป็น
เกณฑ์
ประเภทของ
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศบนบก
(terrestrial
ecosystem): ระบบนิเวศที่
กลุ่มสิ่งมีชีวิตภายในระบบ
อาศัยอยู่บนพื้นดิน เช่น
ระบบนิเวศทุ่งหญ้า ระบบ
ระบบนิเวศในนำ้า
(aquatic ecosystem):
ระบบนิเวศที่กลุ่มสิ่งมีชีวิต
ภายในระบบอาศัยอยู่ใน
แหล่งนำ้าต่างๆ เช่น ระบบ
นิเวศในสระ ระบบนิเวศใน
ระบบ
นิเวศ
การแบ่งประเภทของระบบนิเวศ โดยใช้องค์ประกอบ
ภายในระบบนิเวศเป็นเกณฑ์
ระบบนิเวศนำ้าจืด
ระบบนิเวศป่าไม้
ระบบนิเวศนำ้าเค็ม
ระบบนิเวศป่าชายเลน
องค์ประกอบทางกายภาพ (physical
component)
องค์ประกอบที่เป็นสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งมีส่วนสำาคัญที่ทำาให้เกิด
ความสมดุลของระบบนิเวศ
• สารอนินทรีย์ เช่น ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน
ไนโตรเจน
• สารอินทรีย์ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
• สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูมิ ความชื้น
แก๊สต่างๆ เป็นต้น
องค์ประกอบของ
ระบบนิเวศ
องค์ประกอบทางชีวภาพ (biological
component)
องค์ประกอบที่เป็นสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศ
นั้น ซึ่งแต่ละชนิดมีบทบาทแตกต่างกัน
ผู้ผลิต คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเพื่อการดำารง
ชีวิตได้เอง ได้แก่ พืช และจุลินทรีย์บางชนิด ซึ่งเป็นจุด
เริ่มต้นของพลังงานในระบบนิเวศ
ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง
จึงต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตอื่นเพื่อดำารงชีวิต
ผู้บริโภคพืช
ผู้บริโภคซากสัตว์ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์
ผู้บริโภคสัตว์
ผู้ย่อยสลาย คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้
เอง ดำารงชีวิตได้ด้วยการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็น
สารอินทรีย์ เช่น จุลินทรีย์ เห็ด รา เป็นต้น
ผู้บริโภคสัตว์ ผู้บริโภคพืช
ผู้ผลิต
ผู้ย่อยสลาย
เป็นอาหาร
เป็นอาหาร
ตายตาย
ตายย่อยสลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อย
สลายในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมี
ชีวิตในระบบนิเวศ
ภาวะการได้ประโยชน์ร่วมกัน
(protocooperation)
สิ่งมีชีวิตทั้งสองฝ่ายต่างได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งคู่ เช่น
เพลี้ยกับมด ผึ้งกับดอกไม้
เป็นต้น
ภาวะพึ่งพา (mutualism)
สิ่งมีชีวิตทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์ร่วมกัน แต่ทั้งสองฝ่ายจะ
ต้องอยู่ร่วมกันตลอดเวลา หากแยกกันอยู่อีกฝ่ายจะไม่
สามารถดำารงชีวิตอยู่ได้ เช่น ไลเคน แบคทีเรียในปมราก
ถั่ว โปรโตซัวในลำาไส้ปลวก เป็นต้น
ภาวะอิงอาศัย (commensalism)
สิ่งมีชีวิตฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้และไม่
เสียประโยชน์ หากแยก
กันอยู่ ต่างฝ่ายก็ยังสามารถดำารงชีวิตอยู่ได้ตามปกติ เช่น
เถาวัลย์ที่เกาะบนต้นไม้ เหาฉลามกับฉลาม เพรียงบนตัว
สัตว์นำ้า เป็นต้น
ภาวะปรสิต (parasitism)
สิ่งมีชีวิตฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ คือ ผู้อาศัย (parasite)
แต่อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์ คือ ผู้ถูกอาศัย (host) เช่น
พยาธิในร่างกายมนุษย์ เห็บบนตัวสุนัข กาฝากบนต้นไม้
เป็นต้น
ภาวะแข่งขัน
(competition)
สิ่งมีชีวิตแข่งขันกันเพื่อแย่งชิง
สิ่งที่ต้องการ ซึ่งอาจจะทำาให้
เกิดประโยชน์กับทั้งสองฝ่าย
เช่น
สุนัขแย่งอาหารกัน ต้นไม้แย่ง
กันรับแสง เป็นต้น
ภาวะล่าเหยื่อ (predation)
สิ่งมีชีวิตฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ จากการเป็นผู้ล่า
(predator) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์จากการเป็นผู้ถูกล่า
(prey) เช่น เหยี่ยวจับหนู งูกินกบ สิงโตล่าม้าลาย
วาฬล่าแมวนำ้า เป็นต้น
การถ่ายทอดพลังงานใน
ระบบนิเวศ
• ผู้ผลิต สามารถดูดกลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาใช้
ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อสร้างอาหารได้
• ผู้บริโภค ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้จึงต้องบริโภคสิ่งมี
ชีวิตอื่นเพื่อนำาพลังงานจากอาหารที่บริโภคมาใช้ในการ
ดำารงชีวิต
• การบริโภคที่ต่อเนื่องกันเป็นทอดๆ ทำาให้เกิด
การถ่ายทอดพลังงานระหว่างสิ่งมีชีวิต เรียกว่า
โซ่อาหาร
• สิ่งมีชีวิตในโซ่อาหารที่เกี่ยวพันกับโซ่อาหารอื่น
มากกว่า 1 โซ่อาหาร ซึ่งจะเกิดความสัมพันธ์
ที่ซับซ้อน เรียกว่า สายใยอาหาร
การถ่ายทอด
พลังงานในระบบ
นิเวศ
• พืชใช้คลอโรฟิลล์เป็นตัวดูดกลืนพลังงานแสง เพื่อนำามา
ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
• สัตว์ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง จึงถือเป็นผู้บริโภค
– ผู้บริโภคลำาดับที่หนึ่ง คือ ผู้บริโภคที่กินผู้ผลิตเป็น
อาหาร
– ผู้บริโภคลำาดับที่สอง คือ ผู้บริโภคที่กินผู้บริโภค
ลำาดับที่หนึ่งเป็นอาหาร
– ผู้บริโภคลำาดับสูงสุด คือ ผู้บริโภคที่อยู่ปลายสุด
ของโซ่อาหาร
ผู้
ผลิ
ต
ผู้บริโภคลำาดับ
ที่หนึ่ง
ผู้บริโภคลำาดับ
ที่สอง
ผู้บริโภคลำาดับ
สูงสุด
โซ่
อาหา
ร
• การถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหารสู่ผู้บริโภคแต่ละลำาดับ
ขั้นจะเป็นเพียง 10% ของพลังงานที่เข้ามา ส่วนอีก 90%
จะสูญสลายไปในรูปของพลังงานอื่นๆ
• อาหารที่สัตว์กินเข้าไปไม่ได้เปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อทั้งหมด
ส่วนหนึ่งถูกเผาผลาญไปเป็นพลังงานที่ใช้ในการ
เคลื่อนไหวและทำากิจกรรม จึงมีอาหารเพียงบางส่วน
เท่านั้นที่ถูกนำาไปใช้ในการสร้างเนื้อเยื่อ ซึ่งมวลของ
เนื้อเยื่อที่ถูกสร้างจากอาหารส่วนนี้ เรียกว่า มวลชีวภาพ
(biomass)ผู้บริโภคลำาดับ
สูงสุด
ผู้บริโภคลำาดับ
ที่ 2
ผู้บริโภค
ลำาดับที่ 1
ผู้ผลิต 1,000
Kg
100
Kg
10 Kg
1 Kg
• โซ่อาหารแต่ละโซ่อาจมีความสัมพันธ์กับโซ่อาหารอื่นๆ ซึ่ง
เกิดเป็นสายใยอาหาร
• สายใยอาหารของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความสลับซับซ้อนมาก
แสดงว่าผู้บริโภคมีทางเลือกในการกินอาหารได้หลายทาง
ส่งผลให้กลุ่มสิ่งมีชีวิตนั้นมีความมั่นคงในการดำารงชีวิต
สายใย
อาหาร
พีระมิดจำานวน
แสดงให้เห็นจำานวนของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำาดับขั้นของโซ่
อาหารต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตร
พีระมิดการ
ถ่ายทอด
พลังงาน
พีระมิดมวลชีวภาพ
แสดงให้เห็นปริมาณหรือมวลของสิ่งมีชีวิตในแต่ละลำาดับขั้น
ของโซ่อาหาร
พีระมิดพลังงาน
แสดงอัตราการถ่ายทอดพลังงานในหน่วยของพลังงานต่อ
หน่วยพื้นที่ ซึ่งพีระมิดจะมีลักษณะฐานกว้างแล้วเรียวไปหาย
อด
ประชากรในระบบนิเวศ
การศึกษาขนาดหรือลักษณะความหนาแน่นของ
ประชากรในแต่ละแหล่งที่อยู่หนึ่งๆ สามารถศึกษาได้จาก
การอพยพเข้า การอพยพออก การเกิด และการตายของ
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
•ประชากรที่มีขนาดคงที่ แสดงว่า อัตราการเกิดรวม
กับอัตราการอพยพเข้าเท่ากับอัตราการตายรวมกับอัตราการ
อพยพออก
ขนาดของ
ประชากร
• ประชากรมีขนาดเพิ่มขึ้น แสดงว่า อัตราการเกิด
รวมกับอัตราการอพยพเข้ามีค่ามากกว่าอัตราการตาย
รวมกับอัตราการอพยพออก
• ประชากรมีขนาดลดลง แสดงว่า อัตราการเกิดรวม
กับอัตราการอพยพเข้ามีค่าน้อยกว่าอัตราการตายรวม
กับอัตราการอพยพออก
การเปลี่ยนแปลงอัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการ
อพยพเข้า และอัตราการอพยพออก เกิดจากปัจจัยทั้งภายใน
และภายนอก ตัวอย่างเช่น
การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อม: สภาพ
แวดล้อมที่ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลง หรือเกิด
การเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
และรุนแรง อาจทำาให้
จำานวนประชากร
ลดลงได้
กิจกรรมต่างๆ ของ
มนุษย์: ตัวอย่างเช่นการ
ทำาไร่เลื่อนลอย หรือการ
ถางป่าเพื่อทำาฟาร์มเลี้ยง
สัตว์หรือเพื่อการเกษตร
เป็นการทำาลายที่อยู่อาศัย
ของสิ่งมีชีวิตบางชนิดใน
ธรรมชาติ
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของประชากร
จำานวนผู้ล่า: การที่ผู้
ล่ามีจำานวนเพิ่มมากขึ้น
ในขณะที่เหยื่อยังคงมี
จำานวนเท่าเดิมหรือเพิ่ม
ขึ้นเพียงเล็กน้อย ทำาให้
เหยื่อมีโอกาสถูกล่าและ
ลดจำานวนลงอย่าง
รวดเร็ว
ทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างจำากัด: บางครั้ง
สิ่งมีชีวิตก็อาจจำาเป็น
ต้องต่อสู้เพื่อแย่งชิง
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จำากัด ซึ่งอาจทำาให้
เกิดการล้มตายลงได้
การเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็ว:
พืชหรือสิ่งมีชีวิตบาง
ชนิดที่มีการเจริญ
เติบโตอย่างรวดเร็ว จะ
ทำาให้เกิดความหนา
แน่นในแหล่งที่อยู่
การแพร่ระบาดของ
ศัตรูธรรมชาติ: ศัตรู
ธรรมชาติที่เพิ่มจำานวน
อย่างรวดเร็วมีผลกระ
ทบต่อจำานวนประชากร
ของสิ่งมีชีวิตบางชนิด
การสำารวจลักษณะทางกายภาพ
เป็นการสำารวจเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลของสิ่งไม่มีชีวิตทาง
ด้านสภาพแวดล้อม เช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ ค่าความเป็นก
รด-เบส ความชื้น ปริมาณแร่ธาตุ เป็นต้น
การสำารวจองค์ประกอบ
ภายในระบบนิเวศ
การสำารวจลักษณะทางชีวภาพ
เป็นการสำารวจเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลของสิ่งมีชีวิต
โดยพิจารณาจากชนิด จำานวน และความหนาแน่นของสิ่ง
มีชีวิตต่อพื้นที่ที่สำารวจ ซึ่งอาศัยการสังเกตและเก็บตัวอย่าง
หรือการนับจำานวนประชากรโดยใช้การสุ่มจากบางบริเวณ
และนำามาวิเคราะห์เพื่อประเมินผล
วัฏจักรของสาร
• ผู้ผลิตสามารถดึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ มาใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
• ผู้บริโภคได้รับคาร์บอนจากอาหารที่กินเข้าไป
• ผู้ย่อยสลายจะได้รับคาร์บอนจากกระบวนการย่อยสลายอิน
ทรียสาร
• สิ่งมีชีวิตปล่อยคาร์บอนคืนสู่ธรรมชาติโดยการหายใจออก ซึ่ง
ผู้ผลิตสามารถนำากลับไปใช้ ได้อีกครั้ง
วัฏจักร
คาร์บอน
• พืชสามารถตรึง
ไนโตรเจนได้จาก
อากาศและในดินเพื่อ
นำาไปสร้างโปรตีน
• เมื่อสัตว์กินพืช จะได้
รับไนโตรเจนในรูป
โปรตีนจากพืช
• เมื่อพืชและสัตว์ตาย
จะถูก
ย่อยสลายเป็นเกลือ
แอมโมเนีย
ซึ่งบางส่วนถูก
แบคทีเรีย
วัฏจักร
ไนโตรเจ
น
• ปมรากของพืชตระกูล
ถั่วเกิดจากแบคทีเรีย
ไรโซเบียมซึ่งสามารถ
ตรึงไนโตรเจนจาก
อากาศและ ในดินได้
• แอนาบีนาที่อยู่ร่วมกับ
แหนแดง สามารถตรึง
ไนโตรเจนจาก
อากาศได้ โดยจะ
เปลี่ยนให้เป็น
สารประกอบไนโตรเจน
• พืชนำาฟอสฟอรัสจากธรรมชาติที่ละลายนำ้า ไปใช้และเก็บสะสม
ไว้ในเซลล์
• เมื่อสัตว์กินพืชจะได้รับฟอสฟอรัสผ่านกระบวนย่อยสลายสาร
อาหาร
• เมื่อพืชและสัตว์ตาย แร่ธาตุจะกลับลงสู่ดิน พืชจะนำา
ฟอสฟอรัสไปใช้ในการเจริญเติบโตต่อไป
• การหมุนเวียนของฟอสฟอรัสที่เกิดขึ้นในทะเลเกิดจากการ
ทับถมของซากปะการัง เปลือกหอย และโครงกระดูกสัตว์ ที่
ผ่านกระบวนการสึกกร่อนตามธรรมชาติ
วัฏจักร
ฟอสฟอรัส
• ไอนำ้าที่ลอยตัวขึ้นสู่บรรยากาศเกิดจากนำ้าจากแหล่งต่างๆ
ระเหยกลายเป็นไอ รวมทั้งจากการคายนำ้าของพืช การ
หายใจของสิ่งมีชีวิต และของเหลวจากการขับถ่าย
• ไอนำ้าที่รวมกันจะมีลักษณะร้อนชื้น เมื่อลอยสูงขึ้นไปปะทะ
กับอากาศเย็นด้านบนบางส่วนจะถูกควบแน่นกลายเป็น
หยดนำ้าขนาดเล็กในรูปของเมฆ
• เมื่อหยดนำ้ามีขนาดใหญ่ขึ้น จะตกลงมาเป็นฝนและถูกกัก
เก็บไว้ตามแหล่งนำ้าต่างๆ
วัฏจัก
รนำ้า
• ระบบนิเวศ คือ กลุ่มสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ และ
จุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน และมีความสัมพันธ์
เกี่ยวข้องกันเป็นระบบ
• ผู้ผลิต คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหารเพื่อใช้ในการ
ดำารงชีวิตได้เอง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของพลังงานในระบบ
นิเวศ
• ผู้บริโภค คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง จึง
ต้องบริโภคสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
• ผู้ย่อยสลาย คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง
ดำารงชีวิตด้วยการย่อยสลายซากของสิ่งมีชีวิต ให้กลาย
เป็นสารอินทรีย์
• สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันโดย
การถ่ายทอดพลังงานในรูปของโซ่อาหารและสายใย
สรุปทบทวนประจำา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Wichai Likitponrak
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
sukanya petin
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
Wichai Likitponrak
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
Wichai Likitponrak
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 

What's hot (20)

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 

Similar to ระบบนิเวศ

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
Tin Savastham
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศKru NoOk
 
01 key 48
01 key 4801 key 48
01 key 48
Krupol Phato
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
chirapa
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สมพร นายน้อย
 

Similar to ระบบนิเวศ (20)

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
01 key 48
01 key 4801 key 48
01 key 48
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 

More from Supaluk Juntap

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
Supaluk Juntap
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
Supaluk Juntap
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Supaluk Juntap
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Supaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Supaluk Juntap
 
Prepositions of Place
Prepositions of PlacePrepositions of Place
Prepositions of Place
Supaluk Juntap
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
Supaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
Homophones
HomophonesHomophones
Homophones
Supaluk Juntap
 

More from Supaluk Juntap (11)

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
 
Interest/opinion
Interest/opinionInterest/opinion
Interest/opinion
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Prepositions of Place
Prepositions of PlacePrepositions of Place
Prepositions of Place
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
Homophones
HomophonesHomophones
Homophones
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ระบบนิเวศ