SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
บทที่ 2
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง (18 ชั่วโมง)
2.1 จํานวนตรรกยะ (3 ชั่วโมง)
2.2 จํานวนอตรรกยะ (2 ชั่วโมง)
2.3 รากที่สอง (7 ชั่วโมง)
2.4 รากที่สาม (6 ชั่วโมง)
นักเรียนไดรูจักและใชจํานวนเต็ม เศษสวนและทศนิยมมาแลว ในบทนี้มุงใหนักเรียนมีความ
คิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะและจํานวนจริง สําหรับสาระเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะ
มีเจตนาเพียงใหนักเรียนไดรูจักจํานวนอตรรกยะและสามารถยกตัวอยางได ในบทนี้จะยังไมกลาวถึงสมบัติ
ของจํานวนจริงและการคํานวณเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูป a เมื่อ a > 0 หัวขอรากที่สองและรากที่
สามไดเสนอวิธีหารากไวหลายวิธี สําหรับรากที่สามจะไมกลาวถึงวิธีการประมาณ เพราะมีการคํานวณที่
คอนขางยุงยาก
ในการจัดการเรียนการสอน ครูจะตองดําเนินกิจกรรมใหนักเรียนรูและตระหนักเสมอวา
จํานวนจริงจํานวนหนึ่งจะตองเปนจํานวนตรรกยะ หรือจํานวนอตรรกยะอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น และรูวา
ในการคํานวณทั่ว ๆ ไปจะใชคาประมาณที่เปนจํานวนตรรกยะแทนจํานวนอตรรกยะ เชน ใช 7
22 แทน
π ใช 1.414 แทน 2 เปนตน
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียนทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวนได
2. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
3. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
4. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงได
5. บอกความสัมพันธของการยกกําลังและการหารากของจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได
6. หารากที่สองของจํานวนตรรกยะที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบการประมาณ
การเปดตาราง หรือการใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
7. หารากที่สามของจํานวนตรรกยะที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบ การเปดตาราง หรือ
การใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
8. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สามของจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได
9. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
27
แนวทางในการจัดการเรียนรู
2.1 จํานวนตรรกยะ (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซ้ํา
2. เขียนทศนิยมซ้ําใหอยูในรูปเศษสวน
3. บอกไดวาจํานวนที่กําหนดใหเปนจํานวนตรรกยะหรือไม
4. ยกตัวอยางจํานวนตรรกยะได
5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.1
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนการเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซ้ํา และการเขียนทศนิยมซ้ําศูนยใหอยูใน
รูปเศษสวน เพื่อเชื่อมโยงไปสูการเขียนทศนิยมซ้ําอื่น ๆ ใหอยูในรูปเศษสวน
2. หลังจากที่นักเรียนไดเรียนการเขียนทศนิยมซ้ําที่ตัวซ้ําไมใชศูนยใหอยูในรูปเศษสวนแลว
ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.1 และชวยกันหาวิธีลัดในการเขียนทศนิยมเปนเศษสวนไดอยาง
รวดเร็ว เชน ใหสังเกตแบบรูปดังตอไปนี้
⋅
7.0 = 9
7
⋅⋅
34.0 = 99
43
⋅⋅
853.0 = 990
3358−
= 990
535 หรือ 198
71
ครูอาจพบคําถามของนักเรียนวา
⋅
9.0 เขียนเปนเศษสวนไดเทาไร ถาทําตามวิธีการดังที่เสนอ
ไวจะได
⋅
9.0 = 9
9 หรือ
⋅
9.0 = 1 ถามีนักเรียนไมยอมรับคําตอบนี้ ใหครูบอกวา ในทางคณิตศาสตร
ถือเปนขอตกลงในการเขียน
⋅
9.0 เปนเศษสวนไดเปน 1
3. กิจกรรม “มารูจักจํานวนตรรกยะกันเถอะ” มุงใหนักเรียนอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา
จํานวนตรรกยะทุกจํานวน สามารถแทนไดดวยจุดบนเสนจํานวนและไมมีจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดและ
นอยที่สุด หลังจากนั้นครูจึงใหนักเรียนชวยกันสรุปเปนแผนผังจํานวนตรรกยะ
28
4. ครูควรใชการสนทนาใหเห็นการใชจํานวนตรรกยะในชีวิตประจําวัน ดังตัวอยางสถานการณ
ที่เสนอไวในหนังสือเรียนหนา 40 ครูควรชี้ใหเห็นความจําเปนและประโยชนของการใชคาประมาณใน
ชีวิตประจําวันประกอบกันดวย
5. สําหรับแบบฝกหัด 2.1 ขอ 5, 6 และ 7 มุงใหนักเรียนเห็นการใชจํานวนตรรกยะในชีวิต
ประจําวัน ซึ่งอาจมีทางเลือกหลากหลายรวมทั้งใหสามารถตัดสินใจแกปญหาโดยใชขอมูลที่มีอยู บางขอ
อาจมีคําตอบไดมากกวาหนึ่งคําตอบ ครูควรใหนักเรียนไดอภิปรายแสดงเหตุผลประกอบคําตอบดวย
6. สําหรับกิจกรรม “เปนจํานวนตรรกยะหรือไม” ตองการใหนักเรียนหาขอสรุปเกี่ยวกับผล
ลัพธที่เกิดจากการบวก ลบ คูณ และหารจํานวนตรรกยะกับจํานวนตรรกยะ โดยอาจใชการยกตัวอยาง
หลาย ๆ ตัวอยางเพื่อคาดการณหาขอสรุป
7. สําหรับกิจกรรม “หาไดอยางไร” มุงฝกการคิดและพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนของนักเรียน
นักเรียนอาจใชวิธีคิดคํานวณที่แตกตางกัน ครูควรพิจารณาและยอมรับคําตอบที่สมเหตุสมผลของนักเรียน
2.2 จํานวนอตรรกยะ (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บอกไดวาทศนิยมที่กําหนดใหเปนทศนิยมซ้ําหรือไม
2. บอกไดวาจํานวนที่กําหนดใหเปนจํานวนอตรรกยะหรือไม
3. ยกตัวอยางจํานวนอตรรกยะได
4. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได
5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. เนื่องจากนักเรียนเคยรูจักและใช π ในการหาความยาวของเสนรอบวงของวงกลมและหา
พื้นที่ของวงกลมมาแลว ครูอาจนําเขาสูบทเรียนโดยนําเรื่องของ π มาแนะนําเปนตัวอยางจํานวน
อตรรกยะ แลวจึงแนะนําใหรูจัก 2 ซึ่งเปนจํานวนอตรรกยะอีกจํานวนหนึ่งที่ใชบอยก็ได
2. ในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนหาคาประมาณของ 2 ตามหนังสือเรียน ครูอาจให
นักเรียนใชเครื่องคํานวณหาทศนิยมแสดงคา 2 ไปพรอม ๆ กับที่ครูอธิบายและแสดงใหเห็นคาประมาณ
ที่ใกลเคียงเปนทศนิยมหลาย ๆ ตําแหนงตามที่ตองการ
ครูควรยกตัวอยางทศนิยมที่ไมใชทศนิยมซ้ํา ใหนักเรียนสังเกตเห็นความแตกตางจากทศนิยม
ซ้ํา และอาจใหนักเรียนยกตัวอยางทศนิยมที่ไมใชทศนิยมซ้ําเพิ่มเติม
ครูควรใหนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับ π, 7
22 , 3.14, 3.141592… วาจํานวนใดเปนจํานวน
ตรรกยะ จํานวนใดเปนจํานวนอตรรกยะ เพราะเหตุใด
29
3. 2 และ π เปนตัวอยางของจํานวนอตรรกยะที่มีการนําไปใชงานมาก แตไมสามารถเขียน
ในรูปเศษสวนหรือทศนิยมซ้ําได นักเรียนจึงอาจสงสัยวาจะเขียน 2 และ π บนเสนจํานวนไดหรือไม
การหาจุดบนเสนจํานวนที่แทน 2 โดยใชทฤษฎีบทพีทาโกรัส และแทน π โดยการกลิ้งรูปวงกลมที่มี
เสนผานศูนยกลางยาวเทากับ 1 หนวย ที่นําเสนอไวมีเจตนาใหนักเรียนเห็นวา เราสามารถเขียนแทน
จํานวนอตรรกยะ ดวยจุดบนเสนจํานวนไดเชนเดียวกับจํานวนตรรกยะ
4. สําหรับกิจกรรม “ลองคิดดู” ตองการใหนักเรียนไดอภิปรายกันและใหไดขอสรุปวา จํานวน
ตรงขามของจํานวนอตรรกยะบวกเปนจํานวนอตรรกยะลบ และไมมีจํานวนจริงใดที่เปนทั้งจํานวนตรรกยะ
และจํานวนอตรรกยะ
5. π เปนจํานวนอตรรกยะที่ใชในการคํานวณหาพื้นที่และความยาวของเสนรอบวงของวงกลม
ในหลายระดับชั้น แตนักเรียนอาจยังไมทราบรายละเอียดเกี่ยวกับ π กรอบความรูเรื่อง “คาของ π”
จึงมุงใหนักเรียนไดความรูเกี่ยวกับ π และวิธีการคํานวณคาของ π ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน ครูอาจ
ใหนักเรียนหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคาของ π จากหนา 128 – 129 ของหนังสือเรียนสาระการเรียนรู
เพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
2.3 รากที่สอง (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของรากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได
2. อานและใชสัญลักษณ ไดถูกตอง
3. อธิบายความสัมพันธของการยกกําลังสองและการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได
4. หารากที่สองของจํานวนจริงที่กําหนดใหโดยการประมาณ การเปดตาราง หรือการใช
เครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
5. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได
6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการกลาวถึงรากที่สองของจํานวนจริงบวกใด ๆ หรือศูนย ครูควรจัดกิจกรรมใหนักเรียนมี
ความคิดรวบยอดและเห็นความแตกตางระหวางการหา “รากที่สอง” กับ “ ”
ครูอาจแนะใหนักเรียนเรียกจํานวน เชน 2 วา กรณฑที่สองของ 2 และเรียก 2- วา
ลบกรณฑที่สองของ 2
2. ในการเรียนการสอนหากนักเรียนเขียนคําตอบของรากที่สองอยูในรูปที่มีเครื่องหมายกรณฑ
เชน ตอบวารากที่สองของ 81 คือ 81 และ 81- ครูก็ไมควรถือวาผิด ถึงแมวาจะไมใชคําตอบที่
30
สมบูรณ เพื่อใหนักเรียนไดตระหนักถึงคําตอบในกรณีเชนนี้ที่นิยมเขียนเปนจํานวนเต็ม ครูจึงควรย้ําให
นักเรียนพิจารณาและตรวจสอบวาสามารถหาคําตอบเปนจํานวนเต็มไดหรือไม ถาไดก็ควรตอบเปน
จํานวนเต็ม
3. สําหรับกิจกรรม “ทําไดหรือไม” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นความแตกตางของคําสั่งเกี่ยวกับ
รากที่สอง ครูควรฝกใหนักเรียนอานโจทยอยางชา ๆ และตีความหมายโจทยใหถูกตอง
4. สําหรับแบบฝกหัด 2.3 ก ขอ 3 ไมตองการใหครูสอนการหาคําตอบดวยวิธีการแกสมการ
โดยใชสมบัติของการเทากัน แตตองการใหใชบทนิยามมาวิเคราะหหาคําตอบ เชน
x2
= 9 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนที่ยกกําลังสองแลวได 9)
x = 5 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนซึ่งมีรากที่สองเปน 5 ซึ่งจะหาไดงาย
โดยหากําลังสองของ 5)
5. การหาคารากที่สองของจํานวนนับที่กําหนดใหโดยวิธีแยกตัวประกอบจะกลาวถึงเฉพาะคํา
ตอบที่เปนจํานวนเต็ม ครูจึงควรระมัดระวังในการใหโจทยเพิ่มเติม อยาใหโจทยมีคําตอบที่ตองเขียนอยูใน
รูปที่มีเครื่องหมายกรณฑ เชน 32
6. การหารากที่สองโดยการประมาณ มีขอสังเกตสําหรับครูวาในหนังสือเรียนไดใหตัวอยาง
จํานวนเต็มที่นักเรียนสามารถบอกไดอยางรวดเร็ววา รากที่สองที่ประมาณเปนจํานวนเต็มคือจํานวนใด
ในการหาคําตอบลักษณะนี้ ครูควรตรวจสอบวานักเรียนไดใชความรูสึกเชิงจํานวนมาชวยในการหาคําตอบ
ดวยหรือไม
7. สําหรับกิจกรรม “คาประมาณของรากที่สอง” มุงเนนใหนักเรียนใชวิธีการเดียวกันกับการ
ประมาณคา 2 ในการประมาณรากที่สองของจํานวนเต็มบวกเปนทศนิยมตําแหนงตาง ๆ
8. สําหรับกิจกรรม “ดูตารางรากที่สอง” มีเจตนาใหนักเรียนใชความเขาใจเรื่องรากที่สองแก
ปญหา เชน ใหหาคา n เมื่อ n = 5041 นักเรียนไมสามารถหา n จากตาราง แตนักเรียนตองดูชอง
n2
วาแถวใดคือ 5041 จะได n ของแถวนั้นเปนคําตอบของ 5041 ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางการ
ยกกําลังสองกับการหารากที่สอง
9. สําหรับกิจกรรม “เปนจริงหรือไม” มีเจตนาเพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับ
รากที่สองและเพื่อฝกทักษะการใชความรูสึกเชิงจํานวนชวยในการหาคําตอบ
10. สําหรับกิจกรรม “คิดไมยาก” มีเจตนาที่จะใหนักเรียนแกปญหาโดยใชวิธีการใดก็ได เชน
การแยกตัวประกอบ การเปดตาราง หรือการใชเครื่องคํานวณหรือจะใชมากกวา 1 วิธีก็ได แตวิธีที่
สะดวกคือเปดตารางทายเลม
11. สําหรับกิจกรรม “คิดไดไหม” มีเจตนาเชื่อมโยงความรูกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ซึ่งอาจมี
นักเรียนบางคนสังเกตพบคําตอบบางขอจากหนาปกของหนังสือเรียน ก็ถือวาเปนเรื่องที่ดี
31
12. เมื่อจบหัวขอการหารากที่สอง นักเรียนควรเขาใจวาการหารากที่สองแตละวิธีมีขอดีและ
ขอจํากัดตางกัน นักเรียนจึงตองมีทักษะในการตัดสินใจเลือกใชวิธีหารากที่สองใหเหมาะสมกับขอมูล และ
เครื่องมือที่ตนมีอยู
13. ครูควรใหนักเรียนอภิปรายเพื่อหาขอสรุปวา รากที่สองของจํานวนจริงที่กําหนดใหอาจนอย
กวา มากกวาหรือเทากับจํานวนนั้นก็ได เชน
4 = 2 และ 2 < 4 ดังนั้น 4 < 4
0 = 0 และ 0 = 0 ดังนั้น 0 = 0
01.0 = 0.1 แต 0.1 > 0.01 ดังนั้น 01.0 > 0.01
2.4 รากที่สาม (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. อธิบายความหมายของรากที่สามของจํานวนจริงได
2. อานและใชสัญลักษณ 3 ไดถูกตอง
3. อธิบายความสัมพันธของการยกกําลังสามและการหารากที่สามของจํานวนจริงได
4. หารากที่สามของจํานวนจริงที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบ การเปดตาราง หรือการใช
เครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได
5. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สามของจํานวนจริงได
6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.4
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรใหนักเรียนอภิปรายในประเด็นตอไปนี้
1.1 เพราะเหตุใดจึงไมสามารถหา x เมื่อ x เปนจํานวนลบแตสามารถหา 3
x เมื่อ
x เปนจํานวนจริงลบได
1.2 จํานวนคําตอบของรากที่สองและรากที่สามของจํานวนที่กําหนดให
2. แบบฝกหัด 2.4 ก ขอ 3 มุงใหนักเรียนเห็นความแตกตางระหวางการหารากที่สามของ
จํานวนจริงใด ๆ และการหาจํานวนใด ๆ เมื่อทราบรากที่สามของจํานวนนั้น ซึ่งนักเรียนตองคิดโดยใช
ความสัมพันธระหวางการยกกําลังสามกับการหารากที่สาม การหาคําตอบของขอ 3 ไมตองการใหครูสอน
การหาคําตอบดวยวิธีการแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากัน แตครูควรใหนักเรียนวิเคราะหและ
พิจารณาหาคําตอบ ดังเชน
32
x3
= 216 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนที่ยกกําลังสามแลวได 216)
3
x = -7 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนที่มีรากที่สามเปน -7 ซึ่งจะหาไดงาย
โดยหากําลังสามของ -7)
3. สําหรับกิจกรรม “ดูตารางรากที่สาม” เชน ใหหา 3
4096 นักเรียนตองใชความรูเกี่ยวกับ
ความสัมพันธของการยกกําลังสามและการหารากที่สาม ครูควรแนะนําใหนักเรียนดูที่ชอง n3
วาแถวใดมี
คา 4096 จะได n ของแถวนั้นเปนคําตอบของ 3
4096
4. กิจกรรม “จริง – ไมจริง” มุงใหนักเรียนใชความรูเรื่องรากที่สามในการตอบคําถามและให
เหตุผล โดยเฉพาะขอ 12 ที่ตองการใหนักเรียนเห็นวารากที่สามของจํานวนจริงอาจนอยกวา มากกวา หรือ
เทากับตัวเองได เชน
3
8 = 2 และ 2 < 8 ดังนั้น 3
8 < 8
3
0 = 0 และ 0 = 0 ดังนั้น 3
0 = 0
3
27
1 = 3
1 แต 3
1 > 27
1 ดังนั้น 3
27
1 > 27
1
5. สําหรับกิจกรรม “ระนาบจริง” เจตนาเพื่อเพิ่มเติมความรูที่นักเรียนเคยมีเกี่ยวกับเสนจํานวน
และระนาบครอบคลุมถึงตําแหนงที่แทนจํานวนอตรรกยะบนเสนจํานวน ในการหาตําแหนงของจุดที่มี
พิกัดเปนจํานวนอตรรกยะ เชน )3,2( ครูควรใหนักเรียนเขียนรองรอยแสดงการหาตําแหนงของจุด
ดังกลาวประกอบดวย เชน จุด R )3-,2( ที่เสนอไวในคําตอบกิจกรรม “ระนาบจริง” แสดงรองรอย
การหา 2 และ 3 โดยการสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับ 2 และ 3 บนเสนจํานวน
และนําความยาวที่เทากับ 2 และ 3 มาใชหาตําแหนงของจุด R ที่มีพิกัดเปน R )3-,2(
ในจตุภาคที่ 4
6. สําหรับกิจกรรม “ลูกบาศกมหัศจรรย” มุงใหนักเรียนไดใชความรูเกี่ยวกับรากที่สามโดย
การวิเคราะหหาจํานวนที่ทําใหไดผลลัพธสอดคลองกับเงื่อนไขโจทย
7. หลังจบบทเรียนแลว ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.4 เพื่อเปนการนําความรู
เกี่ยวกับจํานวนจริงไปใชในการแกปญหา
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “มารูจักจํานวนตรรกยะกันเถอะ”
1. ได
2. ได
3. ได
4. เปน เพราะจํานวนเต็ม a ที่กําหนดให สามารถเขียนแทนไดดวยเศษสวน 1
a
33
5. ไมสามารถบอกได
6. ไมมี
7. ไมมี
8. ไมมี
9. ไมมี
คําตอบกิจกรรม “นาคิด”
เปน เพราะ a
b เขียนแทนไดดวยเศษสวนที่ทั้งตัวเศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มซึ่ง
ไมเทากับศูนย
คําตอบแบบฝกหัด 2.1
1.
1)
⋅
6.0 2) -1.875
3)
⋅
3458.1 4)
⋅⋅
45.0
5)
⋅⋅
8703.0- 6)
⋅⋅
504.0
2.
1) 9
7 2) 90
47
3) 33
16 4) 55
13
3.
1) เปน เพราะ เขียนไดเปน 5
11
2) เปน เพราะ เขียนไดเปน 13
32
3) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน 21
29
4) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน -8.37
5) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน 3.22
6) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน 14
15
7) เปน เพราะ เขียนไดเปน 11
56-
34
8) เปน เพราะ เขียนไดเปน 30
3-
4. ปาซื้อไดถูกกวา เพราะ แมซื้อผลละ
⋅
3.0 แตปาซื้อไดผลละ 0.33 บาท
5. ตัวอยางคําตอบ
ซื้อครึ่งโหล เพราะ ถาซื้อครึ่งโหลราคาตออันจะถูกกวา
6.
1)
⋅
3.108 บาท
2) ไมได เพราะ เหรียญที่มีหนวยเปนสตางคและใชแลกเปลี่ยนกันในทองตลาดคือ 25 สตางค
และ 50 สตางค ไมสามารถรวมกันเปน 33 สตางค หรือ
⋅
3.0 บาท ได
3) อาจใชการปดขึ้นหรือลงเพื่อใหไดผลรวมเปน 325 บาท เชน 108.25 108.25 และ 108.50
หรือ 108.50 108.50 และ 108.00 หรือ 109 109 และ 107 หรืออาจปดเปนจํานวน
ชุดอื่นตามที่นักเรียนจะคิดได
7. ตัวอยางคําตอบ
1) น้ํามันเบนซินออกเทน 95 ราคาลิตรละ 21.79 บาท
2) กิ่งและกอยแบงน้ําเปลากันคนละครึ่งขวด
คําตอบกิจกรรม “เปนจํานวนตรรกยะหรือไม”
1. เปน
2. เปน
3. เปน
4. เปน
คําตอบกิจกรรม “หาไดอยางไร”
ผืนละ 45.75 บาท หาคําตอบโดยนํา 15 ไปคูณ 4 จะได 60 ตัวเลขขางหนาสุดจึง
เปน 6 จากนั้นจึงนํา 15 ไปหาร 686.2 จะไดตัวเลขขางหลังสุดเปน 5 และไดผลลัพธ
เปน 45.75
35
คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู”
1. เปน
2. เปน
3. ไมมี
คําตอบแบบฝกหัด 2.2
1.
1) ตรรกยะ 2) ตรรกยะ
3) ตรรกยะ 4) ตรรกยะ
5) ตรรกยะ 6) ตรรกยะ
7) อตรรกยะ 8) ตรรกยะ
9) ตรรกยะ 10) อตรรกยะ
2.
⋅
61391.153 บาท เปนจํานวนตรรกยะ
คําตอบกิจกรรม “ทําไดหรือไม”
1. 0, 1, 9, 16, 9
1 , 0.04, 6, 5
2
2. 1 และ -1
3 และ -3
5 และ -5
7
2 และ 7
2-
0.04 และ -0.04
1.1 และ -1.1
8 และ 8-
36
คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ก
1.
1) 14 และ -14 2) 27 และ -27
3) 36 และ -36 4) 110 และ 110-
5) 115 และ 115- 6) 7
3 และ 7
3-
7) 11
5 และ 11
5- 8) 207
15 และ 207
15-
9) 0.08 และ -0.08 10) 0.012 และ -0.012
11) 0116.0 และ 0116.0- 12) 40.0 และ 40.0-
2.
1) 25 2) -51
3) 3.6 4) -0.06
5) 25
9- 6) 19
7) 17
12 8) -0.037
3.
1) 6 และ -6 2) 0.09 และ -0.09
3) 0 4) 81
5) 0.0625 6) 9
4
คําตอบกิจกรรม “คาประมาณของรากที่สอง”
1.
1) 3 2) 5
3) 11 4) -15
2.
1) 2.65 2) 4.47
3) 5.57 4) 7.28
37
คําตอบกิจกรรม “ดูตารางรากที่สอง”
1.
1) 4 2) 4.243
3) 17 4) 18
2.
1) 4.472 2) 39
3) 76 4) 71
5) 5.099 6) 31
คําตอบกิจกรรม “เปนจริงหรือไม”
1. ไมจริง เพราะ รากที่สองของ 25 คือ 5 และ -5
2. ไมจริง เพราะ รากที่สองที่เปนบวกของ 25 คือ 5 เทานั้น
3. ไมจริง เพราะ ไมมีจํานวนเต็มใดที่ยกกําลังสองแลวได -16
4. ไมจริง เพราะ 4
1 = 2
1 และ 2
1 > 4
1
5. จริง เพราะ 01.0 = 0.1 และ 0.1 > 0.01
6. จริง เพราะ 04.0 = 0.2 และ 0004.0 = 0.02 จะได 0.2 > 0.02
7. ไมจริง เพราะ เมื่อใชคาประมาณของ 2 คือ 1.414 และคาประมาณของ 3
คือ 1.732 จะได 2 + 3 ≈ 1.414 + 1.732 = 3.146 แต
คาประมาณของ 5 คือ 2.236
8. ไมจริง เพราะ 2
7 = 7 และ 2
)7-( = 7
9. ไมจริง เพราะ 2
2- = 4- และไมมีจํานวนเต็มใดที่ยกกําลังสองแลวได -4
10. ไมจริง เพราะ ถา x2
= 4 แลว x = 2 หรือ x = -2
11. จริง เพราะ 32
= 9
12. ไมจริง เพราะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบางรูปมีพื้นที่เปนจํานวนคี่ แตมีความยาวของแตละ
ดานไมเปนจํานวนคี่ เชน มีพื้นที่เปน 3 ตารางหนวย มีความยาวของแตละ
ดานเปน 3 หนวย
38
คําตอบกิจกรรม “คิดไมยาก”
3,741
คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ข
1.
1) 51 2) 55
3) 65 4) 70
5) 78 6) 90
2. 6 และ 9 ตามลําดับ
3. 15.8
4.
1) 27.71 2) -97.89
3) 2.87 4) -60.97
5. 4.12 เซนติเมตร
6. ประมาณ 18 เซนติเมตร
7. ประมาณ 35.36 หนวย
8. ประมาณ 7.07 หนวย
9. ตองหาความยาวของผนังหอง ซึ่งได 18 เมตร หรือประมาณ 4.24 เมตร จุดกึ่งกลางผนังอยูหาง
จากมุมหองประมาณ 2
24.4 หรือ 2.12 เมตร
10. ไมได เพราะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานแตละดานยาวประมาณ 12.41 เซนติเมตร และรูปวงกลม
มีเสนผานศูนยกลางยาว 14 เซนติเมตร
คําตอบกิจกรรม “คิดไดไหม”
1. 3 หนวย
2. OJ
3. 20 หนวย
39
คําตอบแบบฝกหัด 2.4 ก
1.
1) 3 2) 3
40
3) 8 4) 3
650
5) 4
3- 6) 9
6
7) 3
50
18 8) 0.2
9) 3
05.0 10) 0.09
2.
1) 5 2) 7
3) 2 4) 5
4
5) 8
3- 6) -0.2
7) -0.6 8) 0.03
3.
1) 6 2) 3
350
3) 0.3 4) 3
49.0-
5) 0 6) -343
7) 125
8 8) 2.197
คําตอบกิจกรรม “ดูตารางรากที่สาม”
1.
1) 2.759 2) 22
3) 19 4) 10,648
2.
1) 2.924 2) 12
3) 50 4) -4.309
5) 2.351 6) 16
7) -22
40
คําตอบกิจกรรม “จริง – ไมจริง”
1. ไมจริง เพราะ รากที่สามของ 64 คือ 4 เทานั้น
2. ไมจริง เพราะ 3
27-- = 3
3. จริง เพราะ 8 ≈ 2.83 และ 3
8 = 2
4. ไมจริง เพราะ 3
8
1 = 2
1 และ 2
1 > 8
1
5. จริง เพราะ 3
064.0 = 0.4 และ 0.4 > 0.064
6. ไมจริง เพราะ 3 3
2 = 2 แต 3 3
)2-( = -2
7. ไมจริง เพราะ 3
3 + 3
5 ≈ 3.152 แต 3
8 = 2
8. ไมจริง เพราะ ถา x3
= 2 แลว x = 3
2
9. ไมจริง เพราะ ถา 3
x = 8 แลว x = 83
= 512
10. จริง เพราะ รากที่สามของ 125 คือ 5
11. ไมจริง เพราะ รากที่สามของจํานวนคู อาจไมเปนจํานวนคู เชน 3
16
12. ไมจริง เพราะ รากที่สามของจํานวนจริงใด ๆ อาจเทากับจํานวนจริงนั้น เชน
3
0 = 0
คําตอบแบบฝกหัด 2.4 ข
1.
1) -1 2) 3
20
3) 3
116 4) -12
5) 3
75
2 6) 7
3-
7) 15
13- 8) -0.4
9) 0.07 10) 3
180.0
2.
1) -6 2) 6.4
3) 50 4) -39
5) 0.04
3. 12 นิ้ว
4. 3 นิ้ว
41
5. ไมถูกตอง เพราะ บอเดิมมีปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร มีความกวาง ยาว และลึก 1 เมตร
ถาขุดบอมีความกวาง ยาว และลึกเปน 2 เมตร จะมีปริมาตรเปน 8 ลูกบาศกเมตร ซึ่งไมเปน
สองเทาของหนึ่งลูกบาศกเมตร ขนาดของบอใหมจะตองมีความกวาง ยาว และลึกเปน
3
2 เมตร หรือประมาณ 1.260 เมตร
6. ของออม เพราะ 33
= 27 และ 43
= 64 จึงไดวา 33
ใกลเคียง 30 มากกวา
คําตอบกิจกรรม “ระนาบจริง”
0 1 2 3 4-1-2-3-4
3
11
2
R )-,( 32
Q ),-( 23
0 1 2 3-1-2-3
-1
-2
-3
1
2
3
X
Y
2
2- 3
- 3
P ),( 22
S )-,-( 33
42
22
11
18
27
25
7 21
8 19
1 17
23 16
10 26
13 20
6
3
14
15
24
12
9
2
4
5
คําตอบกิจกรรม “ลูกบาศกมหัศจรรย”
43
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
44
กิจกรรมเสนอแนะ 2.1
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนสังเกตแบบรูปการเขียนทศนิยมซ้ําบางแบบที่ไมใชทศนิยม
ซ้ําศูนยใหเปนเศษสวนไดอยางรวดเร็ว
1. ใหนักเรียนพิจารณาการแปลงทศนิยมซ้ําเปนเศษสวนจากตัวอยางที่กําหนดใหแลวเขียนคําตอบ
เติมในชองวางในตารางตอไปนี้
ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3
ทศนิยมซ้ํา เศษสวน ทศนิยมซ้ํา เศษสวน ทศนิยมซ้ํา เศษสวน
1)
⋅
1.0 9
1 1)
⋅⋅
21.0 99
12 1)
⋅⋅
432.0 990
2234 −
หรือ 990
223
2)
⋅
2.0 9
2 2)
⋅⋅
53.0 99
35 2)
⋅⋅
615.0 990
5516−
หรือ 990
511
3)
⋅
3.0 9
3 3)
⋅⋅
46.0 99
64 3)
⋅⋅
568.0 990
8865−
หรือ 990
657
4)
⋅
4.0 ....................... 4)
⋅⋅
15.0 ....................... 4)
⋅⋅
194.0 ..............................................
5)
⋅
7.0 ....................... 5)
⋅⋅
57.0 ....................... 5)
⋅⋅
837.0 ..............................................
6)
⋅
8.0 ....................... 6)
⋅⋅
38.0 ....................... 6)
⋅⋅
719.0 ..............................................
2. ใหนักเรียนใชแบบรูปการแปลงทศนิยมซ้ําเปนเศษสวนที่สังเกตเห็นจากการตอบในขอ 1
แปลงทศนิยมซ้ําตอไปนี้ใหเปนเศษสวน
1)
⋅⋅
613.0 2)
⋅⋅
1835.0
3)
⋅⋅
2407.3 4)
⋅⋅
6543.1
45
คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 2.1
1. ชุดที่ 1 9
4 , 9
7 และ 9
8
ชุดที่ 2 99
51 , 99
75 และ 99
83
ชุดที่ 3 990
4491−
หรือ 990
874
990
7738−
หรือ 990
731
990
9917−
หรือ 990
908
2.
1) 999
316 2) 9900
353581−
หรือ 9900
3546
3) 9999
74023 4) 9990
34531
แนวคิด
⋅⋅
6543.1 = 1 + 9990
33456−
46
กิจกรรมเสนอแนะ 2.4
กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดนําความรูเรื่องจํานวนตรรกยะ อตรรกยะ รากที่สอง
และรากที่สาม ไปใชในการแกปญหา
1. ครูจัดเตรียมบัตรคําเปน 2 กลุม เขียนขอความในบัตรคํากลุมที่หนึ่งและกลุมที่สองให
สัมพันธกัน ดังตัวอยางตอไปนี้
กลุมที่หนึ่งเปนบัตรคําถาม กลุมที่สองเปนบัตรคําตอบ
หนาบัตร หลังบัตร
ครูเตรียมจํานวนบัตรทั้งสองกลุมใหมีจํานวนเทา ๆ กัน และตองระวังมิใหบัตรมีคําตอบซ้ํากัน
2. ครูแบงนักเรียนเปน 2 กลุม จํานวนเทากัน กลุมหนึ่งเปนฝายคําถาม อีกกลุมหนึ่งเปนฝาย
คําตอบ ใหนักเรียนถือบัตรไวคนละ 1 ใบ
3. ครูสุมเรียกนักเรียน 1 คน จากฝายคําถาม ชูหนาบัตรที่เปนตัวเลขใหเพื่อน ๆ ดู พรอมกับอาน
คําถามหลังบัตร
4. ใหนักเรียนที่ถือบัตรคําตอบออกมายืนคูกันหนาหอง เพื่อใหเพื่อน ๆ ตรวจสอบความถูกตอง
ทําเชนนี้เรื่อย ๆ ไปตามเวลาที่มีในชั้นเรียน
2
x = 3
⋅⋅
284.0
3
0
จงหาคําตอบของ
สมการ 2
x = 3
⋅⋅
284.0 เปนจํานวน
ตรรกยะหรืออตรรกยะ
กรณฑที่สามของ 0
เปนเทาไร
3 และ -3
จํานวนตรรกยะ
0

More Related Content

What's hot

Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ทับทิม เจริญตา
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53GiveAGift
 
เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6sawed kodnara
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒMajolica-g
 

What's hot (20)

Basic m2-1-chapter5
Basic m2-1-chapter5Basic m2-1-chapter5
Basic m2-1-chapter5
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
 
1830
18301830
1830
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
Brands2015 26th-math
Brands2015 26th-mathBrands2015 26th-math
Brands2015 26th-math
 
ONETMath56
ONETMath56ONETMath56
ONETMath56
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
ข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตาข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตา
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6เอกสารติว O-NET ม.6
เอกสารติว O-NET ม.6
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 

Viewers also liked

แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5Roman Paduka
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงyingsinee
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 

Viewers also liked (20)

แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5แบบฝึกทักษะที่ 5
แบบฝึกทักษะที่ 5
 
Add m6-1-chapter2
Add m6-1-chapter2Add m6-1-chapter2
Add m6-1-chapter2
 
Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m2-1-link
Basic m2-1-linkBasic m2-1-link
Basic m2-1-link
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 

Similar to Basic m2-2-chapter2

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรYui Piyaporn
 
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202Aun Wny
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2Dmath Danai
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2Dmath Danai
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส Kikkokz K
 
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายจุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายAon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202Aun Wny
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 

Similar to Basic m2-2-chapter2 (20)

การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
1-2
1-21-2
1-2
 
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
 
หน่วย 1 4
หน่วย 1 4หน่วย 1 4
หน่วย 1 4
 
หน่วย 1 3
หน่วย 1 3หน่วย 1 3
หน่วย 1 3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
 
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายจุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมาย
 
Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา ค31202
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 

Basic m2-2-chapter2

  • 1. บทที่ 2 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจํานวนจริง (18 ชั่วโมง) 2.1 จํานวนตรรกยะ (3 ชั่วโมง) 2.2 จํานวนอตรรกยะ (2 ชั่วโมง) 2.3 รากที่สอง (7 ชั่วโมง) 2.4 รากที่สาม (6 ชั่วโมง) นักเรียนไดรูจักและใชจํานวนเต็ม เศษสวนและทศนิยมมาแลว ในบทนี้มุงใหนักเรียนมีความ คิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะและจํานวนจริง สําหรับสาระเกี่ยวกับจํานวนอตรรกยะ มีเจตนาเพียงใหนักเรียนไดรูจักจํานวนอตรรกยะและสามารถยกตัวอยางได ในบทนี้จะยังไมกลาวถึงสมบัติ ของจํานวนจริงและการคํานวณเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูป a เมื่อ a > 0 หัวขอรากที่สองและรากที่ สามไดเสนอวิธีหารากไวหลายวิธี สําหรับรากที่สามจะไมกลาวถึงวิธีการประมาณ เพราะมีการคํานวณที่ คอนขางยุงยาก ในการจัดการเรียนการสอน ครูจะตองดําเนินกิจกรรมใหนักเรียนรูและตระหนักเสมอวา จํานวนจริงจํานวนหนึ่งจะตองเปนจํานวนตรรกยะ หรือจํานวนอตรรกยะอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น และรูวา ในการคํานวณทั่ว ๆ ไปจะใชคาประมาณที่เปนจํานวนตรรกยะแทนจํานวนอตรรกยะ เชน ใช 7 22 แทน π ใช 1.414 แทน 2 เปนตน ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. เขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซ้ําและเขียนทศนิยมซ้ําในรูปเศษสวนได 2. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได 3. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได 4. อธิบายและระบุรากที่สองและรากที่สามของจํานวนจริงได 5. บอกความสัมพันธของการยกกําลังและการหารากของจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได 6. หารากที่สองของจํานวนตรรกยะที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบการประมาณ การเปดตาราง หรือการใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได 7. หารากที่สามของจํานวนตรรกยะที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบ การเปดตาราง หรือ การใชเครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได 8. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองและรากที่สามของจํานวนเต็มและจํานวนตรรกยะได 9. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 27 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2.1 จํานวนตรรกยะ (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซ้ํา 2. เขียนทศนิยมซ้ําใหอยูในรูปเศษสวน 3. บอกไดวาจํานวนที่กําหนดใหเปนจํานวนตรรกยะหรือไม 4. ยกตัวอยางจํานวนตรรกยะได 5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนการเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซ้ํา และการเขียนทศนิยมซ้ําศูนยใหอยูใน รูปเศษสวน เพื่อเชื่อมโยงไปสูการเขียนทศนิยมซ้ําอื่น ๆ ใหอยูในรูปเศษสวน 2. หลังจากที่นักเรียนไดเรียนการเขียนทศนิยมซ้ําที่ตัวซ้ําไมใชศูนยใหอยูในรูปเศษสวนแลว ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.1 และชวยกันหาวิธีลัดในการเขียนทศนิยมเปนเศษสวนไดอยาง รวดเร็ว เชน ใหสังเกตแบบรูปดังตอไปนี้ ⋅ 7.0 = 9 7 ⋅⋅ 34.0 = 99 43 ⋅⋅ 853.0 = 990 3358− = 990 535 หรือ 198 71 ครูอาจพบคําถามของนักเรียนวา ⋅ 9.0 เขียนเปนเศษสวนไดเทาไร ถาทําตามวิธีการดังที่เสนอ ไวจะได ⋅ 9.0 = 9 9 หรือ ⋅ 9.0 = 1 ถามีนักเรียนไมยอมรับคําตอบนี้ ใหครูบอกวา ในทางคณิตศาสตร ถือเปนขอตกลงในการเขียน ⋅ 9.0 เปนเศษสวนไดเปน 1 3. กิจกรรม “มารูจักจํานวนตรรกยะกันเถอะ” มุงใหนักเรียนอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา จํานวนตรรกยะทุกจํานวน สามารถแทนไดดวยจุดบนเสนจํานวนและไมมีจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดและ นอยที่สุด หลังจากนั้นครูจึงใหนักเรียนชวยกันสรุปเปนแผนผังจํานวนตรรกยะ
  • 3. 28 4. ครูควรใชการสนทนาใหเห็นการใชจํานวนตรรกยะในชีวิตประจําวัน ดังตัวอยางสถานการณ ที่เสนอไวในหนังสือเรียนหนา 40 ครูควรชี้ใหเห็นความจําเปนและประโยชนของการใชคาประมาณใน ชีวิตประจําวันประกอบกันดวย 5. สําหรับแบบฝกหัด 2.1 ขอ 5, 6 และ 7 มุงใหนักเรียนเห็นการใชจํานวนตรรกยะในชีวิต ประจําวัน ซึ่งอาจมีทางเลือกหลากหลายรวมทั้งใหสามารถตัดสินใจแกปญหาโดยใชขอมูลที่มีอยู บางขอ อาจมีคําตอบไดมากกวาหนึ่งคําตอบ ครูควรใหนักเรียนไดอภิปรายแสดงเหตุผลประกอบคําตอบดวย 6. สําหรับกิจกรรม “เปนจํานวนตรรกยะหรือไม” ตองการใหนักเรียนหาขอสรุปเกี่ยวกับผล ลัพธที่เกิดจากการบวก ลบ คูณ และหารจํานวนตรรกยะกับจํานวนตรรกยะ โดยอาจใชการยกตัวอยาง หลาย ๆ ตัวอยางเพื่อคาดการณหาขอสรุป 7. สําหรับกิจกรรม “หาไดอยางไร” มุงฝกการคิดและพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนของนักเรียน นักเรียนอาจใชวิธีคิดคํานวณที่แตกตางกัน ครูควรพิจารณาและยอมรับคําตอบที่สมเหตุสมผลของนักเรียน 2.2 จํานวนอตรรกยะ (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกไดวาทศนิยมที่กําหนดใหเปนทศนิยมซ้ําหรือไม 2. บอกไดวาจํานวนที่กําหนดใหเปนจํานวนอตรรกยะหรือไม 3. ยกตัวอยางจํานวนอตรรกยะได 4. บอกความเกี่ยวของระหวางจํานวนเต็ม จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะได 5. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เนื่องจากนักเรียนเคยรูจักและใช π ในการหาความยาวของเสนรอบวงของวงกลมและหา พื้นที่ของวงกลมมาแลว ครูอาจนําเขาสูบทเรียนโดยนําเรื่องของ π มาแนะนําเปนตัวอยางจํานวน อตรรกยะ แลวจึงแนะนําใหรูจัก 2 ซึ่งเปนจํานวนอตรรกยะอีกจํานวนหนึ่งที่ใชบอยก็ได 2. ในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนหาคาประมาณของ 2 ตามหนังสือเรียน ครูอาจให นักเรียนใชเครื่องคํานวณหาทศนิยมแสดงคา 2 ไปพรอม ๆ กับที่ครูอธิบายและแสดงใหเห็นคาประมาณ ที่ใกลเคียงเปนทศนิยมหลาย ๆ ตําแหนงตามที่ตองการ ครูควรยกตัวอยางทศนิยมที่ไมใชทศนิยมซ้ํา ใหนักเรียนสังเกตเห็นความแตกตางจากทศนิยม ซ้ํา และอาจใหนักเรียนยกตัวอยางทศนิยมที่ไมใชทศนิยมซ้ําเพิ่มเติม ครูควรใหนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับ π, 7 22 , 3.14, 3.141592… วาจํานวนใดเปนจํานวน ตรรกยะ จํานวนใดเปนจํานวนอตรรกยะ เพราะเหตุใด
  • 4. 29 3. 2 และ π เปนตัวอยางของจํานวนอตรรกยะที่มีการนําไปใชงานมาก แตไมสามารถเขียน ในรูปเศษสวนหรือทศนิยมซ้ําได นักเรียนจึงอาจสงสัยวาจะเขียน 2 และ π บนเสนจํานวนไดหรือไม การหาจุดบนเสนจํานวนที่แทน 2 โดยใชทฤษฎีบทพีทาโกรัส และแทน π โดยการกลิ้งรูปวงกลมที่มี เสนผานศูนยกลางยาวเทากับ 1 หนวย ที่นําเสนอไวมีเจตนาใหนักเรียนเห็นวา เราสามารถเขียนแทน จํานวนอตรรกยะ ดวยจุดบนเสนจํานวนไดเชนเดียวกับจํานวนตรรกยะ 4. สําหรับกิจกรรม “ลองคิดดู” ตองการใหนักเรียนไดอภิปรายกันและใหไดขอสรุปวา จํานวน ตรงขามของจํานวนอตรรกยะบวกเปนจํานวนอตรรกยะลบ และไมมีจํานวนจริงใดที่เปนทั้งจํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ 5. π เปนจํานวนอตรรกยะที่ใชในการคํานวณหาพื้นที่และความยาวของเสนรอบวงของวงกลม ในหลายระดับชั้น แตนักเรียนอาจยังไมทราบรายละเอียดเกี่ยวกับ π กรอบความรูเรื่อง “คาของ π” จึงมุงใหนักเรียนไดความรูเกี่ยวกับ π และวิธีการคํานวณคาของ π ตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน ครูอาจ ใหนักเรียนหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคาของ π จากหนา 128 – 129 ของหนังสือเรียนสาระการเรียนรู เพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 2.3 รากที่สอง (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของรากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได 2. อานและใชสัญลักษณ ไดถูกตอง 3. อธิบายความสัมพันธของการยกกําลังสองและการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได 4. หารากที่สองของจํานวนจริงที่กําหนดใหโดยการประมาณ การเปดตาราง หรือการใช เครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได 5. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สองของจํานวนจริงบวกหรือศูนยได 6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการกลาวถึงรากที่สองของจํานวนจริงบวกใด ๆ หรือศูนย ครูควรจัดกิจกรรมใหนักเรียนมี ความคิดรวบยอดและเห็นความแตกตางระหวางการหา “รากที่สอง” กับ “ ” ครูอาจแนะใหนักเรียนเรียกจํานวน เชน 2 วา กรณฑที่สองของ 2 และเรียก 2- วา ลบกรณฑที่สองของ 2 2. ในการเรียนการสอนหากนักเรียนเขียนคําตอบของรากที่สองอยูในรูปที่มีเครื่องหมายกรณฑ เชน ตอบวารากที่สองของ 81 คือ 81 และ 81- ครูก็ไมควรถือวาผิด ถึงแมวาจะไมใชคําตอบที่
  • 5. 30 สมบูรณ เพื่อใหนักเรียนไดตระหนักถึงคําตอบในกรณีเชนนี้ที่นิยมเขียนเปนจํานวนเต็ม ครูจึงควรย้ําให นักเรียนพิจารณาและตรวจสอบวาสามารถหาคําตอบเปนจํานวนเต็มไดหรือไม ถาไดก็ควรตอบเปน จํานวนเต็ม 3. สําหรับกิจกรรม “ทําไดหรือไม” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นความแตกตางของคําสั่งเกี่ยวกับ รากที่สอง ครูควรฝกใหนักเรียนอานโจทยอยางชา ๆ และตีความหมายโจทยใหถูกตอง 4. สําหรับแบบฝกหัด 2.3 ก ขอ 3 ไมตองการใหครูสอนการหาคําตอบดวยวิธีการแกสมการ โดยใชสมบัติของการเทากัน แตตองการใหใชบทนิยามมาวิเคราะหหาคําตอบ เชน x2 = 9 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนที่ยกกําลังสองแลวได 9) x = 5 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนซึ่งมีรากที่สองเปน 5 ซึ่งจะหาไดงาย โดยหากําลังสองของ 5) 5. การหาคารากที่สองของจํานวนนับที่กําหนดใหโดยวิธีแยกตัวประกอบจะกลาวถึงเฉพาะคํา ตอบที่เปนจํานวนเต็ม ครูจึงควรระมัดระวังในการใหโจทยเพิ่มเติม อยาใหโจทยมีคําตอบที่ตองเขียนอยูใน รูปที่มีเครื่องหมายกรณฑ เชน 32 6. การหารากที่สองโดยการประมาณ มีขอสังเกตสําหรับครูวาในหนังสือเรียนไดใหตัวอยาง จํานวนเต็มที่นักเรียนสามารถบอกไดอยางรวดเร็ววา รากที่สองที่ประมาณเปนจํานวนเต็มคือจํานวนใด ในการหาคําตอบลักษณะนี้ ครูควรตรวจสอบวานักเรียนไดใชความรูสึกเชิงจํานวนมาชวยในการหาคําตอบ ดวยหรือไม 7. สําหรับกิจกรรม “คาประมาณของรากที่สอง” มุงเนนใหนักเรียนใชวิธีการเดียวกันกับการ ประมาณคา 2 ในการประมาณรากที่สองของจํานวนเต็มบวกเปนทศนิยมตําแหนงตาง ๆ 8. สําหรับกิจกรรม “ดูตารางรากที่สอง” มีเจตนาใหนักเรียนใชความเขาใจเรื่องรากที่สองแก ปญหา เชน ใหหาคา n เมื่อ n = 5041 นักเรียนไมสามารถหา n จากตาราง แตนักเรียนตองดูชอง n2 วาแถวใดคือ 5041 จะได n ของแถวนั้นเปนคําตอบของ 5041 ซึ่งเปนความสัมพันธระหวางการ ยกกําลังสองกับการหารากที่สอง 9. สําหรับกิจกรรม “เปนจริงหรือไม” มีเจตนาเพื่อตรวจสอบความรูความเขาใจเกี่ยวกับ รากที่สองและเพื่อฝกทักษะการใชความรูสึกเชิงจํานวนชวยในการหาคําตอบ 10. สําหรับกิจกรรม “คิดไมยาก” มีเจตนาที่จะใหนักเรียนแกปญหาโดยใชวิธีการใดก็ได เชน การแยกตัวประกอบ การเปดตาราง หรือการใชเครื่องคํานวณหรือจะใชมากกวา 1 วิธีก็ได แตวิธีที่ สะดวกคือเปดตารางทายเลม 11. สําหรับกิจกรรม “คิดไดไหม” มีเจตนาเชื่อมโยงความรูกับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ซึ่งอาจมี นักเรียนบางคนสังเกตพบคําตอบบางขอจากหนาปกของหนังสือเรียน ก็ถือวาเปนเรื่องที่ดี
  • 6. 31 12. เมื่อจบหัวขอการหารากที่สอง นักเรียนควรเขาใจวาการหารากที่สองแตละวิธีมีขอดีและ ขอจํากัดตางกัน นักเรียนจึงตองมีทักษะในการตัดสินใจเลือกใชวิธีหารากที่สองใหเหมาะสมกับขอมูล และ เครื่องมือที่ตนมีอยู 13. ครูควรใหนักเรียนอภิปรายเพื่อหาขอสรุปวา รากที่สองของจํานวนจริงที่กําหนดใหอาจนอย กวา มากกวาหรือเทากับจํานวนนั้นก็ได เชน 4 = 2 และ 2 < 4 ดังนั้น 4 < 4 0 = 0 และ 0 = 0 ดังนั้น 0 = 0 01.0 = 0.1 แต 0.1 > 0.01 ดังนั้น 01.0 > 0.01 2.4 รากที่สาม (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของรากที่สามของจํานวนจริงได 2. อานและใชสัญลักษณ 3 ไดถูกตอง 3. อธิบายความสัมพันธของการยกกําลังสามและการหารากที่สามของจํานวนจริงได 4. หารากที่สามของจํานวนจริงที่กําหนดใหโดยการแยกตัวประกอบ การเปดตาราง หรือการใช เครื่องคํานวณ และนําไปใชแกปญหาได 5. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารากที่สามของจํานวนจริงได 6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.4 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรใหนักเรียนอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ 1.1 เพราะเหตุใดจึงไมสามารถหา x เมื่อ x เปนจํานวนลบแตสามารถหา 3 x เมื่อ x เปนจํานวนจริงลบได 1.2 จํานวนคําตอบของรากที่สองและรากที่สามของจํานวนที่กําหนดให 2. แบบฝกหัด 2.4 ก ขอ 3 มุงใหนักเรียนเห็นความแตกตางระหวางการหารากที่สามของ จํานวนจริงใด ๆ และการหาจํานวนใด ๆ เมื่อทราบรากที่สามของจํานวนนั้น ซึ่งนักเรียนตองคิดโดยใช ความสัมพันธระหวางการยกกําลังสามกับการหารากที่สาม การหาคําตอบของขอ 3 ไมตองการใหครูสอน การหาคําตอบดวยวิธีการแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากัน แตครูควรใหนักเรียนวิเคราะหและ พิจารณาหาคําตอบ ดังเชน
  • 7. 32 x3 = 216 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนที่ยกกําลังสามแลวได 216) 3 x = -7 (จํานวนที่ตองการ (x) คือ จํานวนที่มีรากที่สามเปน -7 ซึ่งจะหาไดงาย โดยหากําลังสามของ -7) 3. สําหรับกิจกรรม “ดูตารางรากที่สาม” เชน ใหหา 3 4096 นักเรียนตองใชความรูเกี่ยวกับ ความสัมพันธของการยกกําลังสามและการหารากที่สาม ครูควรแนะนําใหนักเรียนดูที่ชอง n3 วาแถวใดมี คา 4096 จะได n ของแถวนั้นเปนคําตอบของ 3 4096 4. กิจกรรม “จริง – ไมจริง” มุงใหนักเรียนใชความรูเรื่องรากที่สามในการตอบคําถามและให เหตุผล โดยเฉพาะขอ 12 ที่ตองการใหนักเรียนเห็นวารากที่สามของจํานวนจริงอาจนอยกวา มากกวา หรือ เทากับตัวเองได เชน 3 8 = 2 และ 2 < 8 ดังนั้น 3 8 < 8 3 0 = 0 และ 0 = 0 ดังนั้น 3 0 = 0 3 27 1 = 3 1 แต 3 1 > 27 1 ดังนั้น 3 27 1 > 27 1 5. สําหรับกิจกรรม “ระนาบจริง” เจตนาเพื่อเพิ่มเติมความรูที่นักเรียนเคยมีเกี่ยวกับเสนจํานวน และระนาบครอบคลุมถึงตําแหนงที่แทนจํานวนอตรรกยะบนเสนจํานวน ในการหาตําแหนงของจุดที่มี พิกัดเปนจํานวนอตรรกยะ เชน )3,2( ครูควรใหนักเรียนเขียนรองรอยแสดงการหาตําแหนงของจุด ดังกลาวประกอบดวย เชน จุด R )3-,2( ที่เสนอไวในคําตอบกิจกรรม “ระนาบจริง” แสดงรองรอย การหา 2 และ 3 โดยการสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับ 2 และ 3 บนเสนจํานวน และนําความยาวที่เทากับ 2 และ 3 มาใชหาตําแหนงของจุด R ที่มีพิกัดเปน R )3-,2( ในจตุภาคที่ 4 6. สําหรับกิจกรรม “ลูกบาศกมหัศจรรย” มุงใหนักเรียนไดใชความรูเกี่ยวกับรากที่สามโดย การวิเคราะหหาจํานวนที่ทําใหไดผลลัพธสอดคลองกับเงื่อนไขโจทย 7. หลังจบบทเรียนแลว ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.4 เพื่อเปนการนําความรู เกี่ยวกับจํานวนจริงไปใชในการแกปญหา คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “มารูจักจํานวนตรรกยะกันเถอะ” 1. ได 2. ได 3. ได 4. เปน เพราะจํานวนเต็ม a ที่กําหนดให สามารถเขียนแทนไดดวยเศษสวน 1 a
  • 8. 33 5. ไมสามารถบอกได 6. ไมมี 7. ไมมี 8. ไมมี 9. ไมมี คําตอบกิจกรรม “นาคิด” เปน เพราะ a b เขียนแทนไดดวยเศษสวนที่ทั้งตัวเศษและตัวสวนเปนจํานวนเต็มซึ่ง ไมเทากับศูนย คําตอบแบบฝกหัด 2.1 1. 1) ⋅ 6.0 2) -1.875 3) ⋅ 3458.1 4) ⋅⋅ 45.0 5) ⋅⋅ 8703.0- 6) ⋅⋅ 504.0 2. 1) 9 7 2) 90 47 3) 33 16 4) 55 13 3. 1) เปน เพราะ เขียนไดเปน 5 11 2) เปน เพราะ เขียนไดเปน 13 32 3) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน 21 29 4) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน -8.37 5) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน 3.22 6) เปน เพราะ ไดผลลัพธเปน 14 15 7) เปน เพราะ เขียนไดเปน 11 56-
  • 9. 34 8) เปน เพราะ เขียนไดเปน 30 3- 4. ปาซื้อไดถูกกวา เพราะ แมซื้อผลละ ⋅ 3.0 แตปาซื้อไดผลละ 0.33 บาท 5. ตัวอยางคําตอบ ซื้อครึ่งโหล เพราะ ถาซื้อครึ่งโหลราคาตออันจะถูกกวา 6. 1) ⋅ 3.108 บาท 2) ไมได เพราะ เหรียญที่มีหนวยเปนสตางคและใชแลกเปลี่ยนกันในทองตลาดคือ 25 สตางค และ 50 สตางค ไมสามารถรวมกันเปน 33 สตางค หรือ ⋅ 3.0 บาท ได 3) อาจใชการปดขึ้นหรือลงเพื่อใหไดผลรวมเปน 325 บาท เชน 108.25 108.25 และ 108.50 หรือ 108.50 108.50 และ 108.00 หรือ 109 109 และ 107 หรืออาจปดเปนจํานวน ชุดอื่นตามที่นักเรียนจะคิดได 7. ตัวอยางคําตอบ 1) น้ํามันเบนซินออกเทน 95 ราคาลิตรละ 21.79 บาท 2) กิ่งและกอยแบงน้ําเปลากันคนละครึ่งขวด คําตอบกิจกรรม “เปนจํานวนตรรกยะหรือไม” 1. เปน 2. เปน 3. เปน 4. เปน คําตอบกิจกรรม “หาไดอยางไร” ผืนละ 45.75 บาท หาคําตอบโดยนํา 15 ไปคูณ 4 จะได 60 ตัวเลขขางหนาสุดจึง เปน 6 จากนั้นจึงนํา 15 ไปหาร 686.2 จะไดตัวเลขขางหลังสุดเปน 5 และไดผลลัพธ เปน 45.75
  • 10. 35 คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู” 1. เปน 2. เปน 3. ไมมี คําตอบแบบฝกหัด 2.2 1. 1) ตรรกยะ 2) ตรรกยะ 3) ตรรกยะ 4) ตรรกยะ 5) ตรรกยะ 6) ตรรกยะ 7) อตรรกยะ 8) ตรรกยะ 9) ตรรกยะ 10) อตรรกยะ 2. ⋅ 61391.153 บาท เปนจํานวนตรรกยะ คําตอบกิจกรรม “ทําไดหรือไม” 1. 0, 1, 9, 16, 9 1 , 0.04, 6, 5 2 2. 1 และ -1 3 และ -3 5 และ -5 7 2 และ 7 2- 0.04 และ -0.04 1.1 และ -1.1 8 และ 8-
  • 11. 36 คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ก 1. 1) 14 และ -14 2) 27 และ -27 3) 36 และ -36 4) 110 และ 110- 5) 115 และ 115- 6) 7 3 และ 7 3- 7) 11 5 และ 11 5- 8) 207 15 และ 207 15- 9) 0.08 และ -0.08 10) 0.012 และ -0.012 11) 0116.0 และ 0116.0- 12) 40.0 และ 40.0- 2. 1) 25 2) -51 3) 3.6 4) -0.06 5) 25 9- 6) 19 7) 17 12 8) -0.037 3. 1) 6 และ -6 2) 0.09 และ -0.09 3) 0 4) 81 5) 0.0625 6) 9 4 คําตอบกิจกรรม “คาประมาณของรากที่สอง” 1. 1) 3 2) 5 3) 11 4) -15 2. 1) 2.65 2) 4.47 3) 5.57 4) 7.28
  • 12. 37 คําตอบกิจกรรม “ดูตารางรากที่สอง” 1. 1) 4 2) 4.243 3) 17 4) 18 2. 1) 4.472 2) 39 3) 76 4) 71 5) 5.099 6) 31 คําตอบกิจกรรม “เปนจริงหรือไม” 1. ไมจริง เพราะ รากที่สองของ 25 คือ 5 และ -5 2. ไมจริง เพราะ รากที่สองที่เปนบวกของ 25 คือ 5 เทานั้น 3. ไมจริง เพราะ ไมมีจํานวนเต็มใดที่ยกกําลังสองแลวได -16 4. ไมจริง เพราะ 4 1 = 2 1 และ 2 1 > 4 1 5. จริง เพราะ 01.0 = 0.1 และ 0.1 > 0.01 6. จริง เพราะ 04.0 = 0.2 และ 0004.0 = 0.02 จะได 0.2 > 0.02 7. ไมจริง เพราะ เมื่อใชคาประมาณของ 2 คือ 1.414 และคาประมาณของ 3 คือ 1.732 จะได 2 + 3 ≈ 1.414 + 1.732 = 3.146 แต คาประมาณของ 5 คือ 2.236 8. ไมจริง เพราะ 2 7 = 7 และ 2 )7-( = 7 9. ไมจริง เพราะ 2 2- = 4- และไมมีจํานวนเต็มใดที่ยกกําลังสองแลวได -4 10. ไมจริง เพราะ ถา x2 = 4 แลว x = 2 หรือ x = -2 11. จริง เพราะ 32 = 9 12. ไมจริง เพราะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบางรูปมีพื้นที่เปนจํานวนคี่ แตมีความยาวของแตละ ดานไมเปนจํานวนคี่ เชน มีพื้นที่เปน 3 ตารางหนวย มีความยาวของแตละ ดานเปน 3 หนวย
  • 13. 38 คําตอบกิจกรรม “คิดไมยาก” 3,741 คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ข 1. 1) 51 2) 55 3) 65 4) 70 5) 78 6) 90 2. 6 และ 9 ตามลําดับ 3. 15.8 4. 1) 27.71 2) -97.89 3) 2.87 4) -60.97 5. 4.12 เซนติเมตร 6. ประมาณ 18 เซนติเมตร 7. ประมาณ 35.36 หนวย 8. ประมาณ 7.07 หนวย 9. ตองหาความยาวของผนังหอง ซึ่งได 18 เมตร หรือประมาณ 4.24 เมตร จุดกึ่งกลางผนังอยูหาง จากมุมหองประมาณ 2 24.4 หรือ 2.12 เมตร 10. ไมได เพราะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดานแตละดานยาวประมาณ 12.41 เซนติเมตร และรูปวงกลม มีเสนผานศูนยกลางยาว 14 เซนติเมตร คําตอบกิจกรรม “คิดไดไหม” 1. 3 หนวย 2. OJ 3. 20 หนวย
  • 14. 39 คําตอบแบบฝกหัด 2.4 ก 1. 1) 3 2) 3 40 3) 8 4) 3 650 5) 4 3- 6) 9 6 7) 3 50 18 8) 0.2 9) 3 05.0 10) 0.09 2. 1) 5 2) 7 3) 2 4) 5 4 5) 8 3- 6) -0.2 7) -0.6 8) 0.03 3. 1) 6 2) 3 350 3) 0.3 4) 3 49.0- 5) 0 6) -343 7) 125 8 8) 2.197 คําตอบกิจกรรม “ดูตารางรากที่สาม” 1. 1) 2.759 2) 22 3) 19 4) 10,648 2. 1) 2.924 2) 12 3) 50 4) -4.309 5) 2.351 6) 16 7) -22
  • 15. 40 คําตอบกิจกรรม “จริง – ไมจริง” 1. ไมจริง เพราะ รากที่สามของ 64 คือ 4 เทานั้น 2. ไมจริง เพราะ 3 27-- = 3 3. จริง เพราะ 8 ≈ 2.83 และ 3 8 = 2 4. ไมจริง เพราะ 3 8 1 = 2 1 และ 2 1 > 8 1 5. จริง เพราะ 3 064.0 = 0.4 และ 0.4 > 0.064 6. ไมจริง เพราะ 3 3 2 = 2 แต 3 3 )2-( = -2 7. ไมจริง เพราะ 3 3 + 3 5 ≈ 3.152 แต 3 8 = 2 8. ไมจริง เพราะ ถา x3 = 2 แลว x = 3 2 9. ไมจริง เพราะ ถา 3 x = 8 แลว x = 83 = 512 10. จริง เพราะ รากที่สามของ 125 คือ 5 11. ไมจริง เพราะ รากที่สามของจํานวนคู อาจไมเปนจํานวนคู เชน 3 16 12. ไมจริง เพราะ รากที่สามของจํานวนจริงใด ๆ อาจเทากับจํานวนจริงนั้น เชน 3 0 = 0 คําตอบแบบฝกหัด 2.4 ข 1. 1) -1 2) 3 20 3) 3 116 4) -12 5) 3 75 2 6) 7 3- 7) 15 13- 8) -0.4 9) 0.07 10) 3 180.0 2. 1) -6 2) 6.4 3) 50 4) -39 5) 0.04 3. 12 นิ้ว 4. 3 นิ้ว
  • 16. 41 5. ไมถูกตอง เพราะ บอเดิมมีปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร มีความกวาง ยาว และลึก 1 เมตร ถาขุดบอมีความกวาง ยาว และลึกเปน 2 เมตร จะมีปริมาตรเปน 8 ลูกบาศกเมตร ซึ่งไมเปน สองเทาของหนึ่งลูกบาศกเมตร ขนาดของบอใหมจะตองมีความกวาง ยาว และลึกเปน 3 2 เมตร หรือประมาณ 1.260 เมตร 6. ของออม เพราะ 33 = 27 และ 43 = 64 จึงไดวา 33 ใกลเคียง 30 มากกวา คําตอบกิจกรรม “ระนาบจริง” 0 1 2 3 4-1-2-3-4 3 11 2 R )-,( 32 Q ),-( 23 0 1 2 3-1-2-3 -1 -2 -3 1 2 3 X Y 2 2- 3 - 3 P ),( 22 S )-,-( 33
  • 17. 42 22 11 18 27 25 7 21 8 19 1 17 23 16 10 26 13 20 6 3 14 15 24 12 9 2 4 5 คําตอบกิจกรรม “ลูกบาศกมหัศจรรย”
  • 19. 44 กิจกรรมเสนอแนะ 2.1 กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนสังเกตแบบรูปการเขียนทศนิยมซ้ําบางแบบที่ไมใชทศนิยม ซ้ําศูนยใหเปนเศษสวนไดอยางรวดเร็ว 1. ใหนักเรียนพิจารณาการแปลงทศนิยมซ้ําเปนเศษสวนจากตัวอยางที่กําหนดใหแลวเขียนคําตอบ เติมในชองวางในตารางตอไปนี้ ชุดที่ 1 ชุดที่ 2 ชุดที่ 3 ทศนิยมซ้ํา เศษสวน ทศนิยมซ้ํา เศษสวน ทศนิยมซ้ํา เศษสวน 1) ⋅ 1.0 9 1 1) ⋅⋅ 21.0 99 12 1) ⋅⋅ 432.0 990 2234 − หรือ 990 223 2) ⋅ 2.0 9 2 2) ⋅⋅ 53.0 99 35 2) ⋅⋅ 615.0 990 5516− หรือ 990 511 3) ⋅ 3.0 9 3 3) ⋅⋅ 46.0 99 64 3) ⋅⋅ 568.0 990 8865− หรือ 990 657 4) ⋅ 4.0 ....................... 4) ⋅⋅ 15.0 ....................... 4) ⋅⋅ 194.0 .............................................. 5) ⋅ 7.0 ....................... 5) ⋅⋅ 57.0 ....................... 5) ⋅⋅ 837.0 .............................................. 6) ⋅ 8.0 ....................... 6) ⋅⋅ 38.0 ....................... 6) ⋅⋅ 719.0 .............................................. 2. ใหนักเรียนใชแบบรูปการแปลงทศนิยมซ้ําเปนเศษสวนที่สังเกตเห็นจากการตอบในขอ 1 แปลงทศนิยมซ้ําตอไปนี้ใหเปนเศษสวน 1) ⋅⋅ 613.0 2) ⋅⋅ 1835.0 3) ⋅⋅ 2407.3 4) ⋅⋅ 6543.1
  • 20. 45 คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 2.1 1. ชุดที่ 1 9 4 , 9 7 และ 9 8 ชุดที่ 2 99 51 , 99 75 และ 99 83 ชุดที่ 3 990 4491− หรือ 990 874 990 7738− หรือ 990 731 990 9917− หรือ 990 908 2. 1) 999 316 2) 9900 353581− หรือ 9900 3546 3) 9999 74023 4) 9990 34531 แนวคิด ⋅⋅ 6543.1 = 1 + 9990 33456−
  • 21. 46 กิจกรรมเสนอแนะ 2.4 กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดนําความรูเรื่องจํานวนตรรกยะ อตรรกยะ รากที่สอง และรากที่สาม ไปใชในการแกปญหา 1. ครูจัดเตรียมบัตรคําเปน 2 กลุม เขียนขอความในบัตรคํากลุมที่หนึ่งและกลุมที่สองให สัมพันธกัน ดังตัวอยางตอไปนี้ กลุมที่หนึ่งเปนบัตรคําถาม กลุมที่สองเปนบัตรคําตอบ หนาบัตร หลังบัตร ครูเตรียมจํานวนบัตรทั้งสองกลุมใหมีจํานวนเทา ๆ กัน และตองระวังมิใหบัตรมีคําตอบซ้ํากัน 2. ครูแบงนักเรียนเปน 2 กลุม จํานวนเทากัน กลุมหนึ่งเปนฝายคําถาม อีกกลุมหนึ่งเปนฝาย คําตอบ ใหนักเรียนถือบัตรไวคนละ 1 ใบ 3. ครูสุมเรียกนักเรียน 1 คน จากฝายคําถาม ชูหนาบัตรที่เปนตัวเลขใหเพื่อน ๆ ดู พรอมกับอาน คําถามหลังบัตร 4. ใหนักเรียนที่ถือบัตรคําตอบออกมายืนคูกันหนาหอง เพื่อใหเพื่อน ๆ ตรวจสอบความถูกตอง ทําเชนนี้เรื่อย ๆ ไปตามเวลาที่มีในชั้นเรียน 2 x = 3 ⋅⋅ 284.0 3 0 จงหาคําตอบของ สมการ 2 x = 3 ⋅⋅ 284.0 เปนจํานวน ตรรกยะหรืออตรรกยะ กรณฑที่สามของ 0 เปนเทาไร 3 และ -3 จํานวนตรรกยะ 0